SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
อารยธรรมอิน เดีย
อิน เดีย สมัย โบราณ
      อารยธรรมลุ่ม แม่น ำ้า สิน ธุ เริ่ม ประมาณ 2,500 B.C.
- 1,500 B.C. โดยชาวดราวิเดียน ต่อมา 1,500 B.C. –
คริสต์ศักราชที่ 6 เป็นอารยธรรมที่ชาวอารยันสร้างขึ้น จนกลาย
เป็นแบบแผนของอินเดียต่อมา
                 แผนที่ อารยธรรมลุ่มแม่นำ้าสินธุ




       อนุทวีปอินเดียมีเทือกเขาฮินดูกูชอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือ
และเทือกเขาหิมาลัยอยู่ทางทิศเหนือ ทางตะวันตกและออก ตอน
ใต้ ติดทะเล ทำาให้อินเดียโบราณติดต่อกับภายนอกได้ยาก ทางที่
จะเข้าสู่อินเดียได้คือทางช่องเขาตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นทางที่
พ่อค้า และผู้รุกรานจากเอเชียกลางเข้าสู่อนุทวีป
       อารยธรรมลุ่มนำ้าสินธุ ถูกสร้างขึ้นโดยชาวดราวิเดียน (มิ
ลักขะหรือ ทมิฬ) ชนพื้นเมืองเดิมของอินเดียผิวดำา ร่างเล็ก จมูก
แบนพูดภาษาตระกูลดราวิเดียน (ทมิฬ ) มีการค้นพบหลักฐาน
เมื่อค.ศ. 1856 เมื่อมีการก่อสร้างทางรถไฟบริเวณลุ่มนำ้าสินธุ
ค้นพบซากสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ค.ศ.1920 ปรากฏเป็นรูป
เมือง บริเวณเมือง ฮารัปปา(Harappa) และเมืองโมเฮนโจ ดา
โร(Mohenjo Daro) อายุประมาณ 2500 ปีก่อนค.ศ.
หลักฐานที่ค้นพบจัดเป็นอารยธรรมยุคโลหะมีสังคมเมือง ป้อม
ปราการขนาดใหญ่ มีสระอาบนำ้าสาธารณะนักโบราณคดีสันนิฐาน
ว่าอาจเป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มีการวางผังเมือง
ตัดถนน มีกำาแพงอิฐ บ้านเรือนสร้างด้วยอิฐ มีระบบระบายนำ้าสอง
ท่อดินเผาอยู่ข้างถนน เพื่อรับนำ้าที่ระบายจากบ้าน มีอักษรภาพ
ใช้     พบโบราณวัตถุรูปแกะสลักหินชายมีเครามีแถบผ้าคาดมี
ตราประทับตรงหน้าผาก รูปสำาริดหญิงสาว รูปแกะสลักบนหินเนื้อ
อ่อน เครื่องประดับ สร้อยทองคำา สร้อยลูกปัด      มีการเพาะปลูก
พืชเกษตรเช่นฝ้าย ข้าวสาลี ถั่ง งา ข้าวโพด พบหลักฐานการ
ค้ากับต่างแดนทั้งทางบกและทางทะเล เช่นเปอร์เชีย แอฟกานิ
สถาน เมโสโปเตเมีย ธิเบต โดยพบโบราณวัตถุหอยสังข์จาก
อินเดีย หินสี เงิน อัญมณีจากเปอร์เชีย แอฟกานิสถาน หยกจาก
ธิเบต      และมีการขุดค้นพบอารยธรรมนี้กว่า 100 แห่งบริเวณ
แม่นำ้าสินธุ ส่วนใหญ่อยู่ในปากีสถาน
ต่อมาชาวอินโด-อารยัน ผิวขาว ร่างสูง จมูกโด่งพูดภาษา
ตระกูลอินโด- ยูโรเปียน(ภาษาสันสกฤต) อพยพมาจากแถบ
ทะเลสาบแคสเปียน บุกรุกเข้ามาทางเทือกเขาฮินดูกูช มายังลุ่มนำ้า
สินธุขยายความเจริญมาทางลุ่มแม่นำ้าคงคา ชาวดราวิเดียแพ้
สงครามต้องเคลื่อนย้ายลงไปทางใต้ สู่ภาคกลางและภาคใต้ของ
อินเดีย ต่อมาถูกชาวมุสลิมเตอร์กรุกรานทำาให้ศาสนาอิสลามเข้า
มาเผยแพร่ในอินเดีย
      อิน เดีย สมัย โบราณแบ่ง เป็น 5 สมัย
   1. สมัย อิน โด - อารยัน รุก ราน (2,500- 2,000 B.C.)
เป็นสมัยที่มีการรุกรานระยะแรกและเกิดการสู้รบระหว่างชาวดราวิ
ดียนและอารยันมีการขยายตัวไปทางตะวันออก
   2. สมัย พระเวท (2,000 -1,000 B.C.)สมัยที่อารยันได้รับ
ชัยชนะ มีการตั้งถิ่นฐานและสถาปนาเป็นอาณาจักรเล็กๆ มีราชา
เป็นผู้นำาทางการปกครอง พวกมิลักขะหรือดราวิเดียนถอยลงไปอยู่
ทางตอนใต้ อารยันรับเอาขนบธรรมเนียมประเพณีของดราวิเดีย
นมาใช้ ต่อมาพวกอารยันได้กำาเนิดระบบวรรณะขึ้น               เพื่อ
แบ่งแยกและรักษาความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติ มีคัมภีร์พระเวท
เป็นคัมภีร์ทางศาสนาและวิถีชีวิต วัฒนธรรมของอารยัน
   3. สมัย มหากาพย์(1,000 – 500 B.C.) เกิดอาณาจักรใหม่
บริเวณลุ่มนำ้าคงคามีลักษณะเป็นนครรัฐอิสระ “ ราชา” เป็นผู้
ปกครอง แบบราชาธิปไตย (monarchy) มีฐานะเป็นสมมุติเทพ
เช่น อาณาจักรมคธ วัชชั อวันตี วิเทหะ ฯลฯ มีการแบ่งวรรณะ
ชัดเจน 4 วรรณะ พราหมณ์ กษัตริย์(นักรบ) แพศย์ ศูทร(ทาส)
มีการติดต่อค้าขายทางเรือ กับอาณาจักรเมโสโปเตเมีย อียิปต์
อาราเบีย สมัยนี้จะมีวรรณกรรมที่สำาคัญ คือ มหากาพย์มหา
ภารตยุทธ เป็นสงครามกลางเมืองที่ทุ่งกุรุเกษตรระหว่างตระกูล
ปาณฑพและเการพต้นตระกูลเป็นเชื้อสาย อินโด-อารยัน มีการ
สอดแทรกบทบาทหน้าที่ของคนที่อยู่ในสังคม ดังปรากฎใน “ภควั
ทตีคา” สอนในคนทำาหน้าที่ของตนในสังคมให้ครบถ้วย และ
มหากาพย์รามายณะ ที่สะท้อนให้เห็นถึงการแบ่งชั้นวรรณะ การ
ขยายอาณาเขตของอารยันไปทางตอนใต้ทำาสงคราม ปราบชาว
ดราวิเดียน
   4. สมัย จัก รวรรดิ ( 321 B.C. – 220 A.D.)                ช่วง
6 B.C. มีอาณาจักรทางเหนือที่เข้มแข็ง 2 อาณาจักรคือ มคธ
นำาโดย (พระเจ้าพิมพิสาร) และแค้วนโกศล ทีขยายอำานาจ
                                               ่
ปกครองดินแดนตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย ต่อมาถูกเปอร์
เชียรุกราน ต้นศตวรรษที่ 3 ก่อนค.ศ. พระเจ้าอเล็กซานเดอร์
มหาราชแห่งมาซิโดเนีย (กรีก) ยกทัพมารุกรานครองตอนเหนือ
ของอินเดีย ทำาให้อินเดียได้รับอิทธิพลการเขียนอักษรแบบ
อารบิคจากเปอร์เชีย (ต่อมาพัฒนาเป็นอักษร ขโรษติ โดยพระเจ้า
อโศกมหาราชใช้เขียนจารึก) การทำาเหรียญเงิน
       ช่วง 4 B.C. เกิดจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่คือ โมริยะ หรือเมา
รยะ ยึดแค้วนมคธ แล้วขยายอาณาจักรไปทางตะวันตกฉียงเหนือ
ตะวันตก ภาคเหนือ ใต้ มีการติดต่อค้าขายกับเอเชียไมเนอร์ กรีก
เมโสโปเตเมีย มีกษัตริย์องค์แรกคือพระเจ้าจันทรคุปต์ กษัตริย์ที่
มีชื่อเสียงคือพระเจ้าอโศกมหาราช( 273-236 B.C.) มีอำานาจ
หลักการปกครองที่สำาคัญใช้จากคัมภีร์อรรถศาสตร์ (เกาฏิลยะ)
แสดงให้เห็นว่ากษัตริย์ทรงมีอำานาจสูงสุด ในการบริหารราชการ
ตรากฏหมาย การศาล การทหาร               สมัยนี้มีการสร้างถนนเชื่อม
ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ กับกรุงปาฏลีบุตร ทำาสำามะโนประชากร
ต่อมาพระเจ้าอโศกมหาราชได้หันมานับถือศาสนาพุทธ ทรงให้มี
การจารึกบนเสาหินที่ตั้งอยู่ตามดินแดนต่างๆเป็นหลักของศีลธรรม
ที่สอดคล้องกับทุกศาสนา (เรียก หัวเสาสมัยพระเจ้าอโศก
มหาราช)




                หัว เสาในสมัย พระเจ้า อโศกมหาราช
        ราชวงศ์โมริยะได้สิ้นสุดลงราว 186 ปีก่อน ต่อมา ค.ศ. ที่
1 พวกกุษาณะผู้เร่ร่อนปกครองตอนเหนืออินเดียมีกษัตริย์ที่สำาคัญ
คือ พระเจ้ากนิษกะปกครองดินแดนที่เรียกว่าแคว้นคันธาระ ทรง
นับถือพุทธให้กำาเนิดนิกายมหายาน โปรดให้จารึกคำาสอนของ
พระพุทธองค์ลงบน แผ่นทองแดง
5. สมัย คุป ตะ (320-550 A.D.) ถือว่าเป็นยุคทองของฮินดู
ทางตอนเหนือ ต้นคริสต์ ศตวรรษทที่ 4 พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 1
ตั้งราชวงศ์คุปตะที่เมืองปัตลีบุตร โอรสของพระองค์ ชื่อ พระเจ้า
สมุทรคุปต์ ทรงขยายดินแดนออกไปกว้างไกล ทรงทำาเหรียญทอง
สลักเรื่องราวเกี่ยวกับพระองค์ แล้วนำาไปไว้ที่เสาหินของพระเจ้า
อโศก ราชวงศ์คุปตะรุ่งเรืองมากในสมัยของพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่
2 (ค.ศ.376-415) เพราะนอกจากจะชนะพวกสากะแล้ว ทรงรวม
ดินแดนตะวันออกและทางเหนือไว้ในอำานาจ ทรงสนับสนุนศิลปะ
วิทยาศาสตร์ วรรณคดี กวีที่มีชื่อเสียงในสมัยนี้ คือ กลิท ัษ
      การปกครองสมัยคุปตะเป็นแบบกระจายอำานาจไปตามท้อง
ถิ่น การค้าเจริญขึ้นมาก มีการค้าขายมากขึ้นกับเอเซียตะวันออก
เฉียงใต้ หมู่เกาะอินโดนีเซีย มาเลเซีย กัมพูชา และประเทศไทย
พ่อค้าที่รำ่ารวยนิยมบริจาคเงินเพื่อสร้างงานสำาคัญทางศาสนา เช่น
สถูปที่สัญจี อมาราวาตี ฯลฯ วัดพุทธกลายเป็นเจ้าของที่ดิน
มากมาย ภาษาสันสกฤตกลายเป็นภาษาของผู้รู้หนังสือและเป็น
ภาษาที่ใช้ในราชการ มีหนังสือกามสูตรเกิดขึ้น เป็นหนังสือที่ชี้ถึง
ความสำาคัญของชีวิตคู่และเพศสัมพันธ์
ที่มา :คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป. มรดก
อารยธรรมโลก. พิมพ์ครั้งที่ 2,กรุงเทพมหานคร :
                                  สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2545.
              คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัยโบราณ-
สมัยกลาง.พิมพ์ครั้งทที่ 7,กรุงเทพมหานคร:
                                  สำานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2540.

Contenu connexe

Tendances

1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1Ning Rommanee
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาsangworn
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณyeanpean
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 

Tendances (17)

1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
Korea
KoreaKorea
Korea
 
357
357357
357
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
81311
8131181311
81311
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
001 persian
001 persian001 persian
001 persian
 
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
วิชาการท่องเที่ยว(ต่างประเทศ)
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณ
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 

En vedette

Polycom whitepaper: La collaborazione e la Unified Communication
Polycom whitepaper: La collaborazione e la Unified CommunicationPolycom whitepaper: La collaborazione e la Unified Communication
Polycom whitepaper: La collaborazione e la Unified CommunicationTeam Sistemi
 
Cyberoam: il futuro della network security!
Cyberoam: il futuro della network security!Cyberoam: il futuro della network security!
Cyberoam: il futuro della network security!Team Sistemi
 
Le novità 2012 di Estos Procall
Le novità 2012 di Estos ProcallLe novità 2012 di Estos Procall
Le novità 2012 di Estos ProcallTeam Sistemi
 
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียนนำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียนครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
รายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษา
รายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษารายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษา
รายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษาครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
ESTOS Procall enterprise_4_201103_it
ESTOS Procall enterprise_4_201103_itESTOS Procall enterprise_4_201103_it
ESTOS Procall enterprise_4_201103_itTeam Sistemi
 

En vedette (20)

Super cycle
Super cycleSuper cycle
Super cycle
 
Greek roman
Greek romanGreek roman
Greek roman
 
คำอธิบายรายวิชา ส.32102
คำอธิบายรายวิชา ส.32102คำอธิบายรายวิชา ส.32102
คำอธิบายรายวิชา ส.32102
 
Polycom whitepaper: La collaborazione e la Unified Communication
Polycom whitepaper: La collaborazione e la Unified CommunicationPolycom whitepaper: La collaborazione e la Unified Communication
Polycom whitepaper: La collaborazione e la Unified Communication
 
Cyberoam: il futuro della network security!
Cyberoam: il futuro della network security!Cyberoam: il futuro della network security!
Cyberoam: il futuro della network security!
 
02
0202
02
 
Le novità 2012 di Estos Procall
Le novità 2012 di Estos ProcallLe novità 2012 di Estos Procall
Le novità 2012 di Estos Procall
 
Study Skills
Study SkillsStudy Skills
Study Skills
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียนนำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
นำเสนอการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ชั้นเรียน
 
Presentation Skills
Presentation SkillsPresentation Skills
Presentation Skills
 
กลางภาค ม.6
กลางภาค ม.6กลางภาค ม.6
กลางภาค ม.6
 
Mesopotamia
MesopotamiaMesopotamia
Mesopotamia
 
Indus1
Indus1Indus1
Indus1
 
คำอธิบายรายวิชา ส.31101
คำอธิบายรายวิชา ส.31101คำอธิบายรายวิชา ส.31101
คำอธิบายรายวิชา ส.31101
 
รายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษา
รายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษารายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษา
รายชื่อนักเรียนแข่งขันทักษะวิชาการ กลุ่มสาระสังคมศึกษา
 
ESTOS Procall enterprise_4_201103_it
ESTOS Procall enterprise_4_201103_itESTOS Procall enterprise_4_201103_it
ESTOS Procall enterprise_4_201103_it
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 

Similaire à อารยธรรมอินเดีย

เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1Noo Suthina
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพรAniwat Suyata
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียsangworn
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดีย
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดียการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดีย
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดียMint Thailand
 

Similaire à อารยธรรมอินเดีย (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1 การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.1
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1
 
004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร004 ancient indian พัชรพร
004 ancient indian พัชรพร
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 
Art
ArtArt
Art
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดีย
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดียการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดีย
การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ประเทศอินเดีย
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 

Plus de ครูต๋อง ฉึก ฉึก

กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 

Plus de ครูต๋อง ฉึก ฉึก (13)

กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
กราฟผลการเรียนวิชาประวติศาสตร์
 
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
ยุคกลาง
ยุคกลางยุคกลาง
ยุคกลาง
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5ประวัติศาสตร์ ม.5
ประวัติศาสตร์ ม.5
 
กลางภาค ม.5
กลางภาค ม.5กลางภาค ม.5
กลางภาค ม.5
 
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101คำอธิบายรายวิชา ส.32101
คำอธิบายรายวิชา ส.32101
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
ข้อสอบ O-NET สังคมศึกษา ม.6 ปี 54
 
ต้อนรับ
ต้อนรับต้อนรับ
ต้อนรับ
 
แผนที่อารยธรรมโบราณ1
แผนที่อารยธรรมโบราณ1แผนที่อารยธรรมโบราณ1
แผนที่อารยธรรมโบราณ1
 
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
โครงการโรงเรียน และนักเรียน ดีเด่น ด้านคุณธรรม จริยธรรม ปี ๕๕
 

อารยธรรมอินเดีย

  • 1. อารยธรรมอิน เดีย อิน เดีย สมัย โบราณ อารยธรรมลุ่ม แม่น ำ้า สิน ธุ เริ่ม ประมาณ 2,500 B.C. - 1,500 B.C. โดยชาวดราวิเดียน ต่อมา 1,500 B.C. – คริสต์ศักราชที่ 6 เป็นอารยธรรมที่ชาวอารยันสร้างขึ้น จนกลาย เป็นแบบแผนของอินเดียต่อมา แผนที่ อารยธรรมลุ่มแม่นำ้าสินธุ อนุทวีปอินเดียมีเทือกเขาฮินดูกูชอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือ และเทือกเขาหิมาลัยอยู่ทางทิศเหนือ ทางตะวันตกและออก ตอน ใต้ ติดทะเล ทำาให้อินเดียโบราณติดต่อกับภายนอกได้ยาก ทางที่ จะเข้าสู่อินเดียได้คือทางช่องเขาตะวันตกเฉียงเหนือ เป็นทางที่ พ่อค้า และผู้รุกรานจากเอเชียกลางเข้าสู่อนุทวีป อารยธรรมลุ่มนำ้าสินธุ ถูกสร้างขึ้นโดยชาวดราวิเดียน (มิ ลักขะหรือ ทมิฬ) ชนพื้นเมืองเดิมของอินเดียผิวดำา ร่างเล็ก จมูก แบนพูดภาษาตระกูลดราวิเดียน (ทมิฬ ) มีการค้นพบหลักฐาน เมื่อค.ศ. 1856 เมื่อมีการก่อสร้างทางรถไฟบริเวณลุ่มนำ้าสินธุ ค้นพบซากสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ ค.ศ.1920 ปรากฏเป็นรูป เมือง บริเวณเมือง ฮารัปปา(Harappa) และเมืองโมเฮนโจ ดา
  • 2. โร(Mohenjo Daro) อายุประมาณ 2500 ปีก่อนค.ศ. หลักฐานที่ค้นพบจัดเป็นอารยธรรมยุคโลหะมีสังคมเมือง ป้อม ปราการขนาดใหญ่ มีสระอาบนำ้าสาธารณะนักโบราณคดีสันนิฐาน ว่าอาจเป็นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มีการวางผังเมือง ตัดถนน มีกำาแพงอิฐ บ้านเรือนสร้างด้วยอิฐ มีระบบระบายนำ้าสอง ท่อดินเผาอยู่ข้างถนน เพื่อรับนำ้าที่ระบายจากบ้าน มีอักษรภาพ ใช้ พบโบราณวัตถุรูปแกะสลักหินชายมีเครามีแถบผ้าคาดมี ตราประทับตรงหน้าผาก รูปสำาริดหญิงสาว รูปแกะสลักบนหินเนื้อ อ่อน เครื่องประดับ สร้อยทองคำา สร้อยลูกปัด มีการเพาะปลูก พืชเกษตรเช่นฝ้าย ข้าวสาลี ถั่ง งา ข้าวโพด พบหลักฐานการ ค้ากับต่างแดนทั้งทางบกและทางทะเล เช่นเปอร์เชีย แอฟกานิ สถาน เมโสโปเตเมีย ธิเบต โดยพบโบราณวัตถุหอยสังข์จาก อินเดีย หินสี เงิน อัญมณีจากเปอร์เชีย แอฟกานิสถาน หยกจาก ธิเบต และมีการขุดค้นพบอารยธรรมนี้กว่า 100 แห่งบริเวณ แม่นำ้าสินธุ ส่วนใหญ่อยู่ในปากีสถาน
  • 3. ต่อมาชาวอินโด-อารยัน ผิวขาว ร่างสูง จมูกโด่งพูดภาษา ตระกูลอินโด- ยูโรเปียน(ภาษาสันสกฤต) อพยพมาจากแถบ ทะเลสาบแคสเปียน บุกรุกเข้ามาทางเทือกเขาฮินดูกูช มายังลุ่มนำ้า สินธุขยายความเจริญมาทางลุ่มแม่นำ้าคงคา ชาวดราวิเดียแพ้ สงครามต้องเคลื่อนย้ายลงไปทางใต้ สู่ภาคกลางและภาคใต้ของ อินเดีย ต่อมาถูกชาวมุสลิมเตอร์กรุกรานทำาให้ศาสนาอิสลามเข้า มาเผยแพร่ในอินเดีย อิน เดีย สมัย โบราณแบ่ง เป็น 5 สมัย 1. สมัย อิน โด - อารยัน รุก ราน (2,500- 2,000 B.C.) เป็นสมัยที่มีการรุกรานระยะแรกและเกิดการสู้รบระหว่างชาวดราวิ ดียนและอารยันมีการขยายตัวไปทางตะวันออก 2. สมัย พระเวท (2,000 -1,000 B.C.)สมัยที่อารยันได้รับ ชัยชนะ มีการตั้งถิ่นฐานและสถาปนาเป็นอาณาจักรเล็กๆ มีราชา
  • 4. เป็นผู้นำาทางการปกครอง พวกมิลักขะหรือดราวิเดียนถอยลงไปอยู่ ทางตอนใต้ อารยันรับเอาขนบธรรมเนียมประเพณีของดราวิเดีย นมาใช้ ต่อมาพวกอารยันได้กำาเนิดระบบวรรณะขึ้น เพื่อ แบ่งแยกและรักษาความบริสุทธิ์ทางเชื้อชาติ มีคัมภีร์พระเวท เป็นคัมภีร์ทางศาสนาและวิถีชีวิต วัฒนธรรมของอารยัน 3. สมัย มหากาพย์(1,000 – 500 B.C.) เกิดอาณาจักรใหม่ บริเวณลุ่มนำ้าคงคามีลักษณะเป็นนครรัฐอิสระ “ ราชา” เป็นผู้ ปกครอง แบบราชาธิปไตย (monarchy) มีฐานะเป็นสมมุติเทพ เช่น อาณาจักรมคธ วัชชั อวันตี วิเทหะ ฯลฯ มีการแบ่งวรรณะ ชัดเจน 4 วรรณะ พราหมณ์ กษัตริย์(นักรบ) แพศย์ ศูทร(ทาส) มีการติดต่อค้าขายทางเรือ กับอาณาจักรเมโสโปเตเมีย อียิปต์ อาราเบีย สมัยนี้จะมีวรรณกรรมที่สำาคัญ คือ มหากาพย์มหา ภารตยุทธ เป็นสงครามกลางเมืองที่ทุ่งกุรุเกษตรระหว่างตระกูล ปาณฑพและเการพต้นตระกูลเป็นเชื้อสาย อินโด-อารยัน มีการ สอดแทรกบทบาทหน้าที่ของคนที่อยู่ในสังคม ดังปรากฎใน “ภควั ทตีคา” สอนในคนทำาหน้าที่ของตนในสังคมให้ครบถ้วย และ มหากาพย์รามายณะ ที่สะท้อนให้เห็นถึงการแบ่งชั้นวรรณะ การ ขยายอาณาเขตของอารยันไปทางตอนใต้ทำาสงคราม ปราบชาว ดราวิเดียน 4. สมัย จัก รวรรดิ ( 321 B.C. – 220 A.D.) ช่วง 6 B.C. มีอาณาจักรทางเหนือที่เข้มแข็ง 2 อาณาจักรคือ มคธ นำาโดย (พระเจ้าพิมพิสาร) และแค้วนโกศล ทีขยายอำานาจ ่ ปกครองดินแดนตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย ต่อมาถูกเปอร์ เชียรุกราน ต้นศตวรรษที่ 3 ก่อนค.ศ. พระเจ้าอเล็กซานเดอร์ มหาราชแห่งมาซิโดเนีย (กรีก) ยกทัพมารุกรานครองตอนเหนือ ของอินเดีย ทำาให้อินเดียได้รับอิทธิพลการเขียนอักษรแบบ อารบิคจากเปอร์เชีย (ต่อมาพัฒนาเป็นอักษร ขโรษติ โดยพระเจ้า อโศกมหาราชใช้เขียนจารึก) การทำาเหรียญเงิน ช่วง 4 B.C. เกิดจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่คือ โมริยะ หรือเมา รยะ ยึดแค้วนมคธ แล้วขยายอาณาจักรไปทางตะวันตกฉียงเหนือ ตะวันตก ภาคเหนือ ใต้ มีการติดต่อค้าขายกับเอเชียไมเนอร์ กรีก เมโสโปเตเมีย มีกษัตริย์องค์แรกคือพระเจ้าจันทรคุปต์ กษัตริย์ที่ มีชื่อเสียงคือพระเจ้าอโศกมหาราช( 273-236 B.C.) มีอำานาจ หลักการปกครองที่สำาคัญใช้จากคัมภีร์อรรถศาสตร์ (เกาฏิลยะ) แสดงให้เห็นว่ากษัตริย์ทรงมีอำานาจสูงสุด ในการบริหารราชการ ตรากฏหมาย การศาล การทหาร สมัยนี้มีการสร้างถนนเชื่อม ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ กับกรุงปาฏลีบุตร ทำาสำามะโนประชากร
  • 5. ต่อมาพระเจ้าอโศกมหาราชได้หันมานับถือศาสนาพุทธ ทรงให้มี การจารึกบนเสาหินที่ตั้งอยู่ตามดินแดนต่างๆเป็นหลักของศีลธรรม ที่สอดคล้องกับทุกศาสนา (เรียก หัวเสาสมัยพระเจ้าอโศก มหาราช) หัว เสาในสมัย พระเจ้า อโศกมหาราช ราชวงศ์โมริยะได้สิ้นสุดลงราว 186 ปีก่อน ต่อมา ค.ศ. ที่ 1 พวกกุษาณะผู้เร่ร่อนปกครองตอนเหนืออินเดียมีกษัตริย์ที่สำาคัญ คือ พระเจ้ากนิษกะปกครองดินแดนที่เรียกว่าแคว้นคันธาระ ทรง นับถือพุทธให้กำาเนิดนิกายมหายาน โปรดให้จารึกคำาสอนของ พระพุทธองค์ลงบน แผ่นทองแดง 5. สมัย คุป ตะ (320-550 A.D.) ถือว่าเป็นยุคทองของฮินดู ทางตอนเหนือ ต้นคริสต์ ศตวรรษทที่ 4 พระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 1 ตั้งราชวงศ์คุปตะที่เมืองปัตลีบุตร โอรสของพระองค์ ชื่อ พระเจ้า สมุทรคุปต์ ทรงขยายดินแดนออกไปกว้างไกล ทรงทำาเหรียญทอง สลักเรื่องราวเกี่ยวกับพระองค์ แล้วนำาไปไว้ที่เสาหินของพระเจ้า อโศก ราชวงศ์คุปตะรุ่งเรืองมากในสมัยของพระเจ้าจันทรคุปต์ ที่ 2 (ค.ศ.376-415) เพราะนอกจากจะชนะพวกสากะแล้ว ทรงรวม ดินแดนตะวันออกและทางเหนือไว้ในอำานาจ ทรงสนับสนุนศิลปะ วิทยาศาสตร์ วรรณคดี กวีที่มีชื่อเสียงในสมัยนี้ คือ กลิท ัษ การปกครองสมัยคุปตะเป็นแบบกระจายอำานาจไปตามท้อง ถิ่น การค้าเจริญขึ้นมาก มีการค้าขายมากขึ้นกับเอเซียตะวันออก เฉียงใต้ หมู่เกาะอินโดนีเซีย มาเลเซีย กัมพูชา และประเทศไทย พ่อค้าที่รำ่ารวยนิยมบริจาคเงินเพื่อสร้างงานสำาคัญทางศาสนา เช่น สถูปที่สัญจี อมาราวาตี ฯลฯ วัดพุทธกลายเป็นเจ้าของที่ดิน มากมาย ภาษาสันสกฤตกลายเป็นภาษาของผู้รู้หนังสือและเป็น ภาษาที่ใช้ในราชการ มีหนังสือกามสูตรเกิดขึ้น เป็นหนังสือที่ชี้ถึง ความสำาคัญของชีวิตคู่และเพศสัมพันธ์
  • 6. ที่มา :คณะกรรมการบริหารวิชาบูรณาการ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป. มรดก อารยธรรมโลก. พิมพ์ครั้งที่ 2,กรุงเทพมหานคร : สำานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2545. คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อารยธรรมสมัยโบราณ- สมัยกลาง.พิมพ์ครั้งทที่ 7,กรุงเทพมหานคร: สำานักพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2540.