SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑.เพื่อศึกษาเครื่องประดับแต่ละชนิดของเครื่องทรงช้าง
๒.เพื่อศึกษาความสาคัญของเครื่องประดับเครื่องทรงช้าง
๓.เพื่อศึกษาลายที่ใช้ในการทาเครื่องประดับ
เครื่องคชาภรณ์ในกลุ่มอาเซียน
บทนา
 ในสมัยก่อนการทาสงครามจะใช้ช้างเป็นพาหนะ ซึ่งเครื่องทรงช้างก็นับว่าเป็นสิ่ง
สาคัญ เพราะเครื่องทรงช้างจะบอกฐานะของผู้นั่ง และบ่งบอกถึงลักษณะของช้าง
ตัวอย่างเช่น ช้างไทยจะมีเครื่องทรงช้างแบบไทย ซึ่งจะมีลักษณะเฉพาะตัว ช้างประเทศลาวก็
จะใช้เครื่องทรงช้างแบบลาวและในการทาศึกสงครามนั้นก็จะประกอบไปด้วยอุปกรณ์ต่างๆ
เช่น ธนู ดาบ ปืนใหญ่ และในการรบแต่ละครั้งจะแสดงให้เห็นถึงความสามารถของ
พระมหากษัตริย์ เช่น ในศึกสงครามยุทธหัตถีพระมหากษัตริย์ทรงขี่ช้างเพื่อต่อสู้ในการรบ
และช้างก็ได้มีบทบาทสาคัญมากในศึกครั้งนี้จะแพ้หรือชนะก็ขึ้นอยู่กับช้างด้วย การที่จะคัด
ช้างที่มารบนั้นจะนิยมใช้ช้างที่มีอาการตกมัน ดุร้าย มีความแข็งแกร่ง และมีความสามารถใน
การรบ
ความหมายของคชาภรณ์
ความหมายคาว่า “คชาภรณ์” ในพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี
พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายไว้ว่า ‘เครื่องประดับช้าง’ คาว่า คชาภรณ์ มาจากคาว่า
คช (คะ-ชะ) แปลว่า ช้าง กับคาว่า อาภรณ์ แปลว่า เครื่องประดับ รวมกันหมายถึง
เครื่องประดับช้าง เครื่องคชาภรณ์เป็นชุดเครื่องแต่งตัวของช้างเผือกที่พระมหากษัตริย์
พระราชทานให้วันสมโภชขึ้นระวางเพื่อเป็นเครื่องยศสาหรับช้างต้นของ
พระมหากษัตริย์
การสร้างและประดับเครื่องคชาภรณ์แก่ช้างสาคัญหรือช้างต้นในราชสานัก
ไทยเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อใด ไม่พบหลักฐานที่ชัดเจนสันนิษฐานว่า น่าจะได้รับอิทธิพล
มาจากอินเดีย พร้อมกับคติความเชื่อในเรื่องช้างเผือกตามตาราคชศาสตร์ที่มีการยกย่อง
ให้ความสาคัญกับช้างเผือกหรือช้างมงคล ซึ่งเกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์โดย
พบหลักฐานการสร้างเครื่องคชาภรณ์ประดับช้างเผือกหรือช้างสาคัญในศิลปะอินเดีย
โบราณ ราวพุทธศตวรรษที่ ๕ – ๖ ปรากฏภาพพุทธประวัติตอนพระนางสิริมหามายา
ทรงพระสุบินเห็นช้างเผือก ที่มีการประดับด้วยเครื่องคชาภรณ์
 การทาเครื่องคชาภรณ์
 เครื่องคชาภรณ์จะประกอบไปด้วย ผ้าปกกระพอง ตาข่ายแก้ว พู่หู
จงกลพู่ เสมาคชาภรณ์ สร้อยคอ ตาบ วลัยงา สาอาง ทามคอ และพนาศ
 การประดับเครื่องคชาภรณ์แก่ช้างสาคัญในดินแดนประเทศไทยและประเทศ
ใกล้เคียง น่าจะได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมอินเดียในดินแดนสุวรรณภูมิผ่าน
คติความเชื่อทางศาสนา ดังปรากฏหลักฐานจากจารึกสด๊กก๊อกธม อายุราวพุทธ
ศตวรรษที่ ๑๖ พบที่จังหวัดสระแก้ว กล่าวถึงการบูชาเทพเจ้าและการถวายช้าง
ที่ตกแต่งด้วยเสื้อเกราะและเครื่องประดับ ซึ่งเครื่องประดับดังกล่าวน่าจะ
หมายถึงเครื่องคชาภรณ์ นอกจากนี้ภาพสลักกองทัพเขมรบนผนังปราสาทนคร
วัดในศิลปะเขมร
 เครื่องยศสาหรับพระมหากษัตริย์ ประกอบด้วย
 ๑.ผ้าปกกระพอง ทาด้วยผ้าเยียรบับลายทองพื้นแดง เย็บเป็นแผ่นรูปทรงคล้าย
กลีบบัวชายขอบผ้าทาเป็นริ้วลายทองพื้นเขียวอยู่ด้านใน พื้นแดงอยู่ด้านนอก
สองริ้ว ขลิบริมด้วยดิ้นเลื่อมส่วนฐานของกลีบบัวเชื่อมต่อกับตาข่ายแก้วกุดัน
 ๒.ตาข่ายแก้วกุดัน หรืออุบะแก้วกุดัน ทาด้วยลูกปัดแก้ว(เพชรรัสเซีย)
เจียระไนด้วยสายทองคาถัก เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วหรือที่เรียกกันว่าอุบะ
หน้าช้าง
๓.พู่หู ทาด้วยขนหางจามรีสีขาว ใช้ห้อยจากผ้าปกกระพองลงมาอยู่ส่วนหน้า
ของใบหูทั้งสองข้าง
 ๔.เสมาคชาภรณ์ เป็นจี้หรือเครื่องประดับรูปใบเสมาสาหรับร้อยสายสร้อยผูกคอทา
ด้วยทองคาลงยา ด้านหน้าบุดุนเป็นรูปพระราชลัญจกร พระมหามงกุฎอุณาโลม ยอด
พระมหามงกุฎเปล่งรัศมี ด้านข้างพระมหามงกุฎกระนาบด้วยลายช่อดอกลอยใบเทศ มี
ลายประดับรับส่วนล่าง กรอบใบเสมาบุดุนเป็นลายรูปพญานาค ๒ ตัว ใช้หางเกี่ยว
กัน ส่วนบนของใบเสมาตีปลอกบุ ดุนลายลวดลายลงยา มีลูกปัดทองทรงกลมกลวง
สาหรับสอดร้อยด้วยสายสร้อยทองคา
 ๕.วลัยงา หรือ สนับงา เป็นเครื่องประดับงา ใช้สวมงาทั้ง ๒ ข้าง ๆ ละ ๓ วง รวม ๖
วง ทาด้วยทองคาบุดุนประดับพลอยสีเขียว สีแดง และสีขาว
 ๖.สาอาง เป็นห่วงคล้องอยู่ส่วนท้ายช้างใต้โคนหางเพื่อยึดกับพานหลังทาด้วยทองเหลือง
ชุบทองมีลายประดับทาด้วยวิธีพิมพ์แกะลายบริเวณที่เป็นรูปขอ
๗.ทามคอ พานหน้า พานหลัง ทาด้วยผ้าถักแบบสายพานหุ้มด้วยผ้าตาดทอง มีห่วงโลหะชุบ
ทองเป็นตัวเกี่ยวประสานผูกด้วยเชือกหุ้มผ้าตาดทองทุกเส้น
 ๘.ตาบหรือตาบทิศ เป็นเครื่องประดับติดอยู่กับพานหน้าและพานหลังทาด้วย
ทองคาบุดุนฉลุลายดอกประจายางประดับพลอยสีเขียว สีแดง และสีขาว รูป
สี่เหลี่ยมจัตุรัส
 การฝึกช้าง
 เมื่อลูกช้างเติบโตอายุ ได้๒-๓ ปี ผู้ฝึกก็จะเริ่มฝึกช้างเบิ้องต้น เป็นการฝึกให้ช้างสามารถ
ปฎิบัติตามคาสั่งของควาญช้างหรือผู้ขี่ได้เช่น ส่งคนขึ้นหลังช้าง เดินหน้า
 ถอยหลัง ขวาหัน ซ้ายหัน กลับหลังหัน เป็นต้น บทเรียนแรกที่ช้างจะได้เรียนรู้คือ การใส่
ปลอกขา เป็นการใส่เพื่อให้ช้างเดิมไม่สะดวก เวลาปล่อยไปกินตามลาพัง จึงไปได้ไม่ไกล
ต่อมาช้างจะได้ฝึกให้คนขี่หลัง แรกๆช้างจะไม่ยอมให้ขี่ แต่สาหรับช้างในการทาศึกสงคราม
จะมีวิชาการฝึกช้างศึกอยู่ ๓ ประการ คือ
 ๑. แทงหุ่น คือ การฝึกให้ช้างศึกฆ่าทหารราบ ด้วยการใช้ช้างแทงเข้าหุ่นฟาง
 ๒.ล่อแพน คือ การฝึกให้ช้างศึกฆ่าทหารม้า ด้วยการให้ทหารม้าถือแพงหาง
นกยูงเป็นตัวล่อให้ช้างศึกวิ่งไล่ตาม
 ๓.บารูงา คือ การฝึกให้ช้างต่อสู้กับช้างศึกด้วยกัน โดยมีการแบ่งเป็น
กระบวนการ ๑๒ ท่า ดังนี้
 ๓.๑. โค่นเขาพระสุเมรุ
 ๓.๒. เถนกวาดลาน
 ๓.๓. คชสารประสานงา
 ๓.๔. บาทาลูบพักตร์
 ๓.๕. หักคอเอราวัณ
๓.๖. บั่นเศียรทศกัณฑ์
 ๓.๗. ประหารราชสีห์
๓.๘. นาคีพันหลัก
 ๓.๙. องศ์คตควงพระขรรค์
 ๓.๑๐. หักด่านลมกรด
 ๓.๑๑. ทะลวงประจัญบาน
๓.๑๒. คชสารสะบัดงวง
การใช้ช้างในการทาศึกสงครามในสมัยต่างๆ
 สมัยสุโขทัย จากหลักฐานศิลาจารึกกรุงสุโขทัยหลักที่ ๑ สรุปความว่า เมื่อครั้งพ่อขุนศรี
อินทราทิตย์ ตั้งกรุงสุโขทัยเป็นอิสระราว พ.ศ. ๑๘๐๐ ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด ยกกองทัพ
มาตีเมืองตาก พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ยกพลออกไปรบแพ้ศึกแก่ขุนสามชน พระร่วงราชบุตร
องค์น้อย ตอนนั้นมีพระชันษา ๑๙ ปี ขี่คอช้างเข้าต่อสู้กับขุนสามชนจนขนช้างของขุนสามชน
ชื่อ “มาส” แพ้หนีไป และเป็นเหตุให้กรุงสุโขทัยได้เมืองฉอดเป็นเมืองขึ้น ในเวลาต่อมาพ่อ
ขุนศรีอินทราทิตย์จึงปูนบาเหน็จราชบุตรนั้นด้วยพระราชทานนามว่า “พ่อขุนรามคาแหง”
 สมัยกรุงศรีอยุธยา สืบเนื่องต่อจากกรุงสุโขทัย การใช้ช้างยังนิยมในกรุงศรีอยุธยา จึงให้มี
การสอนขี่ช้างเป็นวิชาสามัญสาหรับลูกเจ้าขุนมูลนาย หรือเรียกว่าพวกเข้านายและลูกผู้ดี
เพื่อยังประโยชน์ในการใช้ช้างเป็นพาหนะและเตรียมเพื่อศึกสงคราม สงครามที่ใช้ช้างใน
สมัยอยุธยามี ๒ สงคราใหญ่คือ
 ๑.สงครามช้างเผือก สมัยกรุงศรีอยุธยา ช้างนอกจากใช้เป็นกาลังสาคัญในการศึกษาสงครามแล้วการ
มีช้างเผือกไว้คู่บารมี หลายๆเชือก ก็เป็นสาเหตุนาไปสู่การทาสงครามได้ดังเช่นเหตุการณ์ในสมัย
สมเด็จพระมหาจักพรรดิ เรียกว่า “สงครามช้างเผือก” ครั้งเมื่อสมเด็จพระมหจักรพรรดิขึ้นครองกรุง
ศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๗๒ มีบุญญาธิการมากได้ช้างเผือกถึง ๗ เชือก กิตติศัพท์การมีช้างเผือกมาก
นี้ปรากฎไปในนานาประเทศ พระเจ้าหงสาวดีมีพระราชประสงค์จะใคร่ได้ช้างเผือกนั้น จึงรับสั่งให้
พวกอาลักษณ์มีราชสาสน์เข้ามาขอช้างเผือก
 ๒.สงครามยุทธหัตถี ศักราช ๙๔๐ ปีขาล พ.ศ. ๒๑๒๑ ณ วันอังคาร แรม ๒ ค่าเดือน ๑๒ สมเด็จ
พระมหาธรรมราชาธิราชเสด็จสวรรคตสมเด็จพระนเรศวร พระชนม์ได้๓๕ พรรษา ขึ้นเสวยราช
สมบัติให้สมเด็จพระอนุชาเป็นพระมหาอุปราช พระเจ้ากรุงหงสาวดีแจ้งข่าวมีการผลัดแผ่นดินใหม่
ตรัสให้พระมหาอุปราชากับพระเข้าเชียงใหม่ยกทัพลงไปดู ถ้าเกิดเหตุจลาจลประการใด
ก็ฉวยโอกาสโจมตีเอากรุงศรีอยุธยาให้ได้ พระมหาอุปราชากราบทูลพระราชบิดาว่า
“โหรทายว่าพระชันษาข้าพระพุทธเจ้าร้ายนัก” สมเด็จพระเจ้ากรุงหงสาวดีตรัสว่า “พะ
มหาธรรมราชาไม่เสียแรงมีบุตร การสงครามไม่พักให้บิดาเลยต้องห้ามเสียอีก และซึ่งว่า
เจ้าเคราะห์ร้ายอยู่แล้วก็อย่าไปเลย เอาผ้าสตรีนุ่งเสียเถิดจะได้สิ้นเคราะห์” พระมหาราชา
กลัวพระอาญา จึงเตรียมรี้พลพร้อมกับจ้าเชียงใหม่ ยกพลห้าสิบหมื่น ช้างเครื่องเจ็ดร้อย
ม้าสามพัน ข้ามเมืองเมาะตะมะ มาโดยทางแม่กษัตรเข้าทางพระเจดีย์สามองศ์ เมื่อลุ
ศักราช ๙๔๑ ปีเถาะ เอกศก (พ.ศ. ๒๑๒๒)
 สมัยกรุงธนบุรี สมัยรัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ตั้งกรมช้างขึ้นและทานุบารุงต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พระ
องศ์ได้ข้าราชการเก่าที่ชานาญคชศาสตร์ไว้๒ คน ชื่อ “บุญรอด” เป็นต้นสกุล “บุญยรัตนพันธุ์” เป็นบุตรพระยา
มณเฑียรบาล อีกคนชื่อ “จันทร์” ต้นสกุล “จันทโรจน์วงศ์” เป็นบุตรเจ้าพระยาขานาญบริรักษ์
 เมื่อ พ.ศ.๒๓๒๑ พระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดเกล้าให้สมเด็จพระยาสุรสีห์เป็นแม่ทัพยกไปทางเมืองพิมาย โดยให้เจ้า
เมืองพิมายแต่งข้าหลวงออกมาเกณฑ์กาลังจากเมืองปะทายสะมันต์ เมืองขุขันธ์ เมืองสังขะ เมืองรัตนบุรี เพื่อยกทัพ
ไปตีเมืองเวียงจันทน์ เนื่องจากเจ้าเมืองเวียงจันทน์ข่มเหงราษฎร บ้านเรือนเดือดร้อน การยกทัพครั้งนี้ใช้กาลังช้าง
ออกศึกเช่นปฏิบัติมา เละยังให้ทางเมืองพิมายเกณฑ์กาลังพวกส่วยที่มีความชานาญการช้างร่วมไปด้วยอีกจานวนมาก
 สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การใช้ช้างในการศึกสงครามสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังมีอยู่มาก เพราะไทยเรายีงมี
การรบกับประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงมาตลอดตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๓ ศึกครั้งสาคัญ ได้แก่ ศึกเก้าทัพ
พ.ศ.๒๓๒๘ .ในรัชกาลที่ ๑ ยังมีการรบกับ ลาว เขมร ญวน อีกหลายครั้ง เช่น ศึกเจ้าอนุวงศ์พ.ศ.๒๓๖๙ รบกับญวน
ในดินแดนเขมร พ.ศ.๒๓๗๖ และสงครามกับญวน พ.ศ.๒๓๘๓ – ๒๓๘๗ นี้ รัชกาลที่ ๓ ทรงโปรดให้เจ้าพระยา
บดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพคุมกาลังพล๔๐,๐๐๐คน เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ) กับเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศ
รังสรรค์คุมทัพเรือ ทัพไทยตั้งมั่นที่เมืองอุดง ศึกครั้งนี้ไทยเสียเปรียบญวนทางดานทัพเรือเพราะเป็นฤดูน้ามาก ญวน
ใช้เรือได้สะดวกก็ยกกองทัพขบวนใหญ่ลงมาขากไซ่ง่อน ดีเมืองพนมเปญแล้วยกขึ้นมาตีเมืองอุดงที่ทัพไทยตั้งอยู่
กองทัพเรือไทยมีเรือรบไม่มากพอที่จะต่อสู้กับญวน จึงคิดอุบายให้รวมช้างรบกับพลทหารราบที่ซุ่มในเมือง ปล่อย
ให้ทหารญวนจอดเรือส่งทหารขึ้นบกได้อย่างสะดวก พอญวนขึ้นบก ก็เปิดประตูเมืองช้างรบออกเที่ยวไล่แทงข้าศึก
ให้ทหารราบติดท้ายช้างไป สามารถตีทัพญวนแตก ในเวลากาลังหนีช้างทหารญวนที่รอดตายหนีลงเรือและเลยถอย
กองเรือหนีไป


ลักษณะของเครื่องทรงช้างในแต่ละประเทศ
 ๑. ไทย ของไทยจะมีผ้าปกกระพอง พู่จามรี ปกหลัง สายสาอาง ซองหางส่วน
วลัยของไทยจะใส่ข้างละ ๓ วงและของไทยจะมีข้อเท้าช้างทั้ง ๔ ข้าง
 ๒. ลาว ของลาวมีผ้าปกประพอง ปกหลัง สายสาอาง ซองหาง และมีเชือกผูก
ที่ข้อเท้าทั้ง ๔ ข้างของช้างและมีสร้อยคอโดยแต่ละอย่างจะเป็นลายของ
ประเทศลาว
๓.พม่า จะมีผ้าปกกระพอง พู่จามรี ปกหลัง สายสาอาง ซองหาง และมีวลัย แต่
วลัยของพม่าจะใส่งาข้างละ ๒ วง
 ๔.กัมพูชา มีผ้าปกกระพอง พู่จามรี ปกหลัง วลัยมี ๔ วง
ข้อแตกต่างของเครื่องทรง
ช้างในแต่ละประเทศกับประเทศ
ไทย
ประเทศ ข้อแตกต่างแต่ละประเทศ
ไทย
ลาว
-ปกหลังไทยจะมีลักษณะผืนใหญ่ มีลวดลายที่สื่อถึง
วัฒนธรรมไทยโดยรอบ
-ไทยใช้วลัย ๖ วง โดยใส่ข้างละ ๓ วง
-มีข้อเท้า
-ผ้าปกกระพองลวดลายไทย
-ปกหลังจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนมองด้านข้าง
จะเป็นรูปสามเหลี่ยม เละมีเส้นขีดตรงไปถึงขอบ
-ไม่ใส่วลัย
-ผ้าปกกระพองเป็นผ้าธรรมดาพับทบกัน ๒ ชั้น
ประเทศ ข้อแตกต่างแต่ละประเทศ
พม่า
กัมพูชา
-ปกหลังเป็นผืนเล็กคลุมแค่ครึ่งตัว มีลวดลายขีดทั้งผืน
-วลัย ๔ วง ข้างละ ๒ วง
-ไม่มีข้อเท้า และผ้าปกกระพอง
-ปกหลังเงาเรียบไม่มีลาย คลุมครึ่งตัว
-วลัย ๔ วง ข้างละ ๒ วง
-ไม่มีสาอางและซองหาง
สรุป
 ในการทาสงครามไม่ว่าจะเป็นครั้งเล็กๆหรือจะเป็นครั้งใหญ่ๆ ทุกครั้ง
ล้วนมีช้างเป็นส่วนประกอบของการรบทุกครั้งยกตัวอย่างเช่นการทาศึก
สงครามในสมัยกรุงธนบุรีแสดงให้เห็นถึงบทบาทของช้างเป็นอย่างมาก ช้างที่
ใช้ในการรบจะต้องมีเครื่องประดับ เครื่องประดับนี้เรียกว่า เครื่องคชาภรณ์
เครื่องคชาภรณ์จะใช้แต่งให้ช้างที่จะออกไปทาศึก ช้างที่จะใส่เครื่องคชาภรณ์
จะต้องเป็นช้างต้นเครื่องคชาภรณ์จะแตกต่างกันไปตามยศของช้าง เครื่อง
คชาภรณ์จึงมีความสาคัญมาก และในแต่ละประเทศเครื่องคชาภรณ์ก็อาจจะ
บอกถึงเอกลักษณ์ของชาตินั้นด้วย
 ดังนั้นเราควรช่วยกันรักษาเครื่องคชาภรณ์และอนุรักษ์ช้างไทยเพื่อให้
ลูกหลานได้สืบทอดและเรียนรู้ต่อไป
รายชื่อสมาชิกในกลุ่มย่อยที่ ๑๖
๑.นายณัฐชนน ร่มโพธิ์ เลขที่ ๗ ม.๔/๒
๒.น.ส.กนิษฐา แก้วสว่าง เลขที่ ๓๘ ม.๔/๔
๓.น.ส.ประภาภรณ์ วงทาแต้ม เลขที่ ๓๔ ม.๔/๖
๔.น.ส.ริชาวีร์ อินทพงษ์ เลขที่ ๒๖ ม.๔/๘
๕.น.ส.นงนภัส เขียวพุฒ เลขที่ ๒๘ ม.๔/๑๑

More Related Content

What's hot

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติtinnaphop jampafaed
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทยJulPcc CR
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 

What's hot (20)

ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
เหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติเหตุการณ์ปฏิวัติ
เหตุการณ์ปฏิวัติ
 
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
05อาณาจักรโบราณในประเทศไทย
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)อัตราเร็ว (Speed)
อัตราเร็ว (Speed)
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 

เครื่องคชาภรณ์

  • 1.
  • 3. เครื่องคชาภรณ์ในกลุ่มอาเซียน บทนา  ในสมัยก่อนการทาสงครามจะใช้ช้างเป็นพาหนะ ซึ่งเครื่องทรงช้างก็นับว่าเป็นสิ่ง สาคัญ เพราะเครื่องทรงช้างจะบอกฐานะของผู้นั่ง และบ่งบอกถึงลักษณะของช้าง ตัวอย่างเช่น ช้างไทยจะมีเครื่องทรงช้างแบบไทย ซึ่งจะมีลักษณะเฉพาะตัว ช้างประเทศลาวก็ จะใช้เครื่องทรงช้างแบบลาวและในการทาศึกสงครามนั้นก็จะประกอบไปด้วยอุปกรณ์ต่างๆ เช่น ธนู ดาบ ปืนใหญ่ และในการรบแต่ละครั้งจะแสดงให้เห็นถึงความสามารถของ พระมหากษัตริย์ เช่น ในศึกสงครามยุทธหัตถีพระมหากษัตริย์ทรงขี่ช้างเพื่อต่อสู้ในการรบ และช้างก็ได้มีบทบาทสาคัญมากในศึกครั้งนี้จะแพ้หรือชนะก็ขึ้นอยู่กับช้างด้วย การที่จะคัด ช้างที่มารบนั้นจะนิยมใช้ช้างที่มีอาการตกมัน ดุร้าย มีความแข็งแกร่ง และมีความสามารถใน การรบ
  • 4. ความหมายของคชาภรณ์ ความหมายคาว่า “คชาภรณ์” ในพจนานุกรมไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายไว้ว่า ‘เครื่องประดับช้าง’ คาว่า คชาภรณ์ มาจากคาว่า คช (คะ-ชะ) แปลว่า ช้าง กับคาว่า อาภรณ์ แปลว่า เครื่องประดับ รวมกันหมายถึง เครื่องประดับช้าง เครื่องคชาภรณ์เป็นชุดเครื่องแต่งตัวของช้างเผือกที่พระมหากษัตริย์ พระราชทานให้วันสมโภชขึ้นระวางเพื่อเป็นเครื่องยศสาหรับช้างต้นของ พระมหากษัตริย์ การสร้างและประดับเครื่องคชาภรณ์แก่ช้างสาคัญหรือช้างต้นในราชสานัก ไทยเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อใด ไม่พบหลักฐานที่ชัดเจนสันนิษฐานว่า น่าจะได้รับอิทธิพล มาจากอินเดีย พร้อมกับคติความเชื่อในเรื่องช้างเผือกตามตาราคชศาสตร์ที่มีการยกย่อง ให้ความสาคัญกับช้างเผือกหรือช้างมงคล ซึ่งเกี่ยวข้องกับสถาบันพระมหากษัตริย์โดย พบหลักฐานการสร้างเครื่องคชาภรณ์ประดับช้างเผือกหรือช้างสาคัญในศิลปะอินเดีย โบราณ ราวพุทธศตวรรษที่ ๕ – ๖ ปรากฏภาพพุทธประวัติตอนพระนางสิริมหามายา ทรงพระสุบินเห็นช้างเผือก ที่มีการประดับด้วยเครื่องคชาภรณ์
  • 5.  การทาเครื่องคชาภรณ์  เครื่องคชาภรณ์จะประกอบไปด้วย ผ้าปกกระพอง ตาข่ายแก้ว พู่หู จงกลพู่ เสมาคชาภรณ์ สร้อยคอ ตาบ วลัยงา สาอาง ทามคอ และพนาศ
  • 6.  การประดับเครื่องคชาภรณ์แก่ช้างสาคัญในดินแดนประเทศไทยและประเทศ ใกล้เคียง น่าจะได้รับอิทธิพลจากอารยธรรมอินเดียในดินแดนสุวรรณภูมิผ่าน คติความเชื่อทางศาสนา ดังปรากฏหลักฐานจากจารึกสด๊กก๊อกธม อายุราวพุทธ ศตวรรษที่ ๑๖ พบที่จังหวัดสระแก้ว กล่าวถึงการบูชาเทพเจ้าและการถวายช้าง ที่ตกแต่งด้วยเสื้อเกราะและเครื่องประดับ ซึ่งเครื่องประดับดังกล่าวน่าจะ หมายถึงเครื่องคชาภรณ์ นอกจากนี้ภาพสลักกองทัพเขมรบนผนังปราสาทนคร วัดในศิลปะเขมร
  • 7.  เครื่องยศสาหรับพระมหากษัตริย์ ประกอบด้วย  ๑.ผ้าปกกระพอง ทาด้วยผ้าเยียรบับลายทองพื้นแดง เย็บเป็นแผ่นรูปทรงคล้าย กลีบบัวชายขอบผ้าทาเป็นริ้วลายทองพื้นเขียวอยู่ด้านใน พื้นแดงอยู่ด้านนอก สองริ้ว ขลิบริมด้วยดิ้นเลื่อมส่วนฐานของกลีบบัวเชื่อมต่อกับตาข่ายแก้วกุดัน  ๒.ตาข่ายแก้วกุดัน หรืออุบะแก้วกุดัน ทาด้วยลูกปัดแก้ว(เพชรรัสเซีย) เจียระไนด้วยสายทองคาถัก เป็นรูปสามเหลี่ยมหน้าจั่วหรือที่เรียกกันว่าอุบะ หน้าช้าง
  • 9.  ๔.เสมาคชาภรณ์ เป็นจี้หรือเครื่องประดับรูปใบเสมาสาหรับร้อยสายสร้อยผูกคอทา ด้วยทองคาลงยา ด้านหน้าบุดุนเป็นรูปพระราชลัญจกร พระมหามงกุฎอุณาโลม ยอด พระมหามงกุฎเปล่งรัศมี ด้านข้างพระมหามงกุฎกระนาบด้วยลายช่อดอกลอยใบเทศ มี ลายประดับรับส่วนล่าง กรอบใบเสมาบุดุนเป็นลายรูปพญานาค ๒ ตัว ใช้หางเกี่ยว กัน ส่วนบนของใบเสมาตีปลอกบุ ดุนลายลวดลายลงยา มีลูกปัดทองทรงกลมกลวง สาหรับสอดร้อยด้วยสายสร้อยทองคา  ๕.วลัยงา หรือ สนับงา เป็นเครื่องประดับงา ใช้สวมงาทั้ง ๒ ข้าง ๆ ละ ๓ วง รวม ๖ วง ทาด้วยทองคาบุดุนประดับพลอยสีเขียว สีแดง และสีขาว
  • 10.  ๖.สาอาง เป็นห่วงคล้องอยู่ส่วนท้ายช้างใต้โคนหางเพื่อยึดกับพานหลังทาด้วยทองเหลือง ชุบทองมีลายประดับทาด้วยวิธีพิมพ์แกะลายบริเวณที่เป็นรูปขอ ๗.ทามคอ พานหน้า พานหลัง ทาด้วยผ้าถักแบบสายพานหุ้มด้วยผ้าตาดทอง มีห่วงโลหะชุบ ทองเป็นตัวเกี่ยวประสานผูกด้วยเชือกหุ้มผ้าตาดทองทุกเส้น
  • 12.  การฝึกช้าง  เมื่อลูกช้างเติบโตอายุ ได้๒-๓ ปี ผู้ฝึกก็จะเริ่มฝึกช้างเบิ้องต้น เป็นการฝึกให้ช้างสามารถ ปฎิบัติตามคาสั่งของควาญช้างหรือผู้ขี่ได้เช่น ส่งคนขึ้นหลังช้าง เดินหน้า  ถอยหลัง ขวาหัน ซ้ายหัน กลับหลังหัน เป็นต้น บทเรียนแรกที่ช้างจะได้เรียนรู้คือ การใส่ ปลอกขา เป็นการใส่เพื่อให้ช้างเดิมไม่สะดวก เวลาปล่อยไปกินตามลาพัง จึงไปได้ไม่ไกล ต่อมาช้างจะได้ฝึกให้คนขี่หลัง แรกๆช้างจะไม่ยอมให้ขี่ แต่สาหรับช้างในการทาศึกสงคราม จะมีวิชาการฝึกช้างศึกอยู่ ๓ ประการ คือ  ๑. แทงหุ่น คือ การฝึกให้ช้างศึกฆ่าทหารราบ ด้วยการใช้ช้างแทงเข้าหุ่นฟาง  ๒.ล่อแพน คือ การฝึกให้ช้างศึกฆ่าทหารม้า ด้วยการให้ทหารม้าถือแพงหาง นกยูงเป็นตัวล่อให้ช้างศึกวิ่งไล่ตาม  ๓.บารูงา คือ การฝึกให้ช้างต่อสู้กับช้างศึกด้วยกัน โดยมีการแบ่งเป็น กระบวนการ ๑๒ ท่า ดังนี้
  • 13.  ๓.๑. โค่นเขาพระสุเมรุ  ๓.๒. เถนกวาดลาน
  • 14.  ๓.๓. คชสารประสานงา  ๓.๔. บาทาลูบพักตร์
  • 15.  ๓.๕. หักคอเอราวัณ ๓.๖. บั่นเศียรทศกัณฑ์
  • 17.  ๓.๙. องศ์คตควงพระขรรค์  ๓.๑๐. หักด่านลมกรด
  • 19. การใช้ช้างในการทาศึกสงครามในสมัยต่างๆ  สมัยสุโขทัย จากหลักฐานศิลาจารึกกรุงสุโขทัยหลักที่ ๑ สรุปความว่า เมื่อครั้งพ่อขุนศรี อินทราทิตย์ ตั้งกรุงสุโขทัยเป็นอิสระราว พ.ศ. ๑๘๐๐ ขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด ยกกองทัพ มาตีเมืองตาก พ่อขุนศรีอินทราทิตย์ยกพลออกไปรบแพ้ศึกแก่ขุนสามชน พระร่วงราชบุตร องค์น้อย ตอนนั้นมีพระชันษา ๑๙ ปี ขี่คอช้างเข้าต่อสู้กับขุนสามชนจนขนช้างของขุนสามชน ชื่อ “มาส” แพ้หนีไป และเป็นเหตุให้กรุงสุโขทัยได้เมืองฉอดเป็นเมืองขึ้น ในเวลาต่อมาพ่อ ขุนศรีอินทราทิตย์จึงปูนบาเหน็จราชบุตรนั้นด้วยพระราชทานนามว่า “พ่อขุนรามคาแหง”  สมัยกรุงศรีอยุธยา สืบเนื่องต่อจากกรุงสุโขทัย การใช้ช้างยังนิยมในกรุงศรีอยุธยา จึงให้มี การสอนขี่ช้างเป็นวิชาสามัญสาหรับลูกเจ้าขุนมูลนาย หรือเรียกว่าพวกเข้านายและลูกผู้ดี เพื่อยังประโยชน์ในการใช้ช้างเป็นพาหนะและเตรียมเพื่อศึกสงคราม สงครามที่ใช้ช้างใน สมัยอยุธยามี ๒ สงคราใหญ่คือ
  • 20.  ๑.สงครามช้างเผือก สมัยกรุงศรีอยุธยา ช้างนอกจากใช้เป็นกาลังสาคัญในการศึกษาสงครามแล้วการ มีช้างเผือกไว้คู่บารมี หลายๆเชือก ก็เป็นสาเหตุนาไปสู่การทาสงครามได้ดังเช่นเหตุการณ์ในสมัย สมเด็จพระมหาจักพรรดิ เรียกว่า “สงครามช้างเผือก” ครั้งเมื่อสมเด็จพระมหจักรพรรดิขึ้นครองกรุง ศรีอยุธยา เมื่อปี พ.ศ. ๒๐๗๒ มีบุญญาธิการมากได้ช้างเผือกถึง ๗ เชือก กิตติศัพท์การมีช้างเผือกมาก นี้ปรากฎไปในนานาประเทศ พระเจ้าหงสาวดีมีพระราชประสงค์จะใคร่ได้ช้างเผือกนั้น จึงรับสั่งให้ พวกอาลักษณ์มีราชสาสน์เข้ามาขอช้างเผือก  ๒.สงครามยุทธหัตถี ศักราช ๙๔๐ ปีขาล พ.ศ. ๒๑๒๑ ณ วันอังคาร แรม ๒ ค่าเดือน ๑๒ สมเด็จ พระมหาธรรมราชาธิราชเสด็จสวรรคตสมเด็จพระนเรศวร พระชนม์ได้๓๕ พรรษา ขึ้นเสวยราช สมบัติให้สมเด็จพระอนุชาเป็นพระมหาอุปราช พระเจ้ากรุงหงสาวดีแจ้งข่าวมีการผลัดแผ่นดินใหม่ ตรัสให้พระมหาอุปราชากับพระเข้าเชียงใหม่ยกทัพลงไปดู ถ้าเกิดเหตุจลาจลประการใด ก็ฉวยโอกาสโจมตีเอากรุงศรีอยุธยาให้ได้ พระมหาอุปราชากราบทูลพระราชบิดาว่า “โหรทายว่าพระชันษาข้าพระพุทธเจ้าร้ายนัก” สมเด็จพระเจ้ากรุงหงสาวดีตรัสว่า “พะ มหาธรรมราชาไม่เสียแรงมีบุตร การสงครามไม่พักให้บิดาเลยต้องห้ามเสียอีก และซึ่งว่า เจ้าเคราะห์ร้ายอยู่แล้วก็อย่าไปเลย เอาผ้าสตรีนุ่งเสียเถิดจะได้สิ้นเคราะห์” พระมหาราชา กลัวพระอาญา จึงเตรียมรี้พลพร้อมกับจ้าเชียงใหม่ ยกพลห้าสิบหมื่น ช้างเครื่องเจ็ดร้อย ม้าสามพัน ข้ามเมืองเมาะตะมะ มาโดยทางแม่กษัตรเข้าทางพระเจดีย์สามองศ์ เมื่อลุ ศักราช ๙๔๑ ปีเถาะ เอกศก (พ.ศ. ๒๑๒๒)
  • 21.  สมัยกรุงธนบุรี สมัยรัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้ตั้งกรมช้างขึ้นและทานุบารุงต่อมาในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์พระ องศ์ได้ข้าราชการเก่าที่ชานาญคชศาสตร์ไว้๒ คน ชื่อ “บุญรอด” เป็นต้นสกุล “บุญยรัตนพันธุ์” เป็นบุตรพระยา มณเฑียรบาล อีกคนชื่อ “จันทร์” ต้นสกุล “จันทโรจน์วงศ์” เป็นบุตรเจ้าพระยาขานาญบริรักษ์  เมื่อ พ.ศ.๒๓๒๑ พระเจ้ากรุงธนบุรีโปรดเกล้าให้สมเด็จพระยาสุรสีห์เป็นแม่ทัพยกไปทางเมืองพิมาย โดยให้เจ้า เมืองพิมายแต่งข้าหลวงออกมาเกณฑ์กาลังจากเมืองปะทายสะมันต์ เมืองขุขันธ์ เมืองสังขะ เมืองรัตนบุรี เพื่อยกทัพ ไปตีเมืองเวียงจันทน์ เนื่องจากเจ้าเมืองเวียงจันทน์ข่มเหงราษฎร บ้านเรือนเดือดร้อน การยกทัพครั้งนี้ใช้กาลังช้าง ออกศึกเช่นปฏิบัติมา เละยังให้ทางเมืองพิมายเกณฑ์กาลังพวกส่วยที่มีความชานาญการช้างร่วมไปด้วยอีกจานวนมาก  สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ การใช้ช้างในการศึกสงครามสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นยังมีอยู่มาก เพราะไทยเรายีงมี การรบกับประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงมาตลอดตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ ๑ ถึงรัชกาลที่ ๓ ศึกครั้งสาคัญ ได้แก่ ศึกเก้าทัพ พ.ศ.๒๓๒๘ .ในรัชกาลที่ ๑ ยังมีการรบกับ ลาว เขมร ญวน อีกหลายครั้ง เช่น ศึกเจ้าอนุวงศ์พ.ศ.๒๓๖๙ รบกับญวน ในดินแดนเขมร พ.ศ.๒๓๗๖ และสงครามกับญวน พ.ศ.๒๓๘๓ – ๒๓๘๗ นี้ รัชกาลที่ ๓ ทรงโปรดให้เจ้าพระยา บดินทร์เดชา (สิงห์ สิงหเสนี) เป็นแม่ทัพคุมกาลังพล๔๐,๐๐๐คน เจ้าพระยาพระคลัง (ดิศ) กับเจ้าฟ้ากรมขุนอิศเรศ รังสรรค์คุมทัพเรือ ทัพไทยตั้งมั่นที่เมืองอุดง ศึกครั้งนี้ไทยเสียเปรียบญวนทางดานทัพเรือเพราะเป็นฤดูน้ามาก ญวน ใช้เรือได้สะดวกก็ยกกองทัพขบวนใหญ่ลงมาขากไซ่ง่อน ดีเมืองพนมเปญแล้วยกขึ้นมาตีเมืองอุดงที่ทัพไทยตั้งอยู่ กองทัพเรือไทยมีเรือรบไม่มากพอที่จะต่อสู้กับญวน จึงคิดอุบายให้รวมช้างรบกับพลทหารราบที่ซุ่มในเมือง ปล่อย ให้ทหารญวนจอดเรือส่งทหารขึ้นบกได้อย่างสะดวก พอญวนขึ้นบก ก็เปิดประตูเมืองช้างรบออกเที่ยวไล่แทงข้าศึก ให้ทหารราบติดท้ายช้างไป สามารถตีทัพญวนแตก ในเวลากาลังหนีช้างทหารญวนที่รอดตายหนีลงเรือและเลยถอย กองเรือหนีไป  
  • 22. ลักษณะของเครื่องทรงช้างในแต่ละประเทศ  ๑. ไทย ของไทยจะมีผ้าปกกระพอง พู่จามรี ปกหลัง สายสาอาง ซองหางส่วน วลัยของไทยจะใส่ข้างละ ๓ วงและของไทยจะมีข้อเท้าช้างทั้ง ๔ ข้าง
  • 23.  ๒. ลาว ของลาวมีผ้าปกประพอง ปกหลัง สายสาอาง ซองหาง และมีเชือกผูก ที่ข้อเท้าทั้ง ๔ ข้างของช้างและมีสร้อยคอโดยแต่ละอย่างจะเป็นลายของ ประเทศลาว
  • 24. ๓.พม่า จะมีผ้าปกกระพอง พู่จามรี ปกหลัง สายสาอาง ซองหาง และมีวลัย แต่ วลัยของพม่าจะใส่งาข้างละ ๒ วง
  • 25.  ๔.กัมพูชา มีผ้าปกกระพอง พู่จามรี ปกหลัง วลัยมี ๔ วง
  • 27. ประเทศ ข้อแตกต่างแต่ละประเทศ ไทย ลาว -ปกหลังไทยจะมีลักษณะผืนใหญ่ มีลวดลายที่สื่อถึง วัฒนธรรมไทยโดยรอบ -ไทยใช้วลัย ๖ วง โดยใส่ข้างละ ๓ วง -มีข้อเท้า -ผ้าปกกระพองลวดลายไทย -ปกหลังจะมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมขนมเปียกปูนมองด้านข้าง จะเป็นรูปสามเหลี่ยม เละมีเส้นขีดตรงไปถึงขอบ -ไม่ใส่วลัย -ผ้าปกกระพองเป็นผ้าธรรมดาพับทบกัน ๒ ชั้น
  • 28. ประเทศ ข้อแตกต่างแต่ละประเทศ พม่า กัมพูชา -ปกหลังเป็นผืนเล็กคลุมแค่ครึ่งตัว มีลวดลายขีดทั้งผืน -วลัย ๔ วง ข้างละ ๒ วง -ไม่มีข้อเท้า และผ้าปกกระพอง -ปกหลังเงาเรียบไม่มีลาย คลุมครึ่งตัว -วลัย ๔ วง ข้างละ ๒ วง -ไม่มีสาอางและซองหาง
  • 29. สรุป  ในการทาสงครามไม่ว่าจะเป็นครั้งเล็กๆหรือจะเป็นครั้งใหญ่ๆ ทุกครั้ง ล้วนมีช้างเป็นส่วนประกอบของการรบทุกครั้งยกตัวอย่างเช่นการทาศึก สงครามในสมัยกรุงธนบุรีแสดงให้เห็นถึงบทบาทของช้างเป็นอย่างมาก ช้างที่ ใช้ในการรบจะต้องมีเครื่องประดับ เครื่องประดับนี้เรียกว่า เครื่องคชาภรณ์ เครื่องคชาภรณ์จะใช้แต่งให้ช้างที่จะออกไปทาศึก ช้างที่จะใส่เครื่องคชาภรณ์ จะต้องเป็นช้างต้นเครื่องคชาภรณ์จะแตกต่างกันไปตามยศของช้าง เครื่อง คชาภรณ์จึงมีความสาคัญมาก และในแต่ละประเทศเครื่องคชาภรณ์ก็อาจจะ บอกถึงเอกลักษณ์ของชาตินั้นด้วย  ดังนั้นเราควรช่วยกันรักษาเครื่องคชาภรณ์และอนุรักษ์ช้างไทยเพื่อให้ ลูกหลานได้สืบทอดและเรียนรู้ต่อไป
  • 30. รายชื่อสมาชิกในกลุ่มย่อยที่ ๑๖ ๑.นายณัฐชนน ร่มโพธิ์ เลขที่ ๗ ม.๔/๒ ๒.น.ส.กนิษฐา แก้วสว่าง เลขที่ ๓๘ ม.๔/๔ ๓.น.ส.ประภาภรณ์ วงทาแต้ม เลขที่ ๓๔ ม.๔/๖ ๔.น.ส.ริชาวีร์ อินทพงษ์ เลขที่ ๒๖ ม.๔/๘ ๕.น.ส.นงนภัส เขียวพุฒ เลขที่ ๒๘ ม.๔/๑๑