SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
1 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 
ชื่อผลงาน ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม 
(ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
ชื่อผู้เสนอผลงาน นางธันยพร ปูองกัน 
โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม 
สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 
โทรศัพท์ 082 8436 276 
e-mail : Thunyapornpongkan@gmailcom 
....................................................................................................................... 
1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องฝึกฝนให้เกิดขึ้นกับทุกคนเพราะไม่เพียงแต่จะ เป็นแนวทางในการค้นคว้าหาความรู้ หรือหาคำตอบสำหรับปัญหาต่าง ๆ เท่านั้น แต่ยังเป็นประโยชน์และ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราอย่างใกล้ชิด ดังนั้นครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้ ฝึกฝนจนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ได้ เพื่อเขาเหล่านั้นจะได้เป็นคนช่างสังเกต รู้จักคิดอย่างมี เหตุผล รู้จักแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีระบบและรู้จักค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้เขา เหล่านั้นเป็นคนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ เพื่อดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าต่อตนเองและมีความสุข ทักษะกระบวนการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ควรได้รับการฝึกฝนอย่างจริงจัง สำหรับนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษา รวม 8 ทักษะ ตามแนวทางของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประกอบด้วย ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ทักษะการคำนวณ ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความคิดเห็น จากข้อมูล และทักษะการพยากรณ์ ทักษะทั้ง 8 ทักษะ เป็นทักษะพื้นฐานที่สำคัญสำหรับทุก ๆ คน ในการที่ จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าต่อตนเองและสังคม ตลอดจนเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และรู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองอีกด้วย 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ได้จากการศึกษาในแต่ละครั้งจะมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ นอกเหนือจากการที่ผู้ศึกษาหาความรู้ดังกล่าวจะใช้วิธีการที่น่าเชื่อถือแล้ว ตัวผู้ศึกษาหาความรู้เองจะต้องมี ทักษะหรือมีความสามารถในการที่จะให้การดำเนินการศึกษาหาความรู้ในครั้งนั้นมีความราบรื่น ข้อมูลที่ได้ใน แต่ละขั้นตอนมีความน่าเชื่อถือ และเนื่องจากเราถือว่ามนุษย์มีความแตกต่างในความถนัดและความสามารถที่ ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่ไม่ได้หมายความว่าความแตกต่างดังกล่าวจะไม่สามารถปรับปรุงหรือพัฒนาได้ จาก การศึกษาในปัจจุบันเราพบว่า ความสามารถหรือทักษะต่าง ๆ เราสามารถฝึกฝนและพัฒนาเพื่อให้เกิดความ ชำนาญได้ ดังนั้นการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญ สามารถ เลือกใช้ทักษะต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมในการแก้ปัญหาแต่ละด้านก็สามารถกระทำได้เช่นเดียวกัน จากเหตุผล ดังกล่าวข้างต้น ทำให้ผู้เสนอผลงานเห็นว่า สิ่งสำคัญในการสอนวิทยาศาสตร์นอกจากความรู้ในเนื้อหาแล้ว ยัง ต้องฝึกในส่วนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเสริมสร้างเจตคติทางวิทยาศาสตร์แก่นักเรียนเป็น สำคัญอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นชุดฝึกทักษะ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาด้านทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การเสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
2 
2. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของการดาเนินงาน 
2.1 จุดประสงค์ 
2.1.1 เพื่อสร้างและใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
2.1.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 
2.2 เปูาหมาย 
2.2.1 ได้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน 
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สามารถนำไปพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 
2.2.2 นักเรียนกลุ่มตัวอย่างในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 40 คน ของโรงเรียน 
สมเด็จพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ปี การศึกษา 2557 มีผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สูงขึ้น 
3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน : ประยุกต์ใช้วงจร PDCA 
P 
D 
C 
A 
ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน 
ขั้นตอนการทางานตามแผน 
ขั้นตรวจสอบและประเมินผล 
ขั้นนาผลการประเมินมาปรับปรุง 
ผลการประเมิน 
สรุปรายงาน/ประชาสัมพันธ์/ เผยแพร่ 
มีจุดอ่อน ปรับปรุง 
ศึกษา / วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ
3 
3.1 ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน (Plan : P) เป็นขั้นตอนการจัดทำแผนในการดำเนินการสร้างชุดฝึกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้ดำเนินการดังนี้ 
3.1.1 วิเคราะห์หลักสูตร เกี่ยวกับความสอดคล้องมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระ เรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กำหนดหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 
3.1.2 ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ออกแบบ 
และสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน 
3.1.3 กำหนดวิธี เครื่องมือ และเกณฑ์การวัดผลประเมินผล โดยการประเมินผลงาน / ชิ้นงาน และการประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 
3.2 ขั้นตอนการทำตามแผน (DO : D) 
จัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ดังนี้ 
1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 
2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 
5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 
3.3 ขั้นตรวจสอบและประเมินผล (Check : C) 
3.3.1 ประเมินผลงานนักเรียน 
3.3.2 ประเมินพฤติกรรมการทำงานของนักเรียน 
3.3.3 บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 
3.3.4 เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย 
3.3.5 จัดทำรายงายผลการจัดการเรียนรู้ 
3.4 ขั้นนาผลการประเมินมาปรับปรุง (Action : A ) 
3.4.1 ปรับปรุงชุดฝึกทักษะโดยเพิ่มเติมเอกสารให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการ 
ขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับชีวิตประจำมากขึ้น และแยกข้อแนะนำการนำชุดฝึกทักษะไปใช้ในการเรียนการสอน จัดเป็นคู่มือการใช้ 
3.4.2 ปรับปรุงชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง 
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 
3.4.3 นำข้อเสนอแนะในการนำไปใช้และการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไปจากชุดฝึกทักษะเดิมไป 
พัฒนาชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวันและบริบทกาจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน 
3.4.4 ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยนำข้อเสนอแนะและข้อควรปรับปรุงพัฒนา 
ให้สอดคล้องกับชุดฝึกทักษะที่ปรับปรุง 
3.4.5 ขยายเครือข่ายการใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
ขั้นพื้นฐาน ให้กับผู้สนใจและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
4 
แผนภูมิกระบวนการสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ประยุกต์ใช้วงจร P D C A 
3)ขั้นตรวจสอบและประเมินผล (C) 
-ประเมินผลงานนักเรียน 
- ประเมินพฤติกรรมการทำงานของ 
นักเรียน 
- บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 
- เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปล 
ความหมาย 
- จัดทำรายงายผลการจัดการเรียนรู้ 
2) ขั้นตอนการทาตามแผน (D) 
-จัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะ 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน 
และกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ 
สืบเสาะ ดังนี้ 
1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 
2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 
3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป 
(Explanation) 
4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 
5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 
4) ขั้นนาผลการประเมินมาปรับปรุง (A) 
-ปรับปรุงชุดฝึกทักษะโดยเพิ่มเติมเอกสารให้ 
ความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน 
ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำมากขึ้น 
-ปรับปรุงชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับ 
มาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ 
แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 
พุทธศักราช 2551 
-นำข้อเสนอแนะจากชุดฝึกทักษะเดิมไป 
พัฒนาชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับ 
ชีวิตประจำวันและบริบทกาจัดการเรียนรู้ 
ของโรงเรียน 
ขยายเครือข่ายการใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนา 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 
ขั้นพื้นฐาน ให้กับผู้สนใจและหน่วยงานอื่นที่ 
เกี่ยวข้อง 
1) ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน (P) 
-วิเคราะห์หลักสูตร 
-ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ 
-ออกแบบและสร้างชุดฝึกทักษะ ฯ 
-กำหนดวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์ 
การวัดและประเมินผล
5 
4. ผลการดาเนินงาน / ผลสัมฤทธิ์ /ประโยชน์ที่ได้รับ (Outcome) 
4.1 สาหรับครู 
4.1.1 เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดแบบต่าง ๆ 
โดยเฉพาะทักษะการคิดขั้นสูง ได้แก่ การคิดแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ คิดเชิงวิทยาศาสตร์ คิดเชิงเหตุผล 
และคิดสร้างสรรค์ ครูสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนของตนได้ โดยเฉพาะการนำสาระ 8 ไปประยุกต์ใช้ กับเนื้อหาสาระ 1 ถึง 7 หรือสร้างรายวิชาเพิ่มเติม หรือพัฒนาเป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ 
4.1.2 เป็นสื่อทีใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับทฤษฎี “การสร้างองค์ความรู้ด้วย 
ตนเอง” (Constructivism) ที่กล่าวว่า การที่ผู้เรียนจะสร้างองค์ความรู้ได้ ต้องผ่านกระบวนการสืบเสาะหา 
ความรู้ (Inquiry process) และเก็บเป็นข้อมูลไว้ในสมองได้อย่างยาวนาน และทฤษฎี “การสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน”(Constructionism) ที่กล่าวว่า หากผู้เรียนได้สร้างความคิดและนำ ความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานจะมีความหมายต่อผู้เรียน ความรู้จะอยู่คงทน ไม่ลืมง่าย สามารถ ถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ และความรู้ที่สร้างขึ้นนี้ยังเป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปได้อีกอย่างไม่มี วันสิ้นสุด 
4.1.3 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และจุดหมายของหลักสูตร 
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน มาตรฐาน และตัวชี้วัด ที่นำไปสู่การ ปฏิบัติโดยเฉพาะสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ที่มุ่งให้เกิดความสามารถในการสื่อสารและความสามารถในการ คิด 
4.1.4 เป็นหลักฐานหรือร่องรอยในการพัฒนาผู้เรียนให้มีกระบวนการคิด สำหรับเตรียม 
ความพร้อมในการประเมินภายนอกของ สมศ. ด้านผู้เรียนมาตรฐาน 4 ที่ผู้เรียนควรมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดไตร่ตรอง คิดสร้างสรรค์อย่างมีวิสัยทัศน์ 
4.1 5 เป็นสื่อในการฝึกทักษะการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ตาม 
แบบอย่างของนักวิทยาศาสตร์ให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ ซึ่ง ประเทศเรากำลังต้องการให้เกิดอย่างมาก 
4.1.6 เป็นสื่อในการฝึกทักษะการเชื่อมโยงความรู้แบบองค์รวมให้กับผู้เรียน ซึ่งนอกจาก 
ผู้เรียนจะมีการสร้างองค์ความรู้ในเนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์แล้ว ผู้เรียนยังมีทักษะการอ่าน การเขียน 
การคิดวิเคราะห์ การใช้ตัวเลขทางคณิตศาสตร์ และใช้ความสามารถทางด้านศิลปะด้วย ซึ่งเป็นการจัดการ เรียนรู้ที่ไม่แปลกแยกออกจากกัน 
4.1.7 เป็นสื่อที่มีการนำกลวิธีการสอน (Teaching Strategies) มาใช้ควบคู่กับการจัดการ 
เรียนรู้ เช่น กลวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning) กลวิธีการทำนาย การสังเกต 
และอธิบาย (Predict - Observe - Explain) กลวิธีคิดเดี่ยว คิดคู่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Think - Pair - Share) กลวิธีรู้แล้ว อยากรู้และต้องการเรียนรู้ (Knowledge - Want to know – Learning : KWL) กลวิธี การระดมความคิด (Brainstroming) กลวิธีการอ่านและการเขียนอย่างมีศักยภาพ (Active reading and writing) ตั๋วออกหรือสรุปความคิดหลังบทเรียน (Exit Ticket) เป็นต้น ซึ่งกลวิธีเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการสร้างองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการคิด กระบวนการ เรียนรู้ และทักษะทางสังคมมากขึ้น 
4.1.8 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนจากกิจกรรมง่าย ๆ และเหมาะสมกับ 
เนื้อหา ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
6 
4.1.9 เป็นแนวทางการสร้างข้อสอบที่เน้นให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดแบบต่าง ๆ 
โดยเฉพาะทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนอนสามารถนำรูปแบบไปประยุกต์ใช้ในการสร้าง 
ข้อสอบของตนเอง เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน เนื่องจากข้อสอบ O - Net หรือ PISA ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นการวัดและประเมินผลกระบวนการคิดและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากกว่า ข้อสอบที่วัดความรู้และความจำ 
4.1.10 เป็นสื่อที่ใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนจากกิจกรรมที่เน้นการลงมือ 
ปฏิบัติทั้งในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน ซึ่งอาจเรียนรู้ด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม จึงเป็นการฝึกทักษะ 
ชีวิตและทักษะทางสังคมให้กับผู้เรียน 
4.1.11 เป็นสื่อในการฝึกทักษะการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งครูผู้สอนควร 
จะแนะนำการใช้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 
4.1.12 เป็นการกระตุ้นครูผู้สอนให้สนใจใฝุรู้ สืบเสาะหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเอง 
อย่างต่อเนื่องและนำสิ่งใหม่ๆ มาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 
4.2 สาหรับนักเรียน 
4.2.1 เป็นสื่อที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม เพื่อ 
สร้างทักษะชีวิตและทักษะทางสังคมจากกิจกรรมที่นำเสนอ 
4.2.2 เป็นสื่อที่สามารถใช้กระบวนการคิดได้อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะการคิดวิเคราะห์ 
และการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการคิดขั้นสูงสุด 
4.2.3 เป็นสื่อที่ทำให้นักเรียนได้แสดงออกในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง 
สนใจใฝุรู้หรือสืบเสาะหาความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของนักวิทยาศาสตร์ 
4.2.4 นักเรียนได้ฝึกคิดและวางแผนออกแบบการทดลองด้วยการใช้ทักษะกระบวนการ 
ทางวิทยาศาสตร์ รู้จักใช้ และเลือกใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการใช้ หน่วยวัดถูกต้องตามหลักสากล และลักษณะดังกล่าว ถือว่าเป็น “ หัวใจของความเป็นวิทยาศาสตร์ ” 
4.2.5 เป็นสื่อที่ทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้วิธีคิดและการใช้ทักษะการสืบเสาะหาความรู้จาก 
กิจกรรมที่นำเสนอแล้วยังสามารถคิดต่อเนื่อง คิดให้รอบคอบ คิดวางแผนให้กับอนาคตของตนเองได้ ถือว่าเป็น 
การเรียนรู้ตลอดชีวิต 
4.2.6 นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์สำหรับฝึกทักษะการคิด 
4.3 สาหรับผู้ปกครอง 
4.3.1 เป็นสื่อที่ผู้ปกครองสามารถใช้สอนบุตรหลานให้ได้มีโอกาสฝึกทักษะการสืบเสาะหา 
ความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างง่าย ๆ และทักษะการคิด การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง ตามแบบอย่างของนักวิทยาศาสตร์ หรือช่วยส่งเสริมให้เป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ 
4.3.2 เป็นสื่อทีช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพิ่มเติม ได้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เกิด 
ความสนใจใฝุรู้ รู้จักสืบเสาะหาความรู้ อยากรู้อยากเห็นไปพร้อม ๆ กับบุตรหลาน 
5. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Succes) 
5.1 บุคลากรที่มีส่วนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประสบผลสำเร็จ คือ ผู้บริหาร โรงเรียนที่มี การสนับสนุนและส่งเสริมให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายตามศักยภาพของผู้เรียน ส่งเสริมสนับสนุนให้ ครูผู้จัดทำสื่อ / นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
7 
5.2 ใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม โดยอาศัยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 
5.3 ผู้บริหาร ให้การนิเทศ ติดตาม และเยี่ยมชั้นเรียนอย่างกัลยาณมิตร ส่งเสริม สนับสนุนการจัด กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 
6. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson learn) 
6.1 ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ทำให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรู้เชิงปฏิบัติอย่างมีระบบส่งผลให้พัฒนาคุณภาพนักเรียน พัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผสมผสาน วิทยาการใหม่ในการศึกษาหาความรู้ ความจริง จนได้ข้อสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ และองค์ความรู้ที่ได้อาจ กลายเป็นผลงานเชิงสร้างสรรค์ และพัฒนาเป็นความรู้ที่คงทนตลอดไป 
6.2 การใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและ กัน นักเรียนมีมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ 
6.3 เป็นแนวทางให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ และการทำโครงงาน เพื่อร่วมแข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ 
6.4 สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียน เกิดอุปนิสัยพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ คือ 
6.4.1 3 ห่วง ประกอบด้วย 
ความพอประมาณ ในการใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างประหยัดและคุ้มค่า 
ความมีเหตุผล ในการเลือกใช้วัสดุมาใช้อย่างเหมาะสมกับกิจกรรม 
การมีภูมิคุ้มกัน คือ การปฏิบัติงานตามขั้นตอน การร่วมมือกันทำงานจนสำเร็จ 
6.4.2 2 เงื่อนไข ประกอบด้วย 
เงื่อนไขความรู้ มีความรู้เกี่ยวกับสารเคมี วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ การ 
ทดลองทางวิทยาศาสตร์ 
เงื่อนไขคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีความเพียร มีความพยายาม มีความสามัคคี 
ในหมู่คณะ มีความขยัน ความอดทน มีวินัย ซื่อสัตย์ ประหยัด และตรงต่อเวลา 
6.4.3 4 มิติ ประกอบด้วย 
ด้านวัตถุ คือ เลือกใช้วัสดุในท้องถิ่นมาใช้ในการทำกิจกรรม 
ด้านสังคม คือการแบ่งปันความรู้ เรียนรู้ด้วยกัน 
ด้านสิ่งแวดล้อม คือ วิธีการนำสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวมาใช้ประโยชน์ 
ด้านวัฒนธรรม คือ นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้การสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 
7. การเผยแพร่ผลงาน/ การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ 
ผู้เสนอผลงานได้มีการเผยแพร่ทางเว็บไซด์ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม (www.somdetpit.ac.th) หัวข้อผลงานทางวิชาการและได้เผยแพร่ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ในสังกัด
8

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2Jariya Jaiyot
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายFaris Singhasena
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 

Tendances (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2การทดลองที่ 2
การทดลองที่ 2
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลายความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวงจันทร์ ดวงอาทิตย์ : ประถมปลาย
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 

En vedette

งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษานางมยุรี เซนักค้า
 
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิตบทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิตJantree Samthong
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
เสนอหัวข้อโครงงาน
เสนอหัวข้อโครงงานเสนอหัวข้อโครงงาน
เสนอหัวข้อโครงงานWhitesand Day
 
สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา
สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา
สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา ยัยเอ๋อ สุดที่รัก
 
Best ครูอริศรา
Best ครูอริศราBest ครูอริศรา
Best ครูอริศราarisara
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์7roommate
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘Duangnapa Inyayot
 
Publishing Technology presentation to International Publishers Forum
Publishing Technology presentation to International Publishers ForumPublishing Technology presentation to International Publishers Forum
Publishing Technology presentation to International Publishers ForumPublishing Technology
 
Public Engagement in the Conversation Age - 2008
Public Engagement in the Conversation Age - 2008Public Engagement in the Conversation Age - 2008
Public Engagement in the Conversation Age - 2008Edelman Digital
 

En vedette (20)

งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
 
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิตบทเรียนสำเร็จรูปคณิต
บทเรียนสำเร็จรูปคณิต
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
เสนอหัวข้อโครงงาน
เสนอหัวข้อโครงงานเสนอหัวข้อโครงงาน
เสนอหัวข้อโครงงาน
 
สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา
สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา
สรุปการดำเนินงานห้องเรียนสึขาว ให้ครูที่ปรึกษา
 
Best ครูอริศรา
Best ครูอริศราBest ครูอริศรา
Best ครูอริศรา
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเรียนรู้ของธอร์นไดค์
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
Publishing Technology presentation to International Publishers Forum
Publishing Technology presentation to International Publishers ForumPublishing Technology presentation to International Publishers Forum
Publishing Technology presentation to International Publishers Forum
 
Public Engagement in the Conversation Age - 2008
Public Engagement in the Conversation Age - 2008Public Engagement in the Conversation Age - 2008
Public Engagement in the Conversation Age - 2008
 

Similaire à นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1Bhayubhong
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)wasan
 
อบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำอบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำpoomarin
 
แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3vittaya411
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
Height multimedia and_design_plan_1
Height multimedia and_design_plan_1Height multimedia and_design_plan_1
Height multimedia and_design_plan_1SakaeoPlan
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 

Similaire à นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (20)

หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
2ดุษณีย์
2ดุษณีย์2ดุษณีย์
2ดุษณีย์
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
เอกสารของไหล.docx
เอกสารของไหล.docxเอกสารของไหล.docx
เอกสารของไหล.docx
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
Karu.form
Karu.formKaru.form
Karu.form
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
อบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำอบรมวิทยากรแกนนำ
อบรมวิทยากรแกนนำ
 
แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3แบบทดสอบชุดที่ 3
แบบทดสอบชุดที่ 3
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
Id plan
Id planId plan
Id plan
 
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรมใบความรู้โครงงานคุณธรรม
ใบความรู้โครงงานคุณธรรม
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Height multimedia and_design_plan_1
Height multimedia and_design_plan_1Height multimedia and_design_plan_1
Height multimedia and_design_plan_1
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 

Plus de somdetpittayakom school

ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558somdetpittayakom school
 
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...somdetpittayakom school
 
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4somdetpittayakom school
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1somdetpittayakom school
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4somdetpittayakom school
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559somdetpittayakom school
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...somdetpittayakom school
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...somdetpittayakom school
 
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...somdetpittayakom school
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมsomdetpittayakom school
 
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 5901  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59somdetpittayakom school
 
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58somdetpittayakom school
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศsomdetpittayakom school
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศsomdetpittayakom school
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศsomdetpittayakom school
 
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558 รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558 somdetpittayakom school
 
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558somdetpittayakom school
 
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558somdetpittayakom school
 
ขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
ขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
ขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บsomdetpittayakom school
 

Plus de somdetpittayakom school (20)

ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
ผลประเมินภายใน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึกษา 2558
 
M1 59
M1 59M1 59
M1 59
 
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกเข้าเรียนต่อ ม.4 (ประเภทนักเรียนทั่วไป) ประจำปีการศึกษา...
 
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
รายการค่าใช้จ่ายห้องเรียนอัจฉริยะ Smart Class ม.1 ม.4
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 1
 
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
ประกาศผลการสอบ Smart class ม 4
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ปีการศึกษา 2559
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม เรื่อง การรับนักเรียนสมัครนักเรียนชั้น ม.4 จากนัก...
 
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
ประกาศโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม รับสมัครนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และชั้นมัธย...
 
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
ปฏิทินรับนักเรียน ห้องเรียนอัจฉริยะ smart class โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปีการศึ...
 
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคมปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
ปฏิทินรับนักเรียนชั้น ม.3 (เดิม) ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม
 
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 5901  ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
01 ปฏิทินรับนักเรียน ปี 59
 
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58ประกาศหยุดการเรียนการสอน  22 - 24 มกราคม 58
ประกาศหยุดการเรียนการสอน 22 - 24 มกราคม 58
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ ห้องภาษาต่างประเทศ
 
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
ประกาศสอบราคาซื้อครุภัณฑ์ สอบราคาซื้อราคาซื้อครุภัณฑ์ห้องภาษาต่างประเทศ
 
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558 รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
รายชื่อ เบอร์โทร อีเมล์ บุคลากรโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม ปี 2558
 
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
ประกาศรับสมัครครูสังคมศึกษา และเจ้าหน้าที่สำนักงาน(การเงิน) 2558
 
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
กำหนดการปิด-เปิดโรงเรียน ประจำปีการศึกษา 2558
 
ขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
ขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
ขั้นตอนวิธีการใช้งานบทเรียนแสวงรู้บนเว็บ
 

นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ

  • 1. 1 นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ชื่อผลงาน ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ชื่อผู้เสนอผลงาน นางธันยพร ปูองกัน โรงเรียนสมเด็จพิทยาคม สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 โทรศัพท์ 082 8436 276 e-mail : Thunyapornpongkan@gmailcom ....................................................................................................................... 1. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องฝึกฝนให้เกิดขึ้นกับทุกคนเพราะไม่เพียงแต่จะ เป็นแนวทางในการค้นคว้าหาความรู้ หรือหาคำตอบสำหรับปัญหาต่าง ๆ เท่านั้น แต่ยังเป็นประโยชน์และ เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราอย่างใกล้ชิด ดังนั้นครูผู้สอนควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้ ฝึกฝนจนเกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ให้ได้ เพื่อเขาเหล่านั้นจะได้เป็นคนช่างสังเกต รู้จักคิดอย่างมี เหตุผล รู้จักแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมีระบบและรู้จักค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นการส่งเสริมให้เขา เหล่านั้นเป็นคนคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาได้ เพื่อดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีคุณค่าต่อตนเองและมีความสุข ทักษะกระบวนการพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ที่ควรได้รับการฝึกฝนอย่างจริงจัง สำหรับนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษา รวม 8 ทักษะ ตามแนวทางของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประกอบด้วย ทักษะการสังเกต ทักษะการวัด ทักษะการจำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา ทักษะการคำนวณ ทักษะการจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล ทักษะการลงความคิดเห็น จากข้อมูล และทักษะการพยากรณ์ ทักษะทั้ง 8 ทักษะ เป็นทักษะพื้นฐานที่สำคัญสำหรับทุก ๆ คน ในการที่ จะดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณค่าต่อตนเองและสังคม ตลอดจนเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้คิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และรู้จักค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองอีกด้วย ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ถือเป็นปัจจัยสำคัญในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ทาง วิทยาศาสตร์ เพราะความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่ได้จากการศึกษาในแต่ละครั้งจะมีความน่าเชื่อถือหรือไม่ นอกเหนือจากการที่ผู้ศึกษาหาความรู้ดังกล่าวจะใช้วิธีการที่น่าเชื่อถือแล้ว ตัวผู้ศึกษาหาความรู้เองจะต้องมี ทักษะหรือมีความสามารถในการที่จะให้การดำเนินการศึกษาหาความรู้ในครั้งนั้นมีความราบรื่น ข้อมูลที่ได้ใน แต่ละขั้นตอนมีความน่าเชื่อถือ และเนื่องจากเราถือว่ามนุษย์มีความแตกต่างในความถนัดและความสามารถที่ ติดตัวมาแต่กำเนิด แต่ไม่ได้หมายความว่าความแตกต่างดังกล่าวจะไม่สามารถปรับปรุงหรือพัฒนาได้ จาก การศึกษาในปัจจุบันเราพบว่า ความสามารถหรือทักษะต่าง ๆ เราสามารถฝึกฝนและพัฒนาเพื่อให้เกิดความ ชำนาญได้ ดังนั้นการพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญ สามารถ เลือกใช้ทักษะต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมในการแก้ปัญหาแต่ละด้านก็สามารถกระทำได้เช่นเดียวกัน จากเหตุผล ดังกล่าวข้างต้น ทำให้ผู้เสนอผลงานเห็นว่า สิ่งสำคัญในการสอนวิทยาศาสตร์นอกจากความรู้ในเนื้อหาแล้ว ยัง ต้องฝึกในส่วนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และเสริมสร้างเจตคติทางวิทยาศาสตร์แก่นักเรียนเป็น สำคัญอีกด้านหนึ่ง ดังนั้นชุดฝึกทักษะ จึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งของการพัฒนาด้านทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การเสริมสร้างเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้น
  • 2. 2 2. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของการดาเนินงาน 2.1 จุดประสงค์ 2.1.1 เพื่อสร้างและใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.1.2 เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชา วิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2.2 เปูาหมาย 2.2.1 ได้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สำหรับนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่สามารถนำไปพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 2.2.2 นักเรียนกลุ่มตัวอย่างในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 40 คน ของโรงเรียน สมเด็จพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 ปี การศึกษา 2557 มีผลสัมฤทธิ์ด้านทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สูงขึ้น 3. กระบวนการผลิตผลงานหรือขั้นตอนการดาเนินงาน : ประยุกต์ใช้วงจร PDCA P D C A ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน ขั้นตอนการทางานตามแผน ขั้นตรวจสอบและประเมินผล ขั้นนาผลการประเมินมาปรับปรุง ผลการประเมิน สรุปรายงาน/ประชาสัมพันธ์/ เผยแพร่ มีจุดอ่อน ปรับปรุง ศึกษา / วิเคราะห์สภาพปัญหาและความต้องการ
  • 3. 3 3.1 ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน (Plan : P) เป็นขั้นตอนการจัดทำแผนในการดำเนินการสร้างชุดฝึกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม (ว 22101) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้ดำเนินการดังนี้ 3.1.1 วิเคราะห์หลักสูตร เกี่ยวกับความสอดคล้องมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระ เรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น กำหนดหน่วยการเรียนรู้ จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ 3.1.2 ออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ออกแบบ และสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน 3.1.3 กำหนดวิธี เครื่องมือ และเกณฑ์การวัดผลประเมินผล โดยการประเมินผลงาน / ชิ้นงาน และการประเมินพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 3.2 ขั้นตอนการทำตามแผน (DO : D) จัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และกระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะ ดังนี้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 3.3 ขั้นตรวจสอบและประเมินผล (Check : C) 3.3.1 ประเมินผลงานนักเรียน 3.3.2 ประเมินพฤติกรรมการทำงานของนักเรียน 3.3.3 บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ 3.3.4 เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมาย 3.3.5 จัดทำรายงายผลการจัดการเรียนรู้ 3.4 ขั้นนาผลการประเมินมาปรับปรุง (Action : A ) 3.4.1 ปรับปรุงชุดฝึกทักษะโดยเพิ่มเติมเอกสารให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการ ขั้นพื้นฐานให้สอดคล้องกับชีวิตประจำมากขึ้น และแยกข้อแนะนำการนำชุดฝึกทักษะไปใช้ในการเรียนการสอน จัดเป็นคู่มือการใช้ 3.4.2 ปรับปรุงชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3.4.3 นำข้อเสนอแนะในการนำไปใช้และการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไปจากชุดฝึกทักษะเดิมไป พัฒนาชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวันและบริบทกาจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน 3.4.4 ปรับปรุงพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยนำข้อเสนอแนะและข้อควรปรับปรุงพัฒนา ให้สอดคล้องกับชุดฝึกทักษะที่ปรับปรุง 3.4.5 ขยายเครือข่ายการใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน ให้กับผู้สนใจและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
  • 4. 4 แผนภูมิกระบวนการสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ประยุกต์ใช้วงจร P D C A 3)ขั้นตรวจสอบและประเมินผล (C) -ประเมินผลงานนักเรียน - ประเมินพฤติกรรมการทำงานของ นักเรียน - บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้ - เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล แปล ความหมาย - จัดทำรายงายผลการจัดการเรียนรู้ 2) ขั้นตอนการทาตามแผน (D) -จัดการเรียนรู้โดยใช้ชุดฝึกทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน และกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะ ดังนี้ 1. ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 2. ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) 3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) 4. ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 5. ขั้นประเมิน (Evaluation) 4) ขั้นนาผลการประเมินมาปรับปรุง (A) -ปรับปรุงชุดฝึกทักษะโดยเพิ่มเติมเอกสารให้ ความรู้เกี่ยวกับทักษะกระบวนการขั้นพื้นฐาน ให้สอดคล้องกับชีวิตประจำมากขึ้น -ปรับปรุงชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับ มาตรฐาน ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 -นำข้อเสนอแนะจากชุดฝึกทักษะเดิมไป พัฒนาชุดฝึกทักษะให้สอดคล้องกับ ชีวิตประจำวันและบริบทกาจัดการเรียนรู้ ของโรงเรียน ขยายเครือข่ายการใช้ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน ให้กับผู้สนใจและหน่วยงานอื่นที่ เกี่ยวข้อง 1) ขั้นวางแผนปฏิบัติงาน (P) -วิเคราะห์หลักสูตร -ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ -ออกแบบและสร้างชุดฝึกทักษะ ฯ -กำหนดวิธีการ เครื่องมือ และเกณฑ์ การวัดและประเมินผล
  • 5. 5 4. ผลการดาเนินงาน / ผลสัมฤทธิ์ /ประโยชน์ที่ได้รับ (Outcome) 4.1 สาหรับครู 4.1.1 เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนาผู้เรียนให้มีทักษะการคิดแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะทักษะการคิดขั้นสูง ได้แก่ การคิดแก้ปัญหา คิดวิเคราะห์ คิดเชิงวิทยาศาสตร์ คิดเชิงเหตุผล และคิดสร้างสรรค์ ครูสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชั้นเรียนของตนได้ โดยเฉพาะการนำสาระ 8 ไปประยุกต์ใช้ กับเนื้อหาสาระ 1 ถึง 7 หรือสร้างรายวิชาเพิ่มเติม หรือพัฒนาเป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ 4.1.2 เป็นสื่อทีใช้ในการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับทฤษฎี “การสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง” (Constructivism) ที่กล่าวว่า การที่ผู้เรียนจะสร้างองค์ความรู้ได้ ต้องผ่านกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ (Inquiry process) และเก็บเป็นข้อมูลไว้ในสมองได้อย่างยาวนาน และทฤษฎี “การสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน”(Constructionism) ที่กล่าวว่า หากผู้เรียนได้สร้างความคิดและนำ ความคิดของตนเองไปสร้างสรรค์ชิ้นงานจะมีความหมายต่อผู้เรียน ความรู้จะอยู่คงทน ไม่ลืมง่าย สามารถ ถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ และความรู้ที่สร้างขึ้นนี้ยังเป็นฐานให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ใหม่ต่อไปได้อีกอย่างไม่มี วันสิ้นสุด 4.1.3 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์และจุดหมายของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่เน้นสมรรถนะผู้เรียน มาตรฐาน และตัวชี้วัด ที่นำไปสู่การ ปฏิบัติโดยเฉพาะสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ที่มุ่งให้เกิดความสามารถในการสื่อสารและความสามารถในการ คิด 4.1.4 เป็นหลักฐานหรือร่องรอยในการพัฒนาผู้เรียนให้มีกระบวนการคิด สำหรับเตรียม ความพร้อมในการประเมินภายนอกของ สมศ. ด้านผู้เรียนมาตรฐาน 4 ที่ผู้เรียนควรมีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ คิดไตร่ตรอง คิดสร้างสรรค์อย่างมีวิสัยทัศน์ 4.1 5 เป็นสื่อในการฝึกทักษะการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ตาม แบบอย่างของนักวิทยาศาสตร์ให้กับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกถึงความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ ซึ่ง ประเทศเรากำลังต้องการให้เกิดอย่างมาก 4.1.6 เป็นสื่อในการฝึกทักษะการเชื่อมโยงความรู้แบบองค์รวมให้กับผู้เรียน ซึ่งนอกจาก ผู้เรียนจะมีการสร้างองค์ความรู้ในเนื้อหาด้านวิทยาศาสตร์แล้ว ผู้เรียนยังมีทักษะการอ่าน การเขียน การคิดวิเคราะห์ การใช้ตัวเลขทางคณิตศาสตร์ และใช้ความสามารถทางด้านศิลปะด้วย ซึ่งเป็นการจัดการ เรียนรู้ที่ไม่แปลกแยกออกจากกัน 4.1.7 เป็นสื่อที่มีการนำกลวิธีการสอน (Teaching Strategies) มาใช้ควบคู่กับการจัดการ เรียนรู้ เช่น กลวิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ (Cooperative Learning) กลวิธีการทำนาย การสังเกต และอธิบาย (Predict - Observe - Explain) กลวิธีคิดเดี่ยว คิดคู่และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Think - Pair - Share) กลวิธีรู้แล้ว อยากรู้และต้องการเรียนรู้ (Knowledge - Want to know – Learning : KWL) กลวิธี การระดมความคิด (Brainstroming) กลวิธีการอ่านและการเขียนอย่างมีศักยภาพ (Active reading and writing) ตั๋วออกหรือสรุปความคิดหลังบทเรียน (Exit Ticket) เป็นต้น ซึ่งกลวิธีเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนได้ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการสร้างองค์ความรู้ ทักษะกระบวนการคิด กระบวนการ เรียนรู้ และทักษะทางสังคมมากขึ้น 4.1.8 เป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนจากกิจกรรมง่าย ๆ และเหมาะสมกับ เนื้อหา ตรงตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรวิทยาศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
  • 6. 6 4.1.9 เป็นแนวทางการสร้างข้อสอบที่เน้นให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ครูผู้สอนอนสามารถนำรูปแบบไปประยุกต์ใช้ในการสร้าง ข้อสอบของตนเอง เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน เนื่องจากข้อสอบ O - Net หรือ PISA ส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นการวัดและประเมินผลกระบวนการคิดและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์มากกว่า ข้อสอบที่วัดความรู้และความจำ 4.1.10 เป็นสื่อที่ใช้ในการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับผู้เรียนจากกิจกรรมที่เน้นการลงมือ ปฏิบัติทั้งในห้องเรียนและนอกเวลาเรียน ซึ่งอาจเรียนรู้ด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม จึงเป็นการฝึกทักษะ ชีวิตและทักษะทางสังคมให้กับผู้เรียน 4.1.11 เป็นสื่อในการฝึกทักษะการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ซึ่งครูผู้สอนควร จะแนะนำการใช้อย่างถูกต้องและปลอดภัย 4.1.12 เป็นการกระตุ้นครูผู้สอนให้สนใจใฝุรู้ สืบเสาะหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่องและนำสิ่งใหม่ๆ มาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล 4.2 สาหรับนักเรียน 4.2.1 เป็นสื่อที่นักเรียนสามารถเรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองหรือเป็นกลุ่ม เพื่อ สร้างทักษะชีวิตและทักษะทางสังคมจากกิจกรรมที่นำเสนอ 4.2.2 เป็นสื่อที่สามารถใช้กระบวนการคิดได้อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะการคิดวิเคราะห์ และการคิดสร้างสรรค์ ซึ่งเป็นการคิดขั้นสูงสุด 4.2.3 เป็นสื่อที่ทำให้นักเรียนได้แสดงออกในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการลงมือปฏิบัติจริง สนใจใฝุรู้หรือสืบเสาะหาความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นลักษณะเด่นของนักวิทยาศาสตร์ 4.2.4 นักเรียนได้ฝึกคิดและวางแผนออกแบบการทดลองด้วยการใช้ทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ รู้จักใช้ และเลือกใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการใช้ หน่วยวัดถูกต้องตามหลักสากล และลักษณะดังกล่าว ถือว่าเป็น “ หัวใจของความเป็นวิทยาศาสตร์ ” 4.2.5 เป็นสื่อที่ทำให้นักเรียนสามารถเรียนรู้วิธีคิดและการใช้ทักษะการสืบเสาะหาความรู้จาก กิจกรรมที่นำเสนอแล้วยังสามารถคิดต่อเนื่อง คิดให้รอบคอบ คิดวางแผนให้กับอนาคตของตนเองได้ ถือว่าเป็น การเรียนรู้ตลอดชีวิต 4.2.6 นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์สำหรับฝึกทักษะการคิด 4.3 สาหรับผู้ปกครอง 4.3.1 เป็นสื่อที่ผู้ปกครองสามารถใช้สอนบุตรหลานให้ได้มีโอกาสฝึกทักษะการสืบเสาะหา ความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์อย่างง่าย ๆ และทักษะการคิด การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง ตามแบบอย่างของนักวิทยาศาสตร์ หรือช่วยส่งเสริมให้เป็นนักวิทยาศาสตร์รุ่นเยาว์ 4.3.2 เป็นสื่อทีช่วยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพิ่มเติม ได้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เกิด ความสนใจใฝุรู้ รู้จักสืบเสาะหาความรู้ อยากรู้อยากเห็นไปพร้อม ๆ กับบุตรหลาน 5. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ (Key Succes) 5.1 บุคลากรที่มีส่วนในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนประสบผลสำเร็จ คือ ผู้บริหาร โรงเรียนที่มี การสนับสนุนและส่งเสริมให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลายตามศักยภาพของผู้เรียน ส่งเสริมสนับสนุนให้ ครูผู้จัดทำสื่อ / นวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
  • 7. 7 5.2 ใช้หลักการจัดกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม โดยอาศัยความร่วมมือของผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชนหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.3 ผู้บริหาร ให้การนิเทศ ติดตาม และเยี่ยมชั้นเรียนอย่างกัลยาณมิตร ส่งเสริม สนับสนุนการจัด กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง 6. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson learn) 6.1 ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ทำให้นักเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรู้เชิงปฏิบัติอย่างมีระบบส่งผลให้พัฒนาคุณภาพนักเรียน พัฒนาทักษะกระบวนการคิด ผสมผสาน วิทยาการใหม่ในการศึกษาหาความรู้ ความจริง จนได้ข้อสรุปเป็นองค์ความรู้ใหม่ และองค์ความรู้ที่ได้อาจ กลายเป็นผลงานเชิงสร้างสรรค์ และพัฒนาเป็นความรู้ที่คงทนตลอดไป 6.2 การใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เป็นสื่อในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีความเอื้อเฟื่อเผื่อแผ่ รู้จักแบ่งปันความรู้ซึ่งกันและ กัน นักเรียนมีมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ 6.3 เป็นแนวทางให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ความรู้สู่การแข่งขันทักษะกระบวนการแก้ปัญหาทาง วิทยาศาสตร์ และการทำโครงงาน เพื่อร่วมแข่งขันในระดับเขตพื้นที่การศึกษา ระดับภาค และระดับประเทศ 6.4 สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผู้เรียน เกิดอุปนิสัยพอเพียงตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ คือ 6.4.1 3 ห่วง ประกอบด้วย ความพอประมาณ ในการใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างประหยัดและคุ้มค่า ความมีเหตุผล ในการเลือกใช้วัสดุมาใช้อย่างเหมาะสมกับกิจกรรม การมีภูมิคุ้มกัน คือ การปฏิบัติงานตามขั้นตอน การร่วมมือกันทำงานจนสำเร็จ 6.4.2 2 เงื่อนไข ประกอบด้วย เงื่อนไขความรู้ มีความรู้เกี่ยวกับสารเคมี วัสดุอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ การ ทดลองทางวิทยาศาสตร์ เงื่อนไขคุณธรรม มีความรับผิดชอบ มีความเพียร มีความพยายาม มีความสามัคคี ในหมู่คณะ มีความขยัน ความอดทน มีวินัย ซื่อสัตย์ ประหยัด และตรงต่อเวลา 6.4.3 4 มิติ ประกอบด้วย ด้านวัตถุ คือ เลือกใช้วัสดุในท้องถิ่นมาใช้ในการทำกิจกรรม ด้านสังคม คือการแบ่งปันความรู้ เรียนรู้ด้วยกัน ด้านสิ่งแวดล้อม คือ วิธีการนำสิ่งแวดล้อมใกล้ตัวมาใช้ประโยชน์ ด้านวัฒนธรรม คือ นำความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้การสืบทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น 7. การเผยแพร่ผลงาน/ การได้รับการยอมรับ/รางวัลที่ได้รับ ผู้เสนอผลงานได้มีการเผยแพร่ทางเว็บไซด์ของโรงเรียนสมเด็จพิทยาคม (www.somdetpit.ac.th) หัวข้อผลงานทางวิชาการและได้เผยแพร่ไปยังโรงเรียนต่าง ๆ ในสังกัด
  • 8. 8