SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
1
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
(School-Based Management)
เพื่อรองรับการกระจายอานาจ
โดย มาโนช จันทร์แจ่ม
ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
ทาไมต้องบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การปฏิรูปการศึกษา ถือเป็นนโยบายสาคัญของรัฐบาล ที่จะพัฒนาคนและสังคมให้มี
คุณภาพ เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้คนไทยมีความสมบูรณ์
ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ในการดาเนินงานให้ประสบผลสาเร็จดังกล่าว ขึ้นอยู่กับความสามารถในการบริหารและจัด
การศึกษา ให้ทุกส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
หลังประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมาย
สาคัญที่เป็นหลักในการปฏิรูปการศึกษา ในหมวด 1 ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 9
การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้ (1) มีเอกภาพด้าน
นโยบาย มีความหลากหลายในการปฏิบัติ (2) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา
สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบ
ประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา (4) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ
ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆมาใช้
ในการจัดการศึกษา (6) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ
และสถาบันสังคมอื่น(กระทรวงศึกษาธิการ.2542 : 6)
หลักการดังกล่าว เป็นการกระจายอานาจสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตาม
รายละเอียดที่กาหนดไว้ตาม หมวด 5 การบริหารและจัดการศึกษา มาตรา 39 ที่ว่า ให้กระทรวง
กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงาน
บุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการ และสานักงานการศึกษาศาสนา และ
2
วัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง และมาตรา 40
กาหนดให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริม สนับสนุน
กิจการของสถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ.2542 : 21) ซึ่งจะเห็นได้ว่าสถานศึกษามีอานาจ
อิสระในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของตนเอง ตามที่กฎหมายกาหนด การมีอิสระ
ในการจัดการศึกษาของตนเองดังกล่าวข้างต้นสอดคล้องกับแนวคิดการบริหารจัดการ โดยใช้
โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM) ซึ่งมุ่งให้สถานศึกษาเป็น
องค์กรหลักในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน คืออะไร
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management :
SBM) เป็นแนวคิดทางการบริหารและการจัดการศึกษา ที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระในการ
บริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ภายใต้
กฎหมายที่กาหนด การบริหารตามแนวคิดนี้สถานศึกษามีอานาจในการตัดสินใจที่จะพัฒนา
นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ และมีการวางแผนพัฒนางาน โดยให้บุคคลที่มีส่วนได้
ส่วนเสียได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วม
ในการบริหารและจัดการศึกษา รวมทั้งตรวจสอบงาน ในการดาเนินงานที่มุ่งเน้นผลผลิต
ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดแก่ผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามแนวคิดหลักการกระจายอานาจ
การมีส่วนร่วม การคืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน การบริหารตนเอง และการ
ตรวจสอบและถ่วงดุล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. การกระจายอานาจ
เป็นการกระจายอานาจ และการจัดการศึกษาให้สถานศึกษาตัดสินใจด้านวิชาการ
ด้านงบประมาณ ด้านบุคคลากร และด้านบริหารทั่วไป
2. การมีส่วนร่วม
เป็นการดาเนินงานที่สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา ครู ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหาร และ
จัดการศึกษา
3. การคืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน
เป็นการคืนอานาจการจัดการศึกษาสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มีบทบาท
ในการจัดการศึกษามากขึ้น
3
4. การบริหารตนเอง
เป็นการมอบอานาจให้โรงเรียนมีระบบการบริหารด้วยตนเอง มีอานาจ หน้าที่
และความรับผิดชอบในการดาเนินงาน ซึ่งสามารถทาได้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ
ความพร้อม และสถานการณ์ของโรงเรียน โดยหน่วยงานส่วนกลางทาหน้าที่เพียงกาหนด
นโยบาย
5. การตรวจสอบและถ่วงดุล
หลักการนี้ส่วนกลางมีหน้าที่กาหนดนโยบายและควบคุมมาตรฐาน มีองค์กร
อิสระทาหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อให้มีคุณภาพ และ
มาตรฐานตามที่กาหนด และเป็นไปตามนโยบายของชาติ
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.2548 : 47)
บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อรองรับการกระจายอานาจ
ต้องบริหารเรื่องใดบ้าง
ในการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน โรงเรียนจะต้องเป็นฐานในการจัด
การศึกษา มีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน และอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู ต้องมีความเข้มแข็ง มุ่งมั่นที่จะบริหารจัดการด้วยตนเอง
มีเป้ าหมายความสาเร็จอยู่ที่คุณภาพของโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐาน
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งโรงเรียนจะประสบความสาเร็จได้มีงานที่ ต้องปฏิบัติให้ได้ผลดี
ทั้ง 4 ด้าน ที่มีการกระจายอานาจ คือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ
ด้านการบริหารบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้
กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีกากระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550 ไว้เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 โดยกาหนดกระจายอานาจไปยังคณะกรรมการเขต
พื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือสถานศึกษาในอานาจหน้าที่ของตนแล้วแต่
กรณี ดังนี้
1. ด้านวิชาการ
รายละเอียดตามกฎกระทรวง ได้กาหนดกระจายอานาจด้านวิชาการไว้ดังนี้
(1) การพัฒนาหรือดาเนินการ เกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น
(2) การวางแผนงานด้านวิชาการ (3) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา (4) การพัฒนา
หลักสูตรของสถานศึกษา (5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (6) การวัดผล ประเมินผล และ
ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน (7) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
4
(8) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่ง เรียนรู้ (9) การนิเทศการศึกษา (10) การแนะแนว
(11) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา (12) การส่งเสริมชุมชน
ให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ (13)การประสาน ความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับ
สถานศึกษาและองค์กรอื่น (14) การส่งเสริมและ สนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว
องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา (15) การจัดทาระเบียบ
และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา (16) การคัดเลือกหนังสือแบบเรียน
เพื่อใช้ในสถานศึกษา (14) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
2. ด้านงบประมาณ
โรงเรียนที่จะประสบผลสาเร็จได้ ต้องมีความสามารถในการบริหาร
งบประมาณด้วยนเอง ซึ่งการกระจายอานาจด้านงบประมาณ มีดังนี้ (1) การจัดทาแผน
งบประมาณและคาขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือเลขาธิการ
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วแต่กรณี (2) การจัดทาแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงิน
ตามที่ได้รับรับจัดสรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยตรง
(3) การอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (4) การขอโอนและขอเปลี่ยนแปลง
งบประมาณ (5) การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ (6) การตรวจสอบติดตามและ
รายงานการใช้งบประมาณ (7) การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจาก
งบประมาณ (8) การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา (9) การปฏิบัติงานอื่นใด
ตามที่ได้รับมอบหมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการศึกษา (10) การบริหารจัดการทรัพยากร
เพื่อการศึกษา (11) การวางแผนวัสดุ (12) การกาหนดรูปแบบรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ
ของครุภัณฑ์ หรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้เงินงบประมาณเพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือ
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วแต่กรณี (13) การพัฒนาระบบข้อมูลและ
สารสนเทศเพื่อการจัดทาและจัดหาพัสดุ (14) การจัดหาพัสดุ (15) การควบคุมดูแล บารุงรักษา
และจาหน่ายพัสดุ (15) การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน (16) การเบิกเงินจากคลัง
(17) การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และ การจ่ายเงิน (18) การนาเงินส่งคลัง (19) การจัดทาบัญชี
การเงิน (20) การจัดทารายงานทางการเงินและงบการเงิน (19) การจัดทาหรือจัดหาแบบพิมพ์
บัญชี ทะเบียนและรายงาน
3. ด้านการบริหารงานบุคคล
คนเป็นทรัพยากรที่สาคัญ การดาเนินงานเพื่อรองรับการกระจายอานาจ
ให้สาเร็จ โรงเรียนต้องบริหารงานบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่กฎกระทรวงกาหนดไว้
ดังนี้ (1) การวางแผนอัตรากาลัง (2) การจัดสรรอัตรากาลังข้าราชการครู และบุคลากรทาง
การศึกษา (3) การสรรหา และบรรจุแต่งตั้ง (4)การเปลี่ยนตาแหน่งให้สูงขึ้น การย้าย
5
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (5) การดาเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน
(6) การลาทุกประเภท (7) การประเมินผลการปฏิบัติงาน (8) การดาเนินการทางวินัยและ
การลงโทษ (9) การสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (10) การรายงาน
การดาเนินการทางวินัยและการลงโทษ (11) การอุธรณ์และการร้องทุกข์ (12) การออกจาก
ราชการ (13) การจัดระบบและการจัดทาทะเบียนประวัติ (14) การจัดทาบัญชีรายชื่อและให้
ความเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (15) การส่งเสริมการ
ประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (16) การส่งเสริมและยกย่องเชิดชู
เกียรติ (17) การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ (18) การส่งเสริมวินัย
คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (19) การริเริ่มส่งเสริม
การขอใบอนุญาต (20) การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
4. ด้านการบริหารทั่วไป
ในการบริหารงานทั่วไป โรงเรียนต้องมีความพร้อมเหมือนด้านอื่นๆ โดยเฉพาะ
พร้อมที่จะดาเนินงานในเรื่องที่ได้รับการกระจายอานาจตามกฎหมาย ตามกฎกระทรวง ดังนี้
(1) การพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ (2) การประสานงานและพัฒนาเครือข่าย
การศึกษา (3) งานวางแผนบริหารงานการศึกษา (4) งานวิจัยเพื่อพัฒนา นโยบายและแผน
(5) การจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร (6) การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน (7) งานเทค
โนยีเพื่อการศึกษา (8)การดาเนินงานธุรการ (9) การดูแลอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อม
(10) การจัดทาสามะโนผู้เรียน (11) การรับนักเรียน (12) การเสนอความเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องการจัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษา (13) การประสานการจัดการศึกษาในระบบ
นอกระบบ และตามอัธยาศัย (14) การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา (15) การทัศนศึกษา
(16) งานกิจการนักเรียน (17) การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา (18) การส่งเสริมสนับสนุน
ประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบันสังคมอื่นที่จัด
การศึกษา (19)งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น (20) การรายงานผลการ
ปฏิบัติงาน (21) การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน (22) แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน
(กระทรวงศึกษาธิการ.2550 : 1 – 4)
6
นอกจากการกาหนดให้กระจายอานาจการบริหารงานทั้ง 4 ด้าน ดังกล่าวแล้ว
กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา
พ.ศ. 2550 กาหนดให้คานึงถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ดังนี้
- ความพร้อมและความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษาที่สามารถ
รับผิดชอบดาเนินการตามขีดความสามารถได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- ความสอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กระจายอานาจ
- ความเป็นเอกภาพด้านมาตรฐานและนโยบายด้านการศึกษา
- ความเป็นอิสระและความคล่องตัวในการบริหารและจัดการศึกษา
- มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่
- มุ่งให้เกิดผลสาเร็จแก่สถานศึกษา โดยเน้นการกระจายอานาจให้แก่สถานศึกษา
ให้มากที่สุด เพื่อให้สถานศึกษานั้นมีความเข้มแข็งและความคล่องตัว
- เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพให้แก่สถานศึกษา
เพื่อให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินการเป็นผู้ตัดสินใจเรื่องนั้นๆ โดยตรง
กฎกระทรวงฉบับที่อ้างถึงนี้ยังระบุว่า ในการกระจายอานาจทั้ง 4 ด้าน นั้น เรื่องใดจะกาหนดให้
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือสถานศึกษา เป็นผู้รับมอบ
การกระจายอานาจ ให้เป็นไปตามที่กระทรวงศึกษาธิการ หรือเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน แล้วแต่กรณี เป็นผู้ออกประกาศกาหนด โดยประกาศดังกล่าวในระยะแรกอาจจะมี
การกระจายอานาจบางเรื่อง หรือตามความพร้อมและความเหมาะสม แต่จะต้องมีการปรับปรุง
การกระจายอานาจเพิ่มมากขึ้นตามช่วงเวลาที่เหมาะสม สาหรับการกระจายอานาจให้แก่
สถานศึกษา อาจกาหนดให้การดาเนินการในเรื่องใดต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาด้วยก็ได้
(กระทรวงศึกษาธิการ.2550 : 4)
ครูในโรงเรียนที่บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานควรปฏิบัติอย่างไร
ครูเป็นบุคลากรหลักของโรงเรียน ที่มีส่วนสาคัญในการช่วยให้การบริหารและการจัด
การศึกษาประสบความสาเร็จ ทุกคนต้องช่วยกันนาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยหน้าสาคัญที่ต้อง
ร่วมกันปฏิบัติมี ดังนี้
1. ดาเนินการพัฒนาด้านวิชาการ
การพัฒนาด้านวิชาการถือเป็นหน้าที่โดยตรงของครู ทุกคน ดังนั้นจึงถือเป็นงาน
สาคัญต้องปฏิบัติ ดังนี้
7
1.1 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
1.1.1 ศึกษาบริบทการจัดการศึกษาของชุมชน เพื่อให้เกิดความรู้ความ
เข้าใจถึงประเด็นหลักที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของชุมชน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
ค่านิยม ประเพณี และสิ่งแวดล้อม เพื่อนาประเด็นเหล่านั้นมาเป็นข้อมูลในการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา
1.1.2 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยร่วมกันระหว่างเพื่อนครู ผู้บริหาร
และชุมชน เพื่อจัดทาสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและเป็นไปตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.1.3 นาหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม ดาเนินการได้โดย
จัดทาหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้และนาไปใช้จัดการเรียนการสอนมีการประยุกต์
เนื้อหาสาระ สื่อและเทคนิควิธีการจากท้องถิ่น และเทคนิคใหม่ๆ มาใช้ อย่างเหมาะสม
1.1.4 จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสม เพื่อส่งเสริม
การเรียนรู้ และพัฒนาการของผู้เรียน ให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
โดยแปลงหลักสูตรไปสู่การออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมุ่งเน้นที่
จะยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น
1.1.5 จัดทาจัดหาสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สื่อและแหล่งเรียนรู้
เป็นสิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ โดยดาเนินการดังนี้
1) จัดรวบรวมสื่อ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น และวางแผน
การใช้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
2) จัดทาเอกสารแบบเรียน และสื่ออื่นๆ เพื่อประกอบการสอน
3) ประสานความร่วมมือกับชุมชนและท้องถิ่น ให้ช่วยในการ
จัดการศึกษา โดยนาบุคคล ภูมิปัญญาท้องถิ่น และทรัพยากรมาช่วยจัดการศึกษา
1.2 การวิจัย ครูต้องวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนได้ และเป็นวิจัยปฏิบัติการ
ระหว่างการเรียนการสอน รวมทั้งมีการวิจัยทางการบริหารเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนางาน
1.3 การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารและครู ในการพัฒนางานจะต้องพัฒนา
ตนเองควบคู่ไปด้วย สถานศึกษาควรมีการประเมินสมรรถนะผู้บริหารและครูและจัดทแผนพัฒนา
สมรรถนะของตนเอง รวมทั้งทาการพัฒนาตนเองตามแผนไปพร้อมๆกับการปฏิบัติงาน
1.4 คุณธรรมนาความรู้ ควรพัฒนาคุณธรรมควบคู่ไปกับวิชาการประเด็นสาคัญ
ที่ต้องดาเนินการคือ นาหลักปรัซญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน การ
จัดการเรียนรู้ และการดาเนินชีวิต
8
1.5 การประกันคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพ
ภายในให้เข้มแข็ง ทุกองค์ประกอบของงานจะต้องดาเนินการตามวงจรคุณภาพ( PDCA)
ครูต้องมีส่วนในการพัฒนางานและระบบประกันคุณภาพการศึกษาและมีความรู้พอที่จะช่วย
ผู้บริหารได้
1.6 การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มบทบาท ครูต้องรู้จักใช้เทคโนโลยีเพื่อประโยชน์
ในการจัดการเรียนการสอนได้
2. สนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
เนื่องจากครูเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ปกครองและชุมชน จึงมีบทบาทสาคัญในการ
ประสานงานกับชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยปฏิบัติได้ดังนี้
2.1 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนได้เข้าใจบทบาทของตนเองในการมี
ส่วนร่วมจัดการศึกษา โดยร่วมดาเนินการด้วยวิธีต่างๆ เช่น ประชุมเชิงปฏิบัติการ ประชุมชี้แจง
เผยแพร่ข่าวสารด้วยสื่อต่างๆ เป็นต้น
2.2 ส่งเสริมให้ชุมชน และผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม
การเรียนการสอน และเป็นคณะกรรมการต่างๆ ของโรงเรียน
ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษาได้อย่างไรบ้าง
ในการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพื่อรองรับการกระจายอานาจจะต้องให้
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษามากขึ้น ทั้งด้านการบริหาร การส่งเสริมสนับสนุน
การเรียนการสอน และการจัดการศึกษา รวมทั้งการเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบติดตาม
ผลการดาเนินงานของโรงเรียน ซึ่งมีวิธีที่ชุมชนสามารถมีส่วนร่วมได้ ดังนี้
1. มีส่วนร่วมร่วมในการบริหารการศึกษา
ผู้ปกครองและชุมชนสามารถมีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษาได้ดังนี้
1.1 กาหนดความต้องการในการจัดการศึกษาให้แก่โรงเรียน โดยมี
ส่วนร่วมในการกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการจัดการศึกษาและการจัดทาแผน
พัฒนาโรงเรียน
1.2 ร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.3 ร่วมในการพัฒนาโรงเรียนในรูปแบบของคณะกรรมการ เช่น
คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะกรรมการสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
สมาคมครูและผู้ปกครองของโรงเรียน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองของโรงเรียน เป็นต้น
9
2 . มีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
ชุมชนจะมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน
โดยทาได้ ดังนี้
2.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียน ในรูปแบบของสถานที่ศึกษาดูงาน
แหล่งฝึกงาน
2.2 เป็นวิทยากร หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเข้าร่วมในการสอน หรือเป็น
วิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน
2.3 การให้ความช่วยเหลือทั้งด้านกาลังกาย กาลังสติปัญญา ทรัพยากรและ
การช่วยเหลือด้านอื่นๆ และเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน
2.4 การให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการส่งเสริมการเรียนรู้ ของบุตร
หลานตนเอง เช่น การสอนเสริม กวดขันดูแลความประพฤติ การอบรมสั่งสอน เป็นต้น
3. มีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียน
ชุมชนสามารถสนับสนุนการจัดการศึกษา ได้ดังนี้
3.1 การให้ทุนสนับสนุน เป็นการให้ หรือจัดหาเงินเพื่อสนับสนุนการจัด
การศึกษา องค์กรหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถจัดงบประมาณเพื่อช่วยสนับสนุน
ก็สามารถทาได้
3.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ โดยมี
การสื่อสารข้อมูลระหว่างชุมชนในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ซึ่ง
อาจจะมีการดาเนินงาน เวทีประชาคม หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น รายการวิทยุ หอกระจายข่าว
เป็นต้น
4. มีส่วนร่วมตรวจสอบและติดตามผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน
การจัดการศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษา ได้มีการกาหนดให้
หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้กาหนดนโยบายและมาตรฐานการศึกษา โดยให้อิสระแก่สถานศึกษา
ชุมชน ท้องถิ่นดาเนินการจัดการศึกษา และให้ท้องถิ่น และหน่วยงานด้านมาตรฐาน ทาหน้าที่
กากับ ตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา ดังนั้นชุมชนจึงมีบทบาทในการตรวจสอบและ
ติดตามผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน ดังนี้
4.1 ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจสอบ
4.2 ร่วมติดตามความเคลื่อนไหวของสถานศึกษา
4.3 ร่วมวิพากษ์ วิจารณ์ ให้ความคิดเห็นในการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา
10
การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานให้ประสบความสาเร็จ
ควรปฏิบัติตามปัจจัยและเงื่อนไขใดบ้าง
1. ปัจจัยที่ช่วยให้ประสบความสาเร็จ
ในการนารูปแบบการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไปใช้ในโรงเรียน
ให้ประสบผลสาเร็จ ขึ้นอยู่กับปัจจัยสาคัญที่ต้องดาเนินการ ดังนี้
1.1 ได้รับการถ่ายโอนอานาจอย่างแท้จริง หน่วยงานส่วนกลางต้องถ่ายโอน
อานาจหน้าที่ และการบริหารและจัดการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านบุคลากร
ด้านงบประมาณ และด้านการบริหารทั่วไป ให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการ
สถานศึกษาอย่างแท้จริง และผู้บริหารสถานศึกษาต้องใช้อานาจที่ได้รับร่วมกับครู ผู้ปกครอง
และผู้แทนจากชุมชน
1.2 มีการกาหนดและมอบอานาจหน้าที่ ผู้บริหารจะต้องกาหนดอานาจหน้าที่
ความรับผิดชอบของบุคลากรในสถานศึกษาอย่างชัดเจน และมอบอานาจและหน้าที่แก่บุคลากร
อย่างเหมาะสม ซึ่งอาจพิจารณาถึงภาระงาน บทบาท ความรับผิดชอบของบุคลากร
1.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ต้องรู้และเข้าใจวิสัยทัศน์
พันธกิจ ความรับผิดชอบ ของตนเอง
1.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสีย ในการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ควรได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง และสม่าเสมอ
1.5 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีลักษณะของผู้นาการเปลี่ยนแปลง
1.6 การบริหารงานควรดาเนินการในรูปขององค์คณะบุคคล
1.7 สถานศึกษาต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ดี และนามาใช้ประโยชน์
ได้โดยสะดวก
1.8 สถานศึกษามีการวางแผนและดาเนินงานอย่างเป็นระบบ
1.9 มีการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในการจัดการศึกษา
ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา
1.10 มีระบบการตัดสินใจดาเนินการ และวิธีการที่ต้องแจ้งผลการตัดสินใจ
ให้กับบุคลากรทุกคนในโรงเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถดาเนินการได้ ซึ่งโรงเรียนต้อง
พัฒนาระบบการตัดสินใจ การสื่อสารข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ
1.11 จัดให้มีระบบการนิเทศ ติดตาม กากับ ประเมินผล และรายงานต่อ
หน่วยงานต้นสังกัดและชุมชน
11
2. เงื่อนไขสู่ความสาเร็จ
ในการนาสถานศึกษาสู่ความสาเร็จ นอกจากดาเนินการให้ครบถ้วนตามปัจจัย
ต่างๆ ที่กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว ควรดาเนินการตามเงื่อนไขต่างๆ ที่สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาแห่งชาติกล่าวไว้ ดังนี้
2.1 มีความเป็นอิสระ ในการทางานจะต้องมีอิสระที่จะคิด มีอิสระที่จะลองได้
2.2 มีเวลายาวนานพอ การทางานใช้เวลาสั้นๆเพียงครึ่งปีหรือ 1 ปีคงไม่พอ
จะต้องใช้เวลานาน เมื่อมีเวลานานจะเกิดความรู้ที่มีความหมายพัฒนาขึ้นได้
2.3 ต้องทุ่มเท การทางานต้องทุ่มเทกับเรื่องที่ทาตลอดเวลา เมื่อทุ่มเทหรือ
หมกมุ่นอยู่กับการทาเรื่องดีๆ ชีวิตจะมีค่า
2.4 กลุ่มต้องใหญ่พอ กลุ่มคนเป็นเรื่องที่สาคัญ การทางานถ้าทาไม่กี่คนคงไม่
เพียงพอ ควรทางานหลายคนเป็นกลุ่มใหญ่ เพราะจะช่วยให้ความคิด และประสบการณ์
มีความหลากหลาย และเกิดพลังที่จะสร้างสรรค์
2.5 สร้างความรู้ เมื่อทางานแล้วถ้าพบความรู้ หรือข้อสรุปใดข้อสรุปหนึ่ง
ควรนาไปตรวจสอบกับประสบการณ์ของผู้อื่นหรือกลุ่มอื่น จะทาให้เข้าใจลึกซึ้ง และ
เชื่อมโยงกัน ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพิ่มขึ้น
(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.2545 : 30-31)
บทสรุป
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่กล่าวไว้ สรุปได้ว่า สิ่งสาคัญคือ
เป็นการบริหารจัดการโดยมีเป้าหมาที่ผู้เรียน ลดขั้นตอนการควบคุมและสั่งการเพื่อเพิ่มผลงาน
ที่แท้จริง และเพิ่มประสิทธิภาพ กล่าวคือใช้ทรัพยากรน้อยแต่ได้ผลงานมาก มองการมีส่วนร่วม
ของโรงเรียนในมุมกว้าง คือมีส่วนร่วมทั้งครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
จากการจัดการศึกษา นอกจากนี้เป็นการบริหารที่เปิดโอกาสให้โรงเรียนมีความเป็นอิสระ
ในการคิด การวางแผน ทดลองสร้างสรรค์ และสร้างนวัตกรรมในงานที่ทา พร้อมทั้งมีการ
ตรวจสอบและประเมินผลควบคู่กันไป
ความเป็นอิสระในการทางานที่กล่าวไว้ เป็นอิสระที่มีกติกา มีเงื่อนไข หรือข้อตกลง
ไม่ใช่อิสระเสรีแบบไม่มีขีดจากัด และที่สาคัญคือ มีเป้ าหมาย หรือปณิธานที่ชัดเจน มีหลักการ
ทางานที่ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันทางาน มีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น
ใช้ความคิดริเริ่ม และตัดสินใจในงานที่เขารับผิดชอบ ไม่ควบคุมสั่งการ แต่ต้องมีการตรวจสอบ
12
จากภายนอก นอกจากนี้ควรมีการสร้างเครือข่าย หรือทีมงาน มีการเชื่อมโยง ดึงดูดสิ่งดีๆ
จากบุคคลและองค์กรต่างๆเข้ามาสร้างความเจริญให้แก่โรงเรียน ในลักษณะการทางานแบบ
เครือข่าย
เมื่อมีการดาเนินงานตามที่กล่าวไว้อย่างต่อเนื่อง จริงจัง ผลผลิตที่ได้คือ การบริหาร
จัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานจะดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความพร้อมสูงในการ
รองรับการกระจายอานาจจากส่วนราชการ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ นักเรียนที่จบไป
แต่ละรุ่นจะมีคุณภาพ ครูในโรงเรียนที่ร่วมในกระบวนการทางาน จะเก่งและงอกงามขึ้น
มีปัญญามากขึ้น เป็นคนดีมากขึ้น และจะได้สร้างนวัตกรรมที่เป็นเทคนิค วิธีการ หรือ
กระบวนการทางานใหม่ๆ มาใช้ในการทางานเพื่อพัฒนาให้เด็กรุ่นต่อๆไป เติบโตขึ้นอย่างมี
คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง ไม่สิ้นสุด
เอกสารอ้างอิง
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน .(2548) การบริหารแบบยึดโรงเรียนเป็นฐาน.
กรุงเทพฯ : โครงการหนึ่งอาเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน.
คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,สานักงาน .(2545) การสร้างศาสตร์ SBM บนแผ่นดินแม่.
กรุงเทพฯ : ห้างหันส่วนจากัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.
ศึกษาธิการ,กระทรวง .(2550) กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจ
การบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 . กรุงเทพฯ : สานักนิติการ.
ศึกษาธิการ,กระทรวง . (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 . กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

Contenu connexe

Tendances

1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
Tophit Sampootong
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
Nirut Uthatip
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
nokhongkhum
 

Tendances (18)

การนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidreการนิเทศแบบ Pidre
การนิเทศแบบ Pidre
 
1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด1 abstractล าส ด
1 abstractล าส ด
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
สาระสำคัญปรับโครงสร้าง ระบบและกลไกของหน่วยงานทุกระดับ ตามแผนขั้นตอนการดำเนินง...
 
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
แนวทางการดำเนิน เรียนฟรี เรียนดี 15 ปี อย่างมีคุณภาพ ปีที่ 3
 
School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56School lib-standard-th-56
School lib-standard-th-56
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)1ความรอบรู้ok (1)
1ความรอบรู้ok (1)
 
รายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือรายงานการพัฒนาคู่มือ
รายงานการพัฒนาคู่มือ
 
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าวโครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
โครงสร้างบริหารงานโรงเรียนพานพร้าว
 
คู่มือสภา
คู่มือสภาคู่มือสภา
คู่มือสภา
 
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการO16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
 
ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
 
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอกโครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนหนองจอก
 
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
๓.คู่มือปฏิบัติงานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนซอย ๒๖ สาย ๔ ซ้าย
 
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียนการศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
การศึกษาวิเคราะห์ระบบงานวิชาการในโรงเรียน
 

En vedette

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
kitsada
 
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
rbsupervision
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
Nirut Uthatip
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
Nirut Uthatip
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
Nirut Uthatip
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
Katekyo Sama
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
pairat13
 

En vedette (12)

การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน+บทคัดย่อ
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคมการสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
การสังเคราะห์ผลการดำเนินงานของโรงเรียนด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
การประยุกต์ใช้สื่อสังคมออนไลน์
 
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
การสร้างและใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อประสม เรื่องสระเปลี่ยนรูปและสระลดรูป ช...
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนวทำเนียบครูแนะแนว
ทำเนียบครูแนะแนว
 
O net
O netO net
O net
 
สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556สพฐ. พุทธศักราช 2556
สพฐ. พุทธศักราช 2556
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 

Similaire à การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
tunyapisit
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
krupornpana55
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
Samapol Klongkhoi
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
omsnooo
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
krupornpana55
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
benty2443
 

Similaire à การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (20)

สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
School curiculum
School curiculumSchool curiculum
School curiculum
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
ทิศทางของศธ.ที่ผู้บริหารโรงเรียนควรทราบ
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 

การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

  • 1. 1 การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management) เพื่อรองรับการกระจายอานาจ โดย มาโนช จันทร์แจ่ม ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ทาไมต้องบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน การปฏิรูปการศึกษา ถือเป็นนโยบายสาคัญของรัฐบาล ที่จะพัฒนาคนและสังคมให้มี คุณภาพ เพื่อสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต ให้คนไทยมีความสมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ในการดาเนินงานให้ประสบผลสาเร็จดังกล่าว ขึ้นอยู่กับความสามารถในการบริหารและจัด การศึกษา ให้ทุกส่วนของสังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา หลังประกาศใช้พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 ซึ่งเป็นกฎหมาย สาคัญที่เป็นหลักในการปฏิรูปการศึกษา ในหมวด 1 ความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา 9 การจัดระบบโครงสร้างและกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยึดหลักดังนี้ (1) มีเอกภาพด้าน นโยบาย มีความหลากหลายในการปฏิบัติ (2) มีการกระจายอานาจไปสู่เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและประเภทการศึกษา (4) มีหลักการส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพ ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่างๆมาใช้ ในการจัดการศึกษา (6) การมีส่วนร่วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เอกชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น(กระทรวงศึกษาธิการ.2542 : 6) หลักการดังกล่าว เป็นการกระจายอานาจสู่เขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา ตาม รายละเอียดที่กาหนดไว้ตาม หมวด 5 การบริหารและจัดการศึกษา มาตรา 39 ที่ว่า ให้กระทรวง กระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา ทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงาน บุคคล และการบริหารทั่วไป ไปยังคณะกรรมการ และสานักงานการศึกษาศาสนา และ
  • 2. 2 วัฒนธรรมเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง และมาตรา 40 กาหนดให้มีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อทาหน้าที่กากับและส่งเสริม สนับสนุน กิจการของสถานศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ.2542 : 21) ซึ่งจะเห็นได้ว่าสถานศึกษามีอานาจ อิสระในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของตนเอง ตามที่กฎหมายกาหนด การมีอิสระ ในการจัดการศึกษาของตนเองดังกล่าวข้างต้นสอดคล้องกับแนวคิดการบริหารจัดการ โดยใช้ โรงเรียนเป็นฐาน (School - Based Management : SBM) ซึ่งมุ่งให้สถานศึกษาเป็น องค์กรหลักในการจัดการศึกษาอย่างมีคุณภาพ การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน คืออะไร การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School-Based Management : SBM) เป็นแนวคิดทางการบริหารและการจัดการศึกษา ที่มุ่งให้สถานศึกษามีอิสระในการ บริหารวิชาการ การบริหารงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารทั่วไป ภายใต้ กฎหมายที่กาหนด การบริหารตามแนวคิดนี้สถานศึกษามีอานาจในการตัดสินใจที่จะพัฒนา นโยบาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้ าประสงค์ และมีการวางแผนพัฒนางาน โดยให้บุคคลที่มีส่วนได้ ส่วนเสียได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน ผู้ปกครอง และสมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วม ในการบริหารและจัดการศึกษา รวมทั้งตรวจสอบงาน ในการดาเนินงานที่มุ่งเน้นผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดแก่ผู้เรียนเป็นสาคัญ ตามแนวคิดหลักการกระจายอานาจ การมีส่วนร่วม การคืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน การบริหารตนเอง และการ ตรวจสอบและถ่วงดุล ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. การกระจายอานาจ เป็นการกระจายอานาจ และการจัดการศึกษาให้สถานศึกษาตัดสินใจด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านบุคคลากร และด้านบริหารทั่วไป 2. การมีส่วนร่วม เป็นการดาเนินงานที่สถานศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เช่น สานักงาน เขตพื้นที่การศึกษา ครู ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการบริหาร และ จัดการศึกษา 3. การคืนอานาจการจัดการศึกษาให้ประชาชน เป็นการคืนอานาจการจัดการศึกษาสู่ท้องถิ่น เพื่อให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้มีบทบาท ในการจัดการศึกษามากขึ้น
  • 3. 3 4. การบริหารตนเอง เป็นการมอบอานาจให้โรงเรียนมีระบบการบริหารด้วยตนเอง มีอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการดาเนินงาน ซึ่งสามารถทาได้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย ขึ้นอยู่กับ ความพร้อม และสถานการณ์ของโรงเรียน โดยหน่วยงานส่วนกลางทาหน้าที่เพียงกาหนด นโยบาย 5. การตรวจสอบและถ่วงดุล หลักการนี้ส่วนกลางมีหน้าที่กาหนดนโยบายและควบคุมมาตรฐาน มีองค์กร อิสระทาหน้าที่ตรวจสอบคุณภาพการบริหารและการจัดการศึกษา เพื่อให้มีคุณภาพ และ มาตรฐานตามที่กาหนด และเป็นไปตามนโยบายของชาติ (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.2548 : 47) บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานเพื่อรองรับการกระจายอานาจ ต้องบริหารเรื่องใดบ้าง ในการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน โรงเรียนจะต้องเป็นฐานในการจัด การศึกษา มีการปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน และอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และครู ต้องมีความเข้มแข็ง มุ่งมั่นที่จะบริหารจัดการด้วยตนเอง มีเป้ าหมายความสาเร็จอยู่ที่คุณภาพของโรงเรียนตามมาตรฐานการศึกษาปฐมวัย และมาตรฐาน การศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งโรงเรียนจะประสบความสาเร็จได้มีงานที่ ต้องปฏิบัติให้ได้ผลดี ทั้ง 4 ด้าน ที่มีการกระจายอานาจ คือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงบประมาณ ด้านการบริหารบุคคล และด้านการบริหารทั่วไป ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้ กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีกากระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 ไว้เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2550 โดยกาหนดกระจายอานาจไปยังคณะกรรมการเขต พื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือสถานศึกษาในอานาจหน้าที่ของตนแล้วแต่ กรณี ดังนี้ 1. ด้านวิชาการ รายละเอียดตามกฎกระทรวง ได้กาหนดกระจายอานาจด้านวิชาการไว้ดังนี้ (1) การพัฒนาหรือดาเนินการ เกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น (2) การวางแผนงานด้านวิชาการ (3) การจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา (4) การพัฒนา หลักสูตรของสถานศึกษา (5) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ (6) การวัดผล ประเมินผล และ ดาเนินการเทียบโอนผลการเรียน (7) การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา
  • 4. 4 (8) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่ง เรียนรู้ (9) การนิเทศการศึกษา (10) การแนะแนว (11) การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษา (12) การส่งเสริมชุมชน ให้มีความเข้มแข็งทางวิชาการ (13)การประสาน ความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับ สถานศึกษาและองค์กรอื่น (14) การส่งเสริมและ สนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา (15) การจัดทาระเบียบ และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา (16) การคัดเลือกหนังสือแบบเรียน เพื่อใช้ในสถานศึกษา (14) การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 2. ด้านงบประมาณ โรงเรียนที่จะประสบผลสาเร็จได้ ต้องมีความสามารถในการบริหาร งบประมาณด้วยนเอง ซึ่งการกระจายอานาจด้านงบประมาณ มีดังนี้ (1) การจัดทาแผน งบประมาณและคาขอตั้งงบประมาณเพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือเลขาธิการ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วแต่กรณี (2) การจัดทาแผนปฏิบัติการใช้จ่ายเงิน ตามที่ได้รับรับจัดสรรงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยตรง (3) การอนุมัติการใช้จ่ายงบประมาณที่ได้รับจัดสรร (4) การขอโอนและขอเปลี่ยนแปลง งบประมาณ (5) การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ (6) การตรวจสอบติดตามและ รายงานการใช้งบประมาณ (7) การตรวจสอบติดตามและรายงานการใช้ผลผลิตจาก งบประมาณ (8) การระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา (9) การปฏิบัติงานอื่นใด ตามที่ได้รับมอบหมายเกี่ยวกับกองทุนเพื่อการศึกษา (10) การบริหารจัดการทรัพยากร เพื่อการศึกษา (11) การวางแผนวัสดุ (12) การกาหนดรูปแบบรายการ หรือคุณลักษณะเฉพาะ ของครุภัณฑ์ หรือสิ่งก่อสร้างที่ใช้เงินงบประมาณเพื่อเสนอต่อปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แล้วแต่กรณี (13) การพัฒนาระบบข้อมูลและ สารสนเทศเพื่อการจัดทาและจัดหาพัสดุ (14) การจัดหาพัสดุ (15) การควบคุมดูแล บารุงรักษา และจาหน่ายพัสดุ (15) การจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สิน (16) การเบิกเงินจากคลัง (17) การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และ การจ่ายเงิน (18) การนาเงินส่งคลัง (19) การจัดทาบัญชี การเงิน (20) การจัดทารายงานทางการเงินและงบการเงิน (19) การจัดทาหรือจัดหาแบบพิมพ์ บัญชี ทะเบียนและรายงาน 3. ด้านการบริหารงานบุคคล คนเป็นทรัพยากรที่สาคัญ การดาเนินงานเพื่อรองรับการกระจายอานาจ ให้สาเร็จ โรงเรียนต้องบริหารงานบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ ตามที่กฎกระทรวงกาหนดไว้ ดังนี้ (1) การวางแผนอัตรากาลัง (2) การจัดสรรอัตรากาลังข้าราชการครู และบุคลากรทาง การศึกษา (3) การสรรหา และบรรจุแต่งตั้ง (4)การเปลี่ยนตาแหน่งให้สูงขึ้น การย้าย
  • 5. 5 ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (5) การดาเนินการเกี่ยวกับการเลื่อนขั้นเงินเดือน (6) การลาทุกประเภท (7) การประเมินผลการปฏิบัติงาน (8) การดาเนินการทางวินัยและ การลงโทษ (9) การสั่งพักราชการและการสั่งให้ออกจากราชการไว้ก่อน (10) การรายงาน การดาเนินการทางวินัยและการลงโทษ (11) การอุธรณ์และการร้องทุกข์ (12) การออกจาก ราชการ (13) การจัดระบบและการจัดทาทะเบียนประวัติ (14) การจัดทาบัญชีรายชื่อและให้ ความเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ (15) การส่งเสริมการ ประเมินวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (16) การส่งเสริมและยกย่องเชิดชู เกียรติ (17) การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ (18) การส่งเสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมสาหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (19) การริเริ่มส่งเสริม การขอใบอนุญาต (20) การพัฒนาข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 4. ด้านการบริหารทั่วไป ในการบริหารงานทั่วไป โรงเรียนต้องมีความพร้อมเหมือนด้านอื่นๆ โดยเฉพาะ พร้อมที่จะดาเนินงานในเรื่องที่ได้รับการกระจายอานาจตามกฎหมาย ตามกฎกระทรวง ดังนี้ (1) การพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ (2) การประสานงานและพัฒนาเครือข่าย การศึกษา (3) งานวางแผนบริหารงานการศึกษา (4) งานวิจัยเพื่อพัฒนา นโยบายและแผน (5) การจัดระบบบริหารและพัฒนาองค์กร (6) การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงาน (7) งานเทค โนยีเพื่อการศึกษา (8)การดาเนินงานธุรการ (9) การดูแลอาคารสถานที่ และสภาพแวดล้อม (10) การจัดทาสามะโนผู้เรียน (11) การรับนักเรียน (12) การเสนอความเห็นเกี่ยวกับ เรื่องการจัดตั้ง ยุบ รวม หรือเลิกสถานศึกษา (13) การประสานการจัดการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย (14) การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา (15) การทัศนศึกษา (16) งานกิจการนักเรียน (17) การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา (18) การส่งเสริมสนับสนุน ประสานการจัดการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงาน และสถาบันสังคมอื่นที่จัด การศึกษา (19)งานประสานราชการกับส่วนภูมิภาคและท้องถิ่น (20) การรายงานผลการ ปฏิบัติงาน (21) การจัดระบบการควบคุมภายในหน่วยงาน (22) แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการลงโทษนักเรียน (กระทรวงศึกษาธิการ.2550 : 1 – 4)
  • 6. 6 นอกจากการกาหนดให้กระจายอานาจการบริหารงานทั้ง 4 ด้าน ดังกล่าวแล้ว กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหาร และการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 กาหนดให้คานึงถึงส่วนที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา ดังนี้ - ความพร้อมและความเหมาะสมในการปฏิบัติหน้าที่ของสถานศึกษาที่สามารถ รับผิดชอบดาเนินการตามขีดความสามารถได้อย่างมีประสิทธิภาพ - ความสอดคล้องกับกฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ หรือมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่กระจายอานาจ - ความเป็นเอกภาพด้านมาตรฐานและนโยบายด้านการศึกษา - ความเป็นอิสระและความคล่องตัวในการบริหารและจัดการศึกษา - มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนได้เสียในพื้นที่ - มุ่งให้เกิดผลสาเร็จแก่สถานศึกษา โดยเน้นการกระจายอานาจให้แก่สถานศึกษา ให้มากที่สุด เพื่อให้สถานศึกษานั้นมีความเข้มแข็งและความคล่องตัว - เพิ่มคุณภาพและประสิทธิภาพให้แก่สถานศึกษา เพื่อให้ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินการเป็นผู้ตัดสินใจเรื่องนั้นๆ โดยตรง กฎกระทรวงฉบับที่อ้างถึงนี้ยังระบุว่า ในการกระจายอานาจทั้ง 4 ด้าน นั้น เรื่องใดจะกาหนดให้ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือสถานศึกษา เป็นผู้รับมอบ การกระจายอานาจ ให้เป็นไปตามที่กระทรวงศึกษาธิการ หรือเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน แล้วแต่กรณี เป็นผู้ออกประกาศกาหนด โดยประกาศดังกล่าวในระยะแรกอาจจะมี การกระจายอานาจบางเรื่อง หรือตามความพร้อมและความเหมาะสม แต่จะต้องมีการปรับปรุง การกระจายอานาจเพิ่มมากขึ้นตามช่วงเวลาที่เหมาะสม สาหรับการกระจายอานาจให้แก่ สถานศึกษา อาจกาหนดให้การดาเนินการในเรื่องใดต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศึกษาด้วยก็ได้ (กระทรวงศึกษาธิการ.2550 : 4) ครูในโรงเรียนที่บริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานควรปฏิบัติอย่างไร ครูเป็นบุคลากรหลักของโรงเรียน ที่มีส่วนสาคัญในการช่วยให้การบริหารและการจัด การศึกษาประสบความสาเร็จ ทุกคนต้องช่วยกันนาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โดยหน้าสาคัญที่ต้อง ร่วมกันปฏิบัติมี ดังนี้ 1. ดาเนินการพัฒนาด้านวิชาการ การพัฒนาด้านวิชาการถือเป็นหน้าที่โดยตรงของครู ทุกคน ดังนั้นจึงถือเป็นงาน สาคัญต้องปฏิบัติ ดังนี้
  • 7. 7 1.1 พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน 1.1.1 ศึกษาบริบทการจัดการศึกษาของชุมชน เพื่อให้เกิดความรู้ความ เข้าใจถึงประเด็นหลักที่ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงของชุมชน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม ค่านิยม ประเพณี และสิ่งแวดล้อม เพื่อนาประเด็นเหล่านั้นมาเป็นข้อมูลในการพัฒนา หลักสูตรสถานศึกษา 1.1.2 พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยร่วมกันระหว่างเพื่อนครู ผู้บริหาร และชุมชน เพื่อจัดทาสาระการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและเป็นไปตาม หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1.3 นาหลักสูตรสถานศึกษาไปใช้อย่างเป็นรูปธรรม ดาเนินการได้โดย จัดทาหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้และนาไปใช้จัดการเรียนการสอนมีการประยุกต์ เนื้อหาสาระ สื่อและเทคนิควิธีการจากท้องถิ่น และเทคนิคใหม่ๆ มาใช้ อย่างเหมาะสม 1.1.4 จัดกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลายและเหมาะสม เพื่อส่งเสริม การเรียนรู้ และพัฒนาการของผู้เรียน ให้สามารถเรียนรู้ได้เต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล โดยแปลงหลักสูตรไปสู่การออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมุ่งเน้นที่ จะยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น 1.1.5 จัดทาจัดหาสื่อและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย สื่อและแหล่งเรียนรู้ เป็นสิ่งที่ส่งเสริมการเรียนรู้ โดยดาเนินการดังนี้ 1) จัดรวบรวมสื่อ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น และวางแผน การใช้ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน 2) จัดทาเอกสารแบบเรียน และสื่ออื่นๆ เพื่อประกอบการสอน 3) ประสานความร่วมมือกับชุมชนและท้องถิ่น ให้ช่วยในการ จัดการศึกษา โดยนาบุคคล ภูมิปัญญาท้องถิ่น และทรัพยากรมาช่วยจัดการศึกษา 1.2 การวิจัย ครูต้องวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนได้ และเป็นวิจัยปฏิบัติการ ระหว่างการเรียนการสอน รวมทั้งมีการวิจัยทางการบริหารเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนางาน 1.3 การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารและครู ในการพัฒนางานจะต้องพัฒนา ตนเองควบคู่ไปด้วย สถานศึกษาควรมีการประเมินสมรรถนะผู้บริหารและครูและจัดทแผนพัฒนา สมรรถนะของตนเอง รวมทั้งทาการพัฒนาตนเองตามแผนไปพร้อมๆกับการปฏิบัติงาน 1.4 คุณธรรมนาความรู้ ควรพัฒนาคุณธรรมควบคู่ไปกับวิชาการประเด็นสาคัญ ที่ต้องดาเนินการคือ นาหลักปรัซญาเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในการบริหารงาน การ จัดการเรียนรู้ และการดาเนินชีวิต
  • 8. 8 1.5 การประกันคุณภาพการศึกษา สถานศึกษาควรพัฒนาระบบประกันคุณภาพ ภายในให้เข้มแข็ง ทุกองค์ประกอบของงานจะต้องดาเนินการตามวงจรคุณภาพ( PDCA) ครูต้องมีส่วนในการพัฒนางานและระบบประกันคุณภาพการศึกษาและมีความรู้พอที่จะช่วย ผู้บริหารได้ 1.6 การใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มบทบาท ครูต้องรู้จักใช้เทคโนโลยีเพื่อประโยชน์ ในการจัดการเรียนการสอนได้ 2. สนับสนุนให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา เนื่องจากครูเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ปกครองและชุมชน จึงมีบทบาทสาคัญในการ ประสานงานกับชุมชนให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา โดยปฏิบัติได้ดังนี้ 2.1 เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ให้ชุมชนได้เข้าใจบทบาทของตนเองในการมี ส่วนร่วมจัดการศึกษา โดยร่วมดาเนินการด้วยวิธีต่างๆ เช่น ประชุมเชิงปฏิบัติการ ประชุมชี้แจง เผยแพร่ข่าวสารด้วยสื่อต่างๆ เป็นต้น 2.2 ส่งเสริมให้ชุมชน และผู้ปกครองเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน และเป็นคณะกรรมการต่างๆ ของโรงเรียน ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารและจัดการศึกษาได้อย่างไรบ้าง ในการจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน เพื่อรองรับการกระจายอานาจจะต้องให้ ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษามากขึ้น ทั้งด้านการบริหาร การส่งเสริมสนับสนุน การเรียนการสอน และการจัดการศึกษา รวมทั้งการเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจสอบติดตาม ผลการดาเนินงานของโรงเรียน ซึ่งมีวิธีที่ชุมชนสามารถมีส่วนร่วมได้ ดังนี้ 1. มีส่วนร่วมร่วมในการบริหารการศึกษา ผู้ปกครองและชุมชนสามารถมีส่วนร่วมในการบริหารการศึกษาได้ดังนี้ 1.1 กาหนดความต้องการในการจัดการศึกษาให้แก่โรงเรียน โดยมี ส่วนร่วมในการกาหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมายในการจัดการศึกษาและการจัดทาแผน พัฒนาโรงเรียน 1.2 ร่วมเป็นคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.3 ร่วมในการพัฒนาโรงเรียนในรูปแบบของคณะกรรมการ เช่น คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร คณะกรรมการสร้างความร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชน สมาคมครูและผู้ปกครองของโรงเรียน คณะกรรมการเครือข่ายผู้ปกครองของโรงเรียน เป็นต้น
  • 9. 9 2 . มีส่วนร่วมส่งเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน ชุมชนจะมีบทบาทสาคัญในการส่งเสริม สนับสนุนการเรียนรู้ให้แก่นักเรียน โดยทาได้ ดังนี้ 2.1 เป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับโรงเรียน ในรูปแบบของสถานที่ศึกษาดูงาน แหล่งฝึกงาน 2.2 เป็นวิทยากร หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยเข้าร่วมในการสอน หรือเป็น วิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียน 2.3 การให้ความช่วยเหลือทั้งด้านกาลังกาย กาลังสติปัญญา ทรัพยากรและ การช่วยเหลือด้านอื่นๆ และเป็นแหล่งเรียนรู้ของนักเรียน 2.4 การให้ความร่วมมือกับสถานศึกษาในการส่งเสริมการเรียนรู้ ของบุตร หลานตนเอง เช่น การสอนเสริม กวดขันดูแลความประพฤติ การอบรมสั่งสอน เป็นต้น 3. มีส่วนร่วมสนับสนุนการจัดการศึกษาของโรงเรียน ชุมชนสามารถสนับสนุนการจัดการศึกษา ได้ดังนี้ 3.1 การให้ทุนสนับสนุน เป็นการให้ หรือจัดหาเงินเพื่อสนับสนุนการจัด การศึกษา องค์กรหรือหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนสามารถจัดงบประมาณเพื่อช่วยสนับสนุน ก็สามารถทาได้ 3.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ของชุมชนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ โดยมี การสื่อสารข้อมูลระหว่างชุมชนในการแก้ไขปัญหาต่างๆ เพื่อให้เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ซึ่ง อาจจะมีการดาเนินงาน เวทีประชาคม หนังสือพิมพ์ท้องถิ่น รายการวิทยุ หอกระจายข่าว เป็นต้น 4. มีส่วนร่วมตรวจสอบและติดตามผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน การจัดการศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษา ได้มีการกาหนดให้ หน่วยงานส่วนกลางเป็นผู้กาหนดนโยบายและมาตรฐานการศึกษา โดยให้อิสระแก่สถานศึกษา ชุมชน ท้องถิ่นดาเนินการจัดการศึกษา และให้ท้องถิ่น และหน่วยงานด้านมาตรฐาน ทาหน้าที่ กากับ ตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา ดังนั้นชุมชนจึงมีบทบาทในการตรวจสอบและ ติดตามผลการจัดการศึกษาของโรงเรียน ดังนี้ 4.1 ร่วมเป็นคณะกรรมการตรวจสอบ 4.2 ร่วมติดตามความเคลื่อนไหวของสถานศึกษา 4.3 ร่วมวิพากษ์ วิจารณ์ ให้ความคิดเห็นในการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา
  • 10. 10 การบริหารจัดการศึกษาโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานให้ประสบความสาเร็จ ควรปฏิบัติตามปัจจัยและเงื่อนไขใดบ้าง 1. ปัจจัยที่ช่วยให้ประสบความสาเร็จ ในการนารูปแบบการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานไปใช้ในโรงเรียน ให้ประสบผลสาเร็จ ขึ้นอยู่กับปัจจัยสาคัญที่ต้องดาเนินการ ดังนี้ 1.1 ได้รับการถ่ายโอนอานาจอย่างแท้จริง หน่วยงานส่วนกลางต้องถ่ายโอน อานาจหน้าที่ และการบริหารและจัดการศึกษา ทั้ง 4 ด้าน คือ ด้านวิชาการ ด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ และด้านการบริหารทั่วไป ให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการ สถานศึกษาอย่างแท้จริง และผู้บริหารสถานศึกษาต้องใช้อานาจที่ได้รับร่วมกับครู ผู้ปกครอง และผู้แทนจากชุมชน 1.2 มีการกาหนดและมอบอานาจหน้าที่ ผู้บริหารจะต้องกาหนดอานาจหน้าที่ ความรับผิดชอบของบุคลากรในสถานศึกษาอย่างชัดเจน และมอบอานาจและหน้าที่แก่บุคลากร อย่างเหมาะสม ซึ่งอาจพิจารณาถึงภาระงาน บทบาท ความรับผิดชอบของบุคลากร 1.3 ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน ต้องรู้และเข้าใจวิสัยทัศน์ พันธกิจ ความรับผิดชอบ ของตนเอง 1.4 ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมทั้งผู้มีส่วนได้เสีย ในการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ควรได้รับการพัฒนาอย่างทั่วถึง และสม่าเสมอ 1.5 ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีลักษณะของผู้นาการเปลี่ยนแปลง 1.6 การบริหารงานควรดาเนินการในรูปขององค์คณะบุคคล 1.7 สถานศึกษาต้องมีระบบข้อมูลสารสนเทศที่ดี และนามาใช้ประโยชน์ ได้โดยสะดวก 1.8 สถานศึกษามีการวางแผนและดาเนินงานอย่างเป็นระบบ 1.9 มีการบริหารแบบมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียในการจัดการศึกษา ทั้งระดับเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 1.10 มีระบบการตัดสินใจดาเนินการ และวิธีการที่ต้องแจ้งผลการตัดสินใจ ให้กับบุคลากรทุกคนในโรงเรียน เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถดาเนินการได้ ซึ่งโรงเรียนต้อง พัฒนาระบบการตัดสินใจ การสื่อสารข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ 1.11 จัดให้มีระบบการนิเทศ ติดตาม กากับ ประเมินผล และรายงานต่อ หน่วยงานต้นสังกัดและชุมชน
  • 11. 11 2. เงื่อนไขสู่ความสาเร็จ ในการนาสถานศึกษาสู่ความสาเร็จ นอกจากดาเนินการให้ครบถ้วนตามปัจจัย ต่างๆ ที่กล่าวไว้ข้างต้นแล้ว ควรดาเนินการตามเงื่อนไขต่างๆ ที่สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาแห่งชาติกล่าวไว้ ดังนี้ 2.1 มีความเป็นอิสระ ในการทางานจะต้องมีอิสระที่จะคิด มีอิสระที่จะลองได้ 2.2 มีเวลายาวนานพอ การทางานใช้เวลาสั้นๆเพียงครึ่งปีหรือ 1 ปีคงไม่พอ จะต้องใช้เวลานาน เมื่อมีเวลานานจะเกิดความรู้ที่มีความหมายพัฒนาขึ้นได้ 2.3 ต้องทุ่มเท การทางานต้องทุ่มเทกับเรื่องที่ทาตลอดเวลา เมื่อทุ่มเทหรือ หมกมุ่นอยู่กับการทาเรื่องดีๆ ชีวิตจะมีค่า 2.4 กลุ่มต้องใหญ่พอ กลุ่มคนเป็นเรื่องที่สาคัญ การทางานถ้าทาไม่กี่คนคงไม่ เพียงพอ ควรทางานหลายคนเป็นกลุ่มใหญ่ เพราะจะช่วยให้ความคิด และประสบการณ์ มีความหลากหลาย และเกิดพลังที่จะสร้างสรรค์ 2.5 สร้างความรู้ เมื่อทางานแล้วถ้าพบความรู้ หรือข้อสรุปใดข้อสรุปหนึ่ง ควรนาไปตรวจสอบกับประสบการณ์ของผู้อื่นหรือกลุ่มอื่น จะทาให้เข้าใจลึกซึ้ง และ เชื่อมโยงกัน ทาให้เกิดองค์ความรู้ใหม่เพิ่มขึ้น (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ.2545 : 30-31) บทสรุป การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานที่กล่าวไว้ สรุปได้ว่า สิ่งสาคัญคือ เป็นการบริหารจัดการโดยมีเป้าหมาที่ผู้เรียน ลดขั้นตอนการควบคุมและสั่งการเพื่อเพิ่มผลงาน ที่แท้จริง และเพิ่มประสิทธิภาพ กล่าวคือใช้ทรัพยากรน้อยแต่ได้ผลงานมาก มองการมีส่วนร่วม ของโรงเรียนในมุมกว้าง คือมีส่วนร่วมทั้งครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จากการจัดการศึกษา นอกจากนี้เป็นการบริหารที่เปิดโอกาสให้โรงเรียนมีความเป็นอิสระ ในการคิด การวางแผน ทดลองสร้างสรรค์ และสร้างนวัตกรรมในงานที่ทา พร้อมทั้งมีการ ตรวจสอบและประเมินผลควบคู่กันไป ความเป็นอิสระในการทางานที่กล่าวไว้ เป็นอิสระที่มีกติกา มีเงื่อนไข หรือข้อตกลง ไม่ใช่อิสระเสรีแบบไม่มีขีดจากัด และที่สาคัญคือ มีเป้ าหมาย หรือปณิธานที่ชัดเจน มีหลักการ ทางานที่ให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกันทางาน มีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น ใช้ความคิดริเริ่ม และตัดสินใจในงานที่เขารับผิดชอบ ไม่ควบคุมสั่งการ แต่ต้องมีการตรวจสอบ
  • 12. 12 จากภายนอก นอกจากนี้ควรมีการสร้างเครือข่าย หรือทีมงาน มีการเชื่อมโยง ดึงดูดสิ่งดีๆ จากบุคคลและองค์กรต่างๆเข้ามาสร้างความเจริญให้แก่โรงเรียน ในลักษณะการทางานแบบ เครือข่าย เมื่อมีการดาเนินงานตามที่กล่าวไว้อย่างต่อเนื่อง จริงจัง ผลผลิตที่ได้คือ การบริหาร จัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานจะดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความพร้อมสูงในการ รองรับการกระจายอานาจจากส่วนราชการ เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ นักเรียนที่จบไป แต่ละรุ่นจะมีคุณภาพ ครูในโรงเรียนที่ร่วมในกระบวนการทางาน จะเก่งและงอกงามขึ้น มีปัญญามากขึ้น เป็นคนดีมากขึ้น และจะได้สร้างนวัตกรรมที่เป็นเทคนิค วิธีการ หรือ กระบวนการทางานใหม่ๆ มาใช้ในการทางานเพื่อพัฒนาให้เด็กรุ่นต่อๆไป เติบโตขึ้นอย่างมี คุณภาพ อย่างต่อเนื่อง ไม่สิ้นสุด เอกสารอ้างอิง คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน .(2548) การบริหารแบบยึดโรงเรียนเป็นฐาน. กรุงเทพฯ : โครงการหนึ่งอาเภอ หนึ่งโรงเรียนในฝัน. คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ,สานักงาน .(2545) การสร้างศาสตร์ SBM บนแผ่นดินแม่. กรุงเทพฯ : ห้างหันส่วนจากัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น. ศึกษาธิการ,กระทรวง .(2550) กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจ การบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 . กรุงเทพฯ : สานักนิติการ. ศึกษาธิการ,กระทรวง . (2542) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.