SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

                    เรื่อง

          ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
             (เนื้อหาตอนที่ 2)
              โดเมนและเรนจ์

                    โดย

        อาจารย์ ดร.รตินันท์ บุญเคลือบ


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                      สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
        สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน
ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
2. เนื้อหาตอนที่ 1 ความสัมพันธ์
                     - แผนภาพรวมเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
                     - ผลคูณคาร์ทีเซียน
                     - ความสัมพันธ์
                     - การวาดกราฟของความสัมพันธ์
3. เนื้อหาตอนที่ 2 โดเมนและเรนจ์
                     - โดเมนและเรนจ์
                     - การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ
                     - การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ
4. เนื้อหาตอนที่ 3 อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และบทนิยามของฟังก์ชัน
                     - อินเวอร์สของความสัมพันธ์
                     - บทนิยามของฟังก์ชัน
5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันเบื้องต้น
                     - ฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต B
                     - ฟังก์ชันทั่วถึง
                     - ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
6. เนื้อหาตอนที่ 5 พีชคณิตของฟังก์ชัน
                     - พีชคณิตของฟังก์ชัน
                     - ตัวอย่างประเภทของฟังก์ชันพื้นฐาน
7. เนื้อหาตอนที่ 6 อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
                     - อินเวอร์สของฟังก์ชันละฟังก์ชันอินเวอร์ส
                     - กราฟของฟังก์ชันอินเวอร์ส
8. เนื้อหาตอนที่ 7 ฟังก์ชันประกอบ
                     - ฟังก์ชันประกอบ
                     - โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ
                     - สมบัติของฟังก์ชันประกอบ
                                               1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)
12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
13. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง อินเวอร์สของความสัมพันธ์และฟังก์ชันอินเวอร์ส
14. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง โดเมนและเรนจ์
15. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่องพีชคณิตและการประกอบของฟังก์ชัน
16. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่องการเลื่อนแกน

           คณะผู้จัดท าหวังเป็ นอย่ างยิ่ งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรีย นการสอน
 สาหรับครู และนักเรียนทุ กโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกั บการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะ
 ผู้จัดท าได้ ดาเนินการไปแล้ว ท่ า นสามารถดูชื่อ เรื่อง และชื่อ ตอนได้จากรายชื่อสื่ อการสอนวิช า
 คณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้




                                                 2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง              ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
หมวด                เนื้อหา
ตอนที่              2 (2/7)

หัวข้อย่อย          1. โดเมนและเรนจ์
                    2. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ
                    3. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ

จุดประสงค์การเรียนรู้
    เพื่อให้ผู้เรียน
    1. เข้าใจบทนิยามของโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
    2. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบแจกแจงสมาชิกได้
    3. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดย
         การแก้สมการหรืออสมการได้
    4. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปกราฟได้
    5. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดย
         การใช้กราฟของความสัมพันธ์มาช่วยได้

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
   ผู้เรียนสามารถ
   1. บอกบทนิยามของโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ได้
   2. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบแจกแจงสมาชิกได้
   3. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดยการแก้
          สมการหรืออสมการได้
   4. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปกราฟได้
   5. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดยการอธิบาย
          ขั้นตอนการวาดกราฟและวาดกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้




                                                   3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                               เนื้อหาในสื่อ




                                      4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                       1. โดเมนและเรนจ์




                                      5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                          1. โดเมนและเรนจ์




       ในช่วงนี้ได้แนะนาให้นักเรียนรู้จักโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ รวมถึงให้ตระหนักว่าการเปลี่ยน
เงื่อนไขของความสัมพันธ์ระหว่างเซตสองเซตที่กาหนดให้มีผลต่อโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์




                                                      6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเช่น
ตัวอย่าง 1 กาหนดให้ A {1,            2} , B      {2, 3}   และ P(A) และ P (B ) เป็นพาวเวอร์เซตของ A และ B
ตามลาดับพิจารณา
     r     {(X ,Y )       P (A) P (B ) | X         Y}   และ s      {(X ,Y )      P (A) P (B ) | n(X     Y)      1}
จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ทั้งสองนี้

วิธีทา เนื่องจาก   r      {( , ), ( ,{2}), ( ,{3}), ( ,{2, 3}), ({2},{2}), ({2},{2, 3})}                     ทาให้ได้ว่า
Dr       { , {2}}      และ   Rr     { , {2}, {3}, {2, 3}}
ต่อมาเนื่องจาก
s     {({1}, ), ({1},{2}), ({1},{3}), ({2}, ), ({2},{3}), ({1, 2},{2}), ({1, 2}, {2, 3})}
ทาให้ได้ว่า Dr     {{1}, {2}, {1,2}} และ Rr             { , {2}, {3}, {2, 3}}




                                                             7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




 2. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ




                                      8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                            2. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ

       ในช่วงนี้ได้แนะนาการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไข โดย
ใช้การแก้สมการและอสมการ




         ครูควรทบทวนเรื่องการแก้สมการ อสมการ ตลอดจนสมบัติต่างๆ ของจานวนจริงให้นักเรียน เช่น สมบัติ
เกี่ยวกับรากที่สองที่เป็นบวกของจานวนจริง หรือสมบัติของค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง และพยายามเน้นย้าให้
นักเรียนเข้าใจว่าหากนักเรียนมีความรู้สึกว่าเรื่องการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์เป็นเรื่องยุ่งยาก อาจเป็น
เพราะพื้นฐานเรื่องจานวนจริงต่างๆ ที่นักเรียนควรรู้ไม่ดีพอ นอกจากนี้ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเช่น

ตัวอย่าง 2 สาหรับจานวนจริง a , b , c และ d ที่ทั้งสี่ตัวไม่เป็นศูนย์ จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
                  ax    b
r     (x, y ) y
                  cx    d


                                                        9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                                             d                              d
วิธีทา การหาโดเมน    cx     d        0   ดังนั้น   x             นั่นคือ   Dr
                                                             c                              c
     การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า                       cxy     dy    ax   b   นั่นคือ
                                                                                dy b                                            a
       x (cy    a)      cxy         ax       dy        b   ดังนั้น   x                 ทาให้ได้ว่า cy     a   0   นั่นคือ   y
                                                                               cy a                                             c
                                a
        และ    Rr
                                c


       ในช่วงนีได้ค่อยๆ สรุปผ่านตัวอย่างต่างๆ ให้นักเรียนเห็นว่าการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์จาก
               ้
สูตรระหว่าง x และ y ที่กาหนดให้นั้นจะมีขั้นตอนอย่างไร




                                                                 10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

            ในช่วงนี้ย้าเกี่ยวกับเงื่อนไขที่ต้องพิจารณาก่อนการเปลี่ยนแปลงสมการเพื่อนาไปสู่การหาโดเมนหรือเรนจ์




เมื่อถึงตอนนี้ครูอาจให้ตัวอย่างเพิ่มเติม

                                                           1
ตัวอย่าง 3 กาหนดให้          r       (x, y) y                       จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้
                                                       3       x


วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขที่กาหนดให้จะได้ว่า                        3   x    0    นั่นคือ   x       3   ดังนั้น   Dr    ( , 3)
                                                                                  1                                         1
       การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขที่กาหนดให้จะได้ว่า                        3   x          ดังนั้นต้องมีเงื่อนไขก่อนว่า              0   และ
                                                                                  y                                         y
                                                                   1
y     0     นั่นคือ   y     0    จากนั้นจะได้ว่า   x       3            ซึ่งมีเพียงเงื่อนไขว่า      y       0   ดังนั้นเมื่อรวมเงื่อนไขทั้งหมด
                                                                   y2
เกี่ยวกับ   y   จะได้ว่า    Rr      (0,   )



                                                                    11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                               4        x2
ตัวอย่าง 4 กาหนดให้                 r          (x, y ) y                         จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้
                                                               4        x2


                                                                                                (x    2)(x           2)       4       x2
วิ ธี ท า การหาโดเมน จากเงื่ อ นไขที่ ก าหนดให้ จ ะได้ ว่ า                                                                                     0   แต่ เ นื่ อ งจาก
                                                                                                     4 x2                     4       x2
4        x2        0   ทุกจานวนจริง             x    ทาให้ได้ว่า   (x        2)(x      2)       0    นั่นคือ        2     x       2   ดังนั้น   Dr        [ 2,2]
                                                                                                                                                4      x2
           การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขที่กาหนดให้ต้องมีเงื่อนไขก่อนว่า                               y        0       จากนั้นจะได้ว่า      y2                     นั่นคือ
                                                                                                                                                4      x2
                                                                                      4 4y 2                                           4 4y 2
4y   2        2 2
              xy            4       x   2
                                             ท า ใ ห้ ไ ด้ ว่ า          x   2
                                                                                                     นั่ น คื อ           x                              ดั ง นั้ น
                                                                                      1 y2                                             1 y2
     4(y     1)(y           1)              4 4y 2
                                                        0               เ นื่ อ ง จ า ก     1       y2       0    ทุ ก จ า น ว น จ ริ ง     y       ท า ใ ห้ ไ ด้ ว่ า
           1 y2                             1 y2
(y       1)(y          1)       0   นั่นคือ         1      y   1   ดังนั้นเมื่อรวมเงื่อนไขทั้งหมดเกี่ยวกับ                y   จะได้ว่า     Rr          [0,1]


         ในตอนนี้ย้าว่าบางครั้งอาจไม่จาเป็นต้องเขียน y เป็นพจน์ที่เกี่ยวข้องกับ x เพียงอย่างเดียวหรือ x เป็น
พจน์ที่เกี่ยวข้องกับ y เพียงอย่างเดียวในการหาโดเมนหรือเรนจ์ นักเรียนอาจเขียนเป็น | y | หรือ y n เป็นพจน์ที่
เกี่ยวข้องกับ x เพียงอย่างเดียวหรือ | x | หรือ x n เป็นพจน์ที่เกี่ยวข้องกับ y เพียงอย่างเดียวในการหาโดเมน
หรือเรนจ์ได้เช่นกัน




                                                                                 12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




เมื่อถึงตอนนี้ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม

                                                                     1
ตัวอย่าง 5 กาหนดให้                  r          (x , y ) y
                                                                     2
                                                                                     จงหาโดเมนและเรนจ์ของ                            r
                                                                 x           4


วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า                                          (x          2)(x            2)      x2      4     0    ดังนั้น
Dr      (        , 2) (2,                   )
                                                                                                                          1                                             1
       การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า                                                 x2       4                ดังนั้นต้องมีเงื่อนไขก่อนว่า                    0
                                                                                                                          y                                             y
                                                                                                 2                                                             2
                                                                                             1                                                             1
และ    y        0       นั่ น คื อ   y          0   จากนั้ น จะได้ ว่ า      x   2
                                                                                                          4    เพราะว่ า          x   2
                                                                                                                                          0   ดั ง นั้ น                   4   0
                                                                                             y                                                             y
                            2
                        1
อย่ า งไรก็ ดี                       4      0 ทุ ก จ านวนจริ ง y                     0    ดั ง นั้ น เมื่ อ รวมเงื่ อ นไขทั้ ง หมดเกี่ ย วกั บ                 y       จะได้ ว่ า
                        y
Rr      (0,         )


                                                                 x
ตัวอย่าง 6 กาหนดให้                  r          (x, y) y                         จงหาโดเมนและเรนจ์ของ                            r
                                                              |x | 1


วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า | x |                                                 1          0ดังนั้น Dr                    { 1, 1}
       การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า | x | y                                                  y       x นั่นคือ | x | y              x     y
                                                                                                                  y                                                    y
กรณี   x        0       จะได้ว่า         x (y       1) | x | y           x       y       นั่นคือ     x                        เนื่องจาก   x      0   ดังนั้น                    0
                                                                                                              y       1                                            y       1
จะได้ว่า    y       (           , 0] (1,            )


                                                                                     13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                                                                                                                 y
กรณี      x         0   จะได้ว่า           x( y                1) | x | y                 x        y    นั่นคือ        x                         เนื่องจาก       x       0        ดังนั้น
                                                                                                                                y 1
          y
                            0    จะได้ว่า          y           (        , 1)             (0,       )
     (y        1)
ดังนั้นจากทั้งสองกรณีนี้จะได้ว่า                                   Rr


ตัวอย่าง 7 กาหนดให้                        r           {(x , y ) | 4x 2              9y 2          8x        36y            4       0}   จงหาโดเมนและเรนจ์ของ                              r


วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า
0         4(x 2         2x )           9(y 2               4y )         4        4(x 2         2x           1)        9(y 2     4y           4)      4       4(1)            9(4)
                            2                          2
          4(x       1)               9(y           2)              36
นั่นคือ       9(y           2)   2
                                          36           4(x          1)2              4(x           4)(x          2)    เนื่องจาก        9(y        2)2           0   ทาให้ได้ว่า
(x        4)(x           นั่นคือ Dr [ 2, 4]
                            2)        0
           การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า
4(x           1)2           36        9(y           2)2             9(2          y       2)(2           y        2)           9y(y       4)       เนื่องจาก          4(x           1)2         0
ทาให้ได้ว่า y(y 4)                             0       นั่นคือ          Rr       [0, 4]
ตัวอย่าง 8 กาหนดให้ r                                  {(x , y ) | x                 x         y            y}    จงหาโดเมนและเรนจ์ของ                       r


วิธีทา จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า
                                                                                                                                              2                          2
                                                                                 1                               1                       1                           1
0         y         y            x             x           y            y                  x            x                       y                        x                       นั่นคือ
                                                                                 4                               4                       2                           2
               1                      1                        1                     1
     y                      x                      y                         x                 0       จะได้ว่า         y           x        0    หรือ       y               x        1        0
               2                      2                        2                     2
ซึ่งในกรณีหลังนี้ไม่มีจานวนจริง x และ y ใดๆ ที่สอดคล้องกับสมการดังกล่าว ดังนั้น                                                                                  y                x   จะได้ว่า
Dr            [0,       )        Rr




                                                                                                       14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                         แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                            เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ

จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1. r {(x, y) | y   x 1}
                                       1
2. r     (x, y ) | y |             2
                               x            4
3. r    {(x , y ) | y          x2            3}

                                   1
4. r     (x, y ) y
                               5        x2

5. r    {(x, y ) | y           5             5      2x }
6. r    {(x , y ) | x 2        6x           y2     14y       41   0}
7. r    {(x , y ) | y      x2              2 | x |}
                               x
8. r     (x, y ) y
                           1       x2
9. r    {(x , y ) | x 2y       x            3y 2        0}
10. r    {(x , y ) | y             (3           x )(2    x )}




                                                                       15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




 3. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ




                                     16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                            3. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ

         ในช่วงนี้ต้องการให้นักเรียนสามารถหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้ ทั้งนี้
ครูควรย้าว่าหากในกรณีที่จุดปลายของกราฟไม่ชัดเจนให้พิจารณาดังนี้ หากกราฟมีจุดทึบหรือจุดโปร่งที่จุดปลาย
ด้านใดด้านหนึ่งของกราฟ แสดงว่าไม่มีส่วนของกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาเลยจุดดังกล่าวไป ทั้งนี้จุด
ทึบ จะหมายถึง จุดนั้นอยู่ บ นกราฟของความสัมพั นธ์ด้วย ส่วนจุดโปร่งจะหมายถึงจุดนั้นไม่อยู่บนกราฟของ
ความสัมพันธ์ ในขณะที่กราฟที่จุดปลายไม่มีจุดทึบหรือจุดโปร่ง หรือบางครั้งอาจมีลูกศรที่จุดปลายแสดงว่ากราฟ
นั้นยังลากไปต่อได้ในแนวเดิมอย่างไม่มีที่สิ้นสุด




หมายเหตุ ในตัวอย่างที่เห็นนี้แม้ว่าจะไม่มีจุดทึบหรือจุดโปร่งที่จุดปลายของกราฟ แต่พอเข้าใจได้จากภาพว่าไม่มี
ส่วนของกราฟต่อไปจากจุดปลายทั้งสองนั้น
ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจของนักเรียนยิ่งขึ้น


                                                       17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตัวอย่าง 9 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์                  r        ที่มีกราฟดังรูป
                                                                  2




                                                                  1




                                   3         2         1                    1      2       3



                                                                  1




                                                                  2




วิธีทา จากกราฟจะได้ว่า   Dr    [ 3, 3]       และ       Rr         [ 2,2]


ตัวอย่าง 10 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์                  r       ที่มีกราฟดังรูป
                                                             15




                                                             10




                                                              5




                                       4           2                        2          4




วิธีทา จากกราฟจะได้ว่า   Dr    (           ,2]   และ    Rr            [0,   ]




                                                                  18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

       ต่อมาในกรณีที่ไม่ได้วาดกราฟของความสัมพันธ์มาให้ หากนักเรียนสามารถวาดกราฟของความสัมพันธ์
แบบต่างๆ ได้ก็สามารถหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟเหล่านั้นได้เช่นกัน




เมื่อถึงตอนนี้ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม

ตัวอย่าง 11 กาหนดให้     r     {(x, y) | y    |x     1 | 2}     จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์     r


วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้สามารถวาดเป็นกราฟได้ดังนี้




                                                         19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                                                         6



                                                         5



                                                         4



                                                         3



                                                         2



                                                         1




                                             2               0          2     4




ดังนั้น   Dr     และ   Rr     [2,    )


ตัวอย่าง 12 กาหนดให้   r     {(x , y ) | y           9   x2       และ   xy   0}       จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์   r


วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า x 2 y 2 9 โดยที่ y 0 และ xy 0 ซึ่งกราฟของความสัมพันธ์
x 2 y 2 R 2 จะเป็นรูปวงกลมรัศมี R และมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกาเนิด ดังนั้นความสัมพันธ์ r สามารถวาดเป็น
กราฟได้ดังนี้
                                                                  3.0

                                                                  2.5

                                                                  2.0

                                                                  1.5

                                                                  1.0

                                                                  0.5


                               4                 2                                2           4


จะได้ว่า   Dr   [ 3, 0] {3}    และ    Rr     [0, 3]




                                                                 20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        ในช่วงนี้อธิบายถึงการเลือกอาณาบริเวณสาหรับความสัมพันธ์ที่กาหนดเงื่อนไขมาในรูปอสมการ




        เมื่อมาถึงตอนนี้ครูอาจนาปัญหาชวนคิดที่เคยทิ้งไว้ในสื่อเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่ 1 มาให้
นักเรียนลองช่วยกันวาดกราฟและเลือกอาณาบริเวณกันอีกครั้ง หลังจากได้กราฟของความสัมพันธ์ดังกล่าวแล้วให้
นักเรียนหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟที่ได้

ชวนคิด (จากสื่อเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่ 1)
1. r {(x, y )            | x y 10}
2. r {(x, y)             || x | | y | 10}
นอกจากนี้ยังครูยังอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม




                                                        21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ตัวอย่าง 13 กาหนดให้ r        {(x, y) | x       | y |} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r


วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้สามารถวาดเป็นกราฟได้ดังนี้
                                                            Y




                                                                                    X




ดังนั้น Dr         และ Rr

ตัวอย่าง 14 กาหนดให้ r        {(x , y ) | y 2   1   x}    จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r

วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้สามารถวาดเป็นกราฟได้ดังนี้
                                                      Y




                                                                                    X
                                                                    1




ดังนั้น   Dr   (     ,1]   และ   Rr




                                                          22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

        ในตอนนี้ได้อธิบายถึงความสัมพันธ์ที่ประกอบด้วยเงื่อนไขมากกว่าหนึ่งเงื่อนไขและแต่ละเงื่อนไขเชื่อม
กันด้วย “และ” ทาให้สามารถแยกออกเป็นความสัมพันธ์ย่อยๆ ที่เชื่อมกันด้วยอินเตอร์เซกชันได้ ดังนั้นกราฟของ
ความสัมพันธ์ที่ต้องการจะมาจากกราฟของความสัมพันธ์ย่อยๆ เหล่านั้นอินเตอร์เซกชันกันนั่นเอง




          เมื่อมาถึงตอนนี้อาจย้าว่าไม่จาเป็นที่เงื่อนไขของความสัมพันธ์จะต้องอยู่ในรูปอสมการทั้งหมดจึงจะทา
เช่นนี้ได้ โดยครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้ประกอบ

ตัวอย่าง 15 กาหนดให้ r      {(x , y ) | y 2   1   x   และ y        1} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r




                                                       23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า r r1 r2 เมื่อ r1 {(x, y) | y 2 1 x } และ
r2 {(x, y) | y      1} ซึ่งเหมือนกับการวาดกราฟ r1 แล้วตัดเฉพาะท่อนที่กราฟอยู่เหนือเส้นตรง y                         1
โดยไม่รวมเส้นตรงดังกล่าว ทาให้ได้ว่ากราฟของ r คือ

                                                                           2




                                                                           1




                                         3             2         1              1       2



                                                                           1




                                                                           2




ดังนั้น Dr     (      ,1] และ Rr      ( 1,         )


ตัวอย่าง 16 กาหนดให้ r           {(x , y ) | x 2           y2    9   และ xy    0}   จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r

วิ ธี ท า จากความสั ม พั น ธ์ ที่ ก าหนดให้ จะได้ ว่ า r r1 r2 เมื่ อ r1 {(x, y) | x 2 y 2 9} และ
r2 {(x, y) | xy 0} เนื่ อ งจากจุ ด (x, y ) ในจตุ ภ าคที่ 1 และ 3 (ไม่ ร วมจุ ด บนแกน X และ แกนY )
สอดคล้องอสมการ xy 0 ดังนั้นกราฟของความสัมพันธ์ r คือกราฟของความสัมพันธ์ r1 ซึ่งเป็นวงกลมรัศมี
3 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกาเนิดแล้วตัดเฉพาะท่อนที่กราฟอยู่ในจตุภาคที่ 1 และ 3 เท่านั้น โดยไม่รวมจุด
ที่อยู่บนแกน X และ แกนY ทาให้ได้ว่ากราฟของ r คือ
                                                                      Y


                                                                       3



                                                            -3                                X
                                                                                    3


                                                                          -3


ดังนั้น   Dr       ( 3, 0) (0, 3)    และ     Rr            ( 3, 0) (0, 3)




                                                                     24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




            สาหรับตัวอย่างที่ยกไว้ในสื่อตอนนี้ยังไม่ได้หาจุดตัดของเส้นตรง y x 2 และเส้นโค้ง y x 2
ซึ่ ง จุ ด ตั ด ดั ง กล่ า วหาได้ จ ากการแก้ ร ะบบส มการทั้ ง ส องนี้ นั่ น คื อ จะได้ ว่ า x 2 x 2 ดั ง นั้ น
 0 x 2 x 2 (x 2)(x 1) ทาให้ x 2 หรือ 1 ซึ่งจะส่งผลให้ y 4 และ 1 ตามลาดับ จะ
ได้ว่าจุด (a, b) ในตัวอย่างดังกล่าวคือจุด ( 1,1) และจุด (c, d ) ในตัวอย่างดังกล่าวคือ (2, 4) ทาให้ได้ว่า
สาหรับตัวอย่างนี้ Dr ( 1,2) และ Rr (0, 4) นั่นเอง
เมื่อมาถึงตอนนี้ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม

ตัวอย่าง 17 กาหนดให้ r             {(x , y ) | x 2        y2    9   และ y            x 2}   จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r

วิ ธี ท า จาก ความสั ม พั น ธ์ ที่ ก าหนดให้ จะได้ ว่ า r r1 r2 เมื่ อ r1 {(x, y) | x 2 y 2 9} แล ะ
r2 {(x, y ) | y x 2 } เนื่องจากจุด (0, 0) สอดคล้องอสมการ x 2 y 2 9 ดังนั้นกราฟของความสัมพันธ์
r1 คืออาณาบริเวณภายในวงกลมรัศ มี 3 หน่วยที่ มี จุดศู นย์ ก ลางอยู่ ที่ จุดก าเนิดที่ รวมจุดบนขอบของเส้นรอบ
วงกลมด้วย ในขณะที่จุด (0,1) สอดคล้องอสมการ y x 2 ดังนั้นกราฟของความสัมพันธ์ r2 คืออาณาบริเวณ
เหนือเส้นโค้ง y x 2 ที่ไม่รวมจุดบนเส้นโค้งนี้ ในการหาจุดตัดของเส้นโค้งทั้งสองนี้ทาได้โดยแก้ระบบสมการ
                                                                                                                          1       37
x2    y2      9   แล ะ    y     x2    นั่ น คื อ     y     y2       9   ดั ง นั้ น   y2      y       9   0    หรื อ   y                แต่
                                                                                                                              2
                                          1          37                                          1       37
เนื่องจาก y       x2   ดังนั้น y                           เท่านั้น ทาให้ x                                   ทาให้ได้ว่ากราฟของ r คือ
                                              2                                                      2
อาณาบริเวณที่แรเงานี้




                                                                    25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                             Y


                                                             3
                                                    A                    B


                                                             0                                 X




              1          37       1       37                     1       37       1       37
เมื่อ A                       ,                และ B                          ,                    ดังนั้น
                   2                  2                              2                2

          1         37            1       37
Dr                       ,                     และ Rr   (0, 3]
              2                       2




                                                        26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                                 แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                                    เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ

จงหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้
1.                                 1.5
                                               2.                                                                     8




                                                                                                                      6
                                   1.0



                                   0.5
                                                                                                                      4




      2             1                                   1               2
                                                                                                                      2

                                   0.5



                                   1.0                                                           1.0        0.5               0.5   1.0       1.5   2.0




3.                                                                                          4.
                                                                                                                          8




      2                 1                                    1              2
                                                                                                                          6



                                         1
                                                                                                                          4



                                         2
                                                                                                                          2



                                         3
                                                                                                 2                1           0           1         2




5.   2.0




     1.5




     1.0




     0.5




              0.5           1.0              1.5       2.0        2.5           3.0




จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้โดยการวาดกราฟ
6. r {(x,| x |) | 2 x 4}
7. r {(x, y ) | x y และ y x 2 2x 3}
                                                                 5 2
8. r        (x , y ) y              x2        และ y                x            1
                                                                 9
9. r       {(x , y ) | y 2                   x     1   และ xy               0}
10. r       {(x , y ) | x                    0, 0            y    5     และ x 2       y2    2x         6y         8}

                                                                                       27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




               สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                     28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                       สรุปสาระสาคัญประจาตอน




          เมื่ อมาถึง ช่ วงสุดท้ า ยครูค วรย้ ากั บนัก เรีย นอีก ครั้ งว่าเทคนิ คการแก้ ส มการ อสมการ การแยกตั ว
ประกอบ ตลอดจนสมบัติต่างๆ ของจานวนจริงมีความสาคัญอย่างยิ่งในการหาโดเมนและเรนจ์ นอกจากนี้การ
ที่นักเรียนสามารถวาดกราฟของความสัมพันธ์พื้นฐานต่างๆ ได้ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการหาโดเมน
และเรนจ์เช่นเดียวกัน




                                                        29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
                แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                         แบบฝึกหัดระคน

1. กาหนดให้ r {(x, y )                     |y            4x        2}       เมื่อ        คือเซตของจานวนเต็ม ข้อใดต่อไปนี้คือเรนจ์
  ของความสัมพันธ์ r
            x                                                                                       x
  1.   x        เป็นจานวนคี่                                                        2.    x              เป็นจานวนคู่
            2                                                                                       2
  3. เซตของจานวนคี่ทั้งหมด                                                          4. เซตของจานวนคู่ทั้งหมด
                                                     2
                                           x
2. กาหนดให้ r     (x , y ) y                                  1     และ s                {(x , y ) | y         x2     1}   จงหา Dr    Ds
                                       1       x

3. กาหนดให้ r    {(x, y ) | y         ( x           2)2 }        และ s              {(x , y ) | y       |x     1 | 1}      จงหา Dr   Rs
                                                                                                                       x2      4
4. กาหนดให้ r    {(x , y ) | 2x   3
                                       3xy      2
                                                         x   2
                                                                    y   2
                                                                                0}       และ s           (x , y ) y                จงหา
                                                                                                                           x   2
Dr     Ds
5. กาหนดให้ r    {(x , y ) | y        x2   และ y               จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r
                                                                 2x }
6. กาหนดให้ r    {(x, y) | | x |           |y |          2} จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ r พร้อมทั้งหาโดเมน

  และเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้
7. กาหนดให้ r {(x, y ) | 16x 2             25y 4              8x        10y 2            2}   จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r
                             y2       1
8. กาหนดให้ r     (x , y )                      1        จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r
                             4        x2
9. สาหรับจานวนจริงบวก k กาหนดให้ r {(x, y ) | x      y k } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r
10. กาหนดให้ r {(x , y ) | y x 2 และ y 2 x } จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ r พร้อมทั้งหาโดเมน
  และเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้




                                                                        31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                          ภาคผนวกที่ 2
                         เฉลยแบบฝึกหัด




                                     32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                         เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                                         ่
                                              เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ

1. Dr      [0,      ) ; Rr            [1,        )                                       2. Dr    (     , 2) (2,       ) ; Rr           {0}
                                                                                                                  1
3. Dr      (        ,         3] [ 3,                     ) ; Rr       [0,      )        4. Dr        ; Rr   0,
                                                                                                                  5
                 5
5. Dr              ,10 ; Rr                 [0, 5]                                       6. Dr    (     , 4] [ 2,        ) ; Rr
                 2
7. Dr           ; Rr          [ 1, 0]                                                    8. Dr          { 1, 1} ; Rr              {0}
                                                                                             1
9. Dr      (        , 0] [ 3 12,                     ) ; Rr        (         , 0)   0,
                                                                                         3
                                                                                             12
                                                 5
10. Dr         [ 3,2] ; Rr                  0,
                                                 2


                                                         เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม
                                                                         ่
                                              เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ

1. Dr      ( 1, 0) (0,                 ) ; Rr                 ( 1, 0) (1,           )
2. Dr      ( 1,             ) ; Rr          [0,1) (4,                  )
3. Dr               {0} ; Rr
4. Dr           ;   Rr         [1,      )
5. Dr      (0,      ) ; Rr             [0,            )
6.                               5



                                 4



                                 3



                                 2



                                 1




           4            2                        2            4




Dr       ( 2, 4) ; Rr                [0, 4)




                                                                                    33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                                                                           1        13           1        13
7.                                                                               เมื่อ A                 ,                     และ
                                                 4                                              2                     2

                                                                 B                         1        13            1       13
                                                                                                                               ดังนั้น
                                                 2

                                                                                      B                     ,
                                                                                                2                     2
             3           2           1                       1               2


                 A
                                                                                           1            13        1       13
                                                                                                                               ;
                                                 2

                                                                                      Dr                     ,
                                                 4
                                                                                                2                     2

                                                                                                    1            13
                                                                                      Rr   4,
                                                                                                        2


8.                                    4




                                      3




                                      2




                                      1




     2               1                                   1               2




                 3 3                             9
Dr                ,          ; Rr           0,
                 2 2                             4
9.
                                    1.0



                                    0.5




         2               1                           1               2


                                    0.5



                                    1.0



                                    1.5




Dr           ( 1, 0) (0,                  ) ; Rr         (       , 1) (0,1)




                                                                                 34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                           สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.
                           6




                           4




                           2




            2                              2            4




Dr       [0, 4] ; Rr           [0,5]
หมายเหตุ เส้นกราฟของความสัมพันธ์ในข้อ 6, 9 และ 10 ทุกเส้นเป็นเส้นทึบ

                                                             เฉลยแบบฝึกหัดระคน

                                                               1
1. 1 2. (       1,1)          (1,   )          3. [0,1) 4.       ,4        (4,   )   5. Dr   (    , 0] [2,     ) ; Rr
                                                               3
6. Dr           ; Rr
                          Y



                          2
                                                        X
                    -2                 2
                          -2




                1                          1        1
7. Dr                ;   Rr                     ,                          8. Dr     (       1] [1,   ) ; Rr     ( 2,2)
                4                          5        5
9. Dr      [0, k 2 ] ; Rr           [0, k 2 ]
10. Dr       (0,1) ; Rr             (0,1)
                           Y


                                    (1,1)



                                                        X
                         (0,0)




                                                                      35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
                  จานวน 92 ตอน




                                     36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                         สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                            รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน

                เรื่อง                                                               ตอน
เซต                                      บทนา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์                บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
                                         การให้เหตุผล
                                         ประพจน์และการสมมูล
                                         สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
                                         ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ
                                                             ่
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
จานวนจริง                                บทนา เรื่อง จานวนจริง
                                         สมบัติของจานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแก้อสมการ
                                         ค่าสัมบูรณ์
                                         การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
                                         กราฟค่าสัมบูรณ์
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น                      บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น
                                         การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ
                                         (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก)
                                         ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                  บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
                                         ความสัมพันธ์




                                                                  37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                  เรื่อง                                                            ตอน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                    โดเมนและเรนจ์
                                           อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
                                           ฟังก์ชันเบื้องต้น
                                           พีชคณิตของฟังก์ชัน
                                           อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
                                           ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
          ้                                บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                           เลขยกกาลัง
                                           ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                                     ้
                                           ลอการิทึม
                                           อสมการเลขชี้กาลัง
                                           อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                 บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                           อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                                           เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
                                           กฎของไซน์และโคไซน์
                                           กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย
                                                                               ่
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กาหนดการเชิงเส้น                           บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น
                                           การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
                                           การหาค่าสุดขีด
ลาดับและอนุกรม                             บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม
                                           ลาดับ
                                           การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                           ลิมิตของลาดับ
                                           ผลบวกย่อย
                                           อนุกรม
                                           ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม




                                                               38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

                เรื่อง                                                             ตอน
การนับและความน่าจะเป็น                    บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น
                    .                     การนับเบื้องต้น
                                          การเรียงสับเปลี่ยน
                                          การจัดหมู่
                                          ทฤษฎีบททวินาม
                                          การทดลองสุ่ม
                                          ความน่าจะเป็น 1
                                          ความน่าจะเป็น 2
สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล                บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
                                          บทนา เนื้อหา
                                          แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
                                          แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
                                          แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
                                          การกระจายของข้อมูล
                                          การกระจายสัมบูรณ์ 1
                                          การกระจายสัมบูรณ์ 2
                                          การกระจายสัมบูรณ์ 3
                                          การกระจายสัมพัทธ์
                                          คะแนนมาตรฐาน
                                          ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
                                          ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
                                          โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
                                          โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร์                         การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                          ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                          การถอดรากที่สาม
                                          เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
                                          กระเบื้องที่ยืดหดได้




                                                                 39

Contenu connexe

Tendances

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 

Tendances (20)

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 

Similaire à 31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์

Similaire à 31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์ (20)

32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ247 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (เนื้อหาตอนที่ 2) โดเมนและเรนจ์ โดย อาจารย์ ดร.รตินันท์ บุญเคลือบ สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 ความสัมพันธ์ - แผนภาพรวมเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน - ผลคูณคาร์ทีเซียน - ความสัมพันธ์ - การวาดกราฟของความสัมพันธ์ 3. เนื้อหาตอนที่ 2 โดเมนและเรนจ์ - โดเมนและเรนจ์ - การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ - การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ 4. เนื้อหาตอนที่ 3 อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และบทนิยามของฟังก์ชัน - อินเวอร์สของความสัมพันธ์ - บทนิยามของฟังก์ชัน 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันเบื้องต้น - ฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต B - ฟังก์ชันทั่วถึง - ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง 6. เนื้อหาตอนที่ 5 พีชคณิตของฟังก์ชัน - พีชคณิตของฟังก์ชัน - ตัวอย่างประเภทของฟังก์ชันพื้นฐาน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส - อินเวอร์สของฟังก์ชันละฟังก์ชันอินเวอร์ส - กราฟของฟังก์ชันอินเวอร์ส 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ฟังก์ชันประกอบ - ฟังก์ชันประกอบ - โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ - สมบัติของฟังก์ชันประกอบ 1
  • 3. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน 13. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง อินเวอร์สของความสัมพันธ์และฟังก์ชันอินเวอร์ส 14. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง โดเมนและเรนจ์ 15. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่องพีชคณิตและการประกอบของฟังก์ชัน 16. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่องการเลื่อนแกน คณะผู้จัดท าหวังเป็ นอย่ างยิ่ งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรีย นการสอน สาหรับครู และนักเรียนทุ กโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกั บการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะ ผู้จัดท าได้ ดาเนินการไปแล้ว ท่ า นสามารถดูชื่อ เรื่อง และชื่อ ตอนได้จากรายชื่อสื่ อการสอนวิช า คณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้ 2
  • 4. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน หมวด เนื้อหา ตอนที่ 2 (2/7) หัวข้อย่อย 1. โดเมนและเรนจ์ 2. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ 3. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. เข้าใจบทนิยามของโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ 2. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบแจกแจงสมาชิกได้ 3. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดย การแก้สมการหรืออสมการได้ 4. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปกราฟได้ 5. สามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดย การใช้กราฟของความสัมพันธ์มาช่วยได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. บอกบทนิยามของโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ได้ 2. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบแจกแจงสมาชิกได้ 3. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดยการแก้ สมการหรืออสมการได้ 4. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปกราฟได้ 5. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไขโดยการอธิบาย ขั้นตอนการวาดกราฟและวาดกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้ 3
  • 7. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. โดเมนและเรนจ์ ในช่วงนี้ได้แนะนาให้นักเรียนรู้จักโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ รวมถึงให้ตระหนักว่าการเปลี่ยน เงื่อนไขของความสัมพันธ์ระหว่างเซตสองเซตที่กาหนดให้มีผลต่อโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ 6
  • 8. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเช่น ตัวอย่าง 1 กาหนดให้ A {1, 2} , B {2, 3} และ P(A) และ P (B ) เป็นพาวเวอร์เซตของ A และ B ตามลาดับพิจารณา r {(X ,Y ) P (A) P (B ) | X Y} และ s {(X ,Y ) P (A) P (B ) | n(X Y) 1} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ทั้งสองนี้ วิธีทา เนื่องจาก r {( , ), ( ,{2}), ( ,{3}), ( ,{2, 3}), ({2},{2}), ({2},{2, 3})} ทาให้ได้ว่า Dr { , {2}} และ Rr { , {2}, {3}, {2, 3}} ต่อมาเนื่องจาก s {({1}, ), ({1},{2}), ({1},{3}), ({2}, ), ({2},{3}), ({1, 2},{2}), ({1, 2}, {2, 3})} ทาให้ได้ว่า Dr {{1}, {2}, {1,2}} และ Rr { , {2}, {3}, {2, 3}} 7
  • 9. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ 8
  • 10. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ ในช่วงนี้ได้แนะนาการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาในรูปเซตแบบบอกเงื่อนไข โดย ใช้การแก้สมการและอสมการ ครูควรทบทวนเรื่องการแก้สมการ อสมการ ตลอดจนสมบัติต่างๆ ของจานวนจริงให้นักเรียน เช่น สมบัติ เกี่ยวกับรากที่สองที่เป็นบวกของจานวนจริง หรือสมบัติของค่าสัมบูรณ์ของจานวนจริง และพยายามเน้นย้าให้ นักเรียนเข้าใจว่าหากนักเรียนมีความรู้สึกว่าเรื่องการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์เป็นเรื่องยุ่งยาก อาจเป็น เพราะพื้นฐานเรื่องจานวนจริงต่างๆ ที่นักเรียนควรรู้ไม่ดีพอ นอกจากนี้ครูอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมเช่น ตัวอย่าง 2 สาหรับจานวนจริง a , b , c และ d ที่ทั้งสี่ตัวไม่เป็นศูนย์ จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ ax b r (x, y ) y cx d 9
  • 11. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย d d วิธีทา การหาโดเมน cx d 0 ดังนั้น x นั่นคือ Dr c c การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า cxy dy ax b นั่นคือ dy b a x (cy a) cxy ax dy b ดังนั้น x ทาให้ได้ว่า cy a 0 นั่นคือ y cy a c a และ Rr c ในช่วงนีได้ค่อยๆ สรุปผ่านตัวอย่างต่างๆ ให้นักเรียนเห็นว่าการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์จาก ้ สูตรระหว่าง x และ y ที่กาหนดให้นั้นจะมีขั้นตอนอย่างไร 10
  • 12. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงนี้ย้าเกี่ยวกับเงื่อนไขที่ต้องพิจารณาก่อนการเปลี่ยนแปลงสมการเพื่อนาไปสู่การหาโดเมนหรือเรนจ์ เมื่อถึงตอนนี้ครูอาจให้ตัวอย่างเพิ่มเติม 1 ตัวอย่าง 3 กาหนดให้ r (x, y) y จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้ 3 x วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขที่กาหนดให้จะได้ว่า 3 x 0 นั่นคือ x 3 ดังนั้น Dr ( , 3) 1 1 การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขที่กาหนดให้จะได้ว่า 3 x ดังนั้นต้องมีเงื่อนไขก่อนว่า 0 และ y y 1 y 0 นั่นคือ y 0 จากนั้นจะได้ว่า x 3 ซึ่งมีเพียงเงื่อนไขว่า y 0 ดังนั้นเมื่อรวมเงื่อนไขทั้งหมด y2 เกี่ยวกับ y จะได้ว่า Rr (0, ) 11
  • 13. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4 x2 ตัวอย่าง 4 กาหนดให้ r (x, y ) y จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้ 4 x2 (x 2)(x 2) 4 x2 วิ ธี ท า การหาโดเมน จากเงื่ อ นไขที่ ก าหนดให้ จ ะได้ ว่ า 0 แต่ เ นื่ อ งจาก 4 x2 4 x2 4 x2 0 ทุกจานวนจริง x ทาให้ได้ว่า (x 2)(x 2) 0 นั่นคือ 2 x 2 ดังนั้น Dr [ 2,2] 4 x2 การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขที่กาหนดให้ต้องมีเงื่อนไขก่อนว่า y 0 จากนั้นจะได้ว่า y2 นั่นคือ 4 x2 4 4y 2 4 4y 2 4y 2 2 2 xy 4 x 2 ท า ใ ห้ ไ ด้ ว่ า x 2 นั่ น คื อ x ดั ง นั้ น 1 y2 1 y2 4(y 1)(y 1) 4 4y 2 0 เ นื่ อ ง จ า ก 1 y2 0 ทุ ก จ า น ว น จ ริ ง y ท า ใ ห้ ไ ด้ ว่ า 1 y2 1 y2 (y 1)(y 1) 0 นั่นคือ 1 y 1 ดังนั้นเมื่อรวมเงื่อนไขทั้งหมดเกี่ยวกับ y จะได้ว่า Rr [0,1] ในตอนนี้ย้าว่าบางครั้งอาจไม่จาเป็นต้องเขียน y เป็นพจน์ที่เกี่ยวข้องกับ x เพียงอย่างเดียวหรือ x เป็น พจน์ที่เกี่ยวข้องกับ y เพียงอย่างเดียวในการหาโดเมนหรือเรนจ์ นักเรียนอาจเขียนเป็น | y | หรือ y n เป็นพจน์ที่ เกี่ยวข้องกับ x เพียงอย่างเดียวหรือ | x | หรือ x n เป็นพจน์ที่เกี่ยวข้องกับ y เพียงอย่างเดียวในการหาโดเมน หรือเรนจ์ได้เช่นกัน 12
  • 14. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อถึงตอนนี้ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม 1 ตัวอย่าง 5 กาหนดให้ r (x , y ) y 2 จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r x 4 วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า (x 2)(x 2) x2 4 0 ดังนั้น Dr ( , 2) (2, ) 1 1 การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า x2 4 ดังนั้นต้องมีเงื่อนไขก่อนว่า 0 y y 2 2 1 1 และ y 0 นั่ น คื อ y 0 จากนั้ น จะได้ ว่ า x 2 4 เพราะว่ า x 2 0 ดั ง นั้ น 4 0 y y 2 1 อย่ า งไรก็ ดี 4 0 ทุ ก จ านวนจริ ง y 0 ดั ง นั้ น เมื่ อ รวมเงื่ อ นไขทั้ ง หมดเกี่ ย วกั บ y จะได้ ว่ า y Rr (0, ) x ตัวอย่าง 6 กาหนดให้ r (x, y) y จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r |x | 1 วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า | x | 1 0ดังนั้น Dr { 1, 1} การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า | x | y y x นั่นคือ | x | y x y y y กรณี x 0 จะได้ว่า x (y 1) | x | y x y นั่นคือ x เนื่องจาก x 0 ดังนั้น 0 y 1 y 1 จะได้ว่า y ( , 0] (1, ) 13
  • 15. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย y กรณี x 0 จะได้ว่า x( y 1) | x | y x y นั่นคือ x เนื่องจาก x 0 ดังนั้น y 1 y 0 จะได้ว่า y ( , 1) (0, ) (y 1) ดังนั้นจากทั้งสองกรณีนี้จะได้ว่า Rr ตัวอย่าง 7 กาหนดให้ r {(x , y ) | 4x 2 9y 2 8x 36y 4 0} จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r วิธีทา การหาโดเมน จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า 0 4(x 2 2x ) 9(y 2 4y ) 4 4(x 2 2x 1) 9(y 2 4y 4) 4 4(1) 9(4) 2 2 4(x 1) 9(y 2) 36 นั่นคือ 9(y 2) 2 36 4(x 1)2 4(x 4)(x 2) เนื่องจาก 9(y 2)2 0 ทาให้ได้ว่า (x 4)(x นั่นคือ Dr [ 2, 4] 2) 0 การหาเรนจ์ จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า 4(x 1)2 36 9(y 2)2 9(2 y 2)(2 y 2) 9y(y 4) เนื่องจาก 4(x 1)2 0 ทาให้ได้ว่า y(y 4) 0 นั่นคือ Rr [0, 4] ตัวอย่าง 8 กาหนดให้ r {(x , y ) | x x y y} จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r วิธีทา จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์จะได้ว่า 2 2 1 1 1 1 0 y y x x y y x x y x นั่นคือ 4 4 2 2 1 1 1 1 y x y x 0 จะได้ว่า y x 0 หรือ y x 1 0 2 2 2 2 ซึ่งในกรณีหลังนี้ไม่มีจานวนจริง x และ y ใดๆ ที่สอดคล้องกับสมการดังกล่าว ดังนั้น y x จะได้ว่า Dr [0, ) Rr 14
  • 16. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1. r {(x, y) | y x 1} 1 2. r (x, y ) | y | 2 x 4 3. r {(x , y ) | y x2 3} 1 4. r (x, y ) y 5 x2 5. r {(x, y ) | y 5 5 2x } 6. r {(x , y ) | x 2 6x y2 14y 41 0} 7. r {(x , y ) | y x2 2 | x |} x 8. r (x, y ) y 1 x2 9. r {(x , y ) | x 2y x 3y 2 0} 10. r {(x , y ) | y (3 x )(2 x )} 15
  • 17. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ 16
  • 18. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 3. การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ ในช่วงนี้ต้องการให้นักเรียนสามารถหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้ ทั้งนี้ ครูควรย้าว่าหากในกรณีที่จุดปลายของกราฟไม่ชัดเจนให้พิจารณาดังนี้ หากกราฟมีจุดทึบหรือจุดโปร่งที่จุดปลาย ด้านใดด้านหนึ่งของกราฟ แสดงว่าไม่มีส่วนของกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดมาเลยจุดดังกล่าวไป ทั้งนี้จุด ทึบ จะหมายถึง จุดนั้นอยู่ บ นกราฟของความสัมพั นธ์ด้วย ส่วนจุดโปร่งจะหมายถึงจุดนั้นไม่อยู่บนกราฟของ ความสัมพันธ์ ในขณะที่กราฟที่จุดปลายไม่มีจุดทึบหรือจุดโปร่ง หรือบางครั้งอาจมีลูกศรที่จุดปลายแสดงว่ากราฟ นั้นยังลากไปต่อได้ในแนวเดิมอย่างไม่มีที่สิ้นสุด หมายเหตุ ในตัวอย่างที่เห็นนี้แม้ว่าจะไม่มีจุดทึบหรือจุดโปร่งที่จุดปลายของกราฟ แต่พอเข้าใจได้จากภาพว่าไม่มี ส่วนของกราฟต่อไปจากจุดปลายทั้งสองนั้น ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจของนักเรียนยิ่งขึ้น 17
  • 19. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 9 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r ที่มีกราฟดังรูป 2 1 3 2 1 1 2 3 1 2 วิธีทา จากกราฟจะได้ว่า Dr [ 3, 3] และ Rr [ 2,2] ตัวอย่าง 10 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r ที่มีกราฟดังรูป 15 10 5 4 2 2 4 วิธีทา จากกราฟจะได้ว่า Dr ( ,2] และ Rr [0, ] 18
  • 20. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาในกรณีที่ไม่ได้วาดกราฟของความสัมพันธ์มาให้ หากนักเรียนสามารถวาดกราฟของความสัมพันธ์ แบบต่างๆ ได้ก็สามารถหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟเหล่านั้นได้เช่นกัน เมื่อถึงตอนนี้ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม ตัวอย่าง 11 กาหนดให้ r {(x, y) | y |x 1 | 2} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้สามารถวาดเป็นกราฟได้ดังนี้ 19
  • 21. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6 5 4 3 2 1 2 0 2 4 ดังนั้น Dr และ Rr [2, ) ตัวอย่าง 12 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 9 x2 และ xy 0} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า x 2 y 2 9 โดยที่ y 0 และ xy 0 ซึ่งกราฟของความสัมพันธ์ x 2 y 2 R 2 จะเป็นรูปวงกลมรัศมี R และมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกาเนิด ดังนั้นความสัมพันธ์ r สามารถวาดเป็น กราฟได้ดังนี้ 3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 4 2 2 4 จะได้ว่า Dr [ 3, 0] {3} และ Rr [0, 3] 20
  • 22. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในช่วงนี้อธิบายถึงการเลือกอาณาบริเวณสาหรับความสัมพันธ์ที่กาหนดเงื่อนไขมาในรูปอสมการ เมื่อมาถึงตอนนี้ครูอาจนาปัญหาชวนคิดที่เคยทิ้งไว้ในสื่อเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่ 1 มาให้ นักเรียนลองช่วยกันวาดกราฟและเลือกอาณาบริเวณกันอีกครั้ง หลังจากได้กราฟของความสัมพันธ์ดังกล่าวแล้วให้ นักเรียนหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟที่ได้ ชวนคิด (จากสื่อเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่ 1) 1. r {(x, y ) | x y 10} 2. r {(x, y) || x | | y | 10} นอกจากนี้ยังครูยังอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม 21
  • 23. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่าง 13 กาหนดให้ r {(x, y) | x | y |} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้สามารถวาดเป็นกราฟได้ดังนี้ Y X ดังนั้น Dr และ Rr ตัวอย่าง 14 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 2 1 x} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้สามารถวาดเป็นกราฟได้ดังนี้ Y X 1 ดังนั้น Dr ( ,1] และ Rr 22
  • 24. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในตอนนี้ได้อธิบายถึงความสัมพันธ์ที่ประกอบด้วยเงื่อนไขมากกว่าหนึ่งเงื่อนไขและแต่ละเงื่อนไขเชื่อม กันด้วย “และ” ทาให้สามารถแยกออกเป็นความสัมพันธ์ย่อยๆ ที่เชื่อมกันด้วยอินเตอร์เซกชันได้ ดังนั้นกราฟของ ความสัมพันธ์ที่ต้องการจะมาจากกราฟของความสัมพันธ์ย่อยๆ เหล่านั้นอินเตอร์เซกชันกันนั่นเอง เมื่อมาถึงตอนนี้อาจย้าว่าไม่จาเป็นที่เงื่อนไขของความสัมพันธ์จะต้องอยู่ในรูปอสมการทั้งหมดจึงจะทา เช่นนี้ได้ โดยครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้ประกอบ ตัวอย่าง 15 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 2 1 x และ y 1} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r 23
  • 25. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีทา จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้ว่า r r1 r2 เมื่อ r1 {(x, y) | y 2 1 x } และ r2 {(x, y) | y 1} ซึ่งเหมือนกับการวาดกราฟ r1 แล้วตัดเฉพาะท่อนที่กราฟอยู่เหนือเส้นตรง y 1 โดยไม่รวมเส้นตรงดังกล่าว ทาให้ได้ว่ากราฟของ r คือ 2 1 3 2 1 1 2 1 2 ดังนั้น Dr ( ,1] และ Rr ( 1, ) ตัวอย่าง 16 กาหนดให้ r {(x , y ) | x 2 y2 9 และ xy 0} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r วิ ธี ท า จากความสั ม พั น ธ์ ที่ ก าหนดให้ จะได้ ว่ า r r1 r2 เมื่ อ r1 {(x, y) | x 2 y 2 9} และ r2 {(x, y) | xy 0} เนื่ อ งจากจุ ด (x, y ) ในจตุ ภ าคที่ 1 และ 3 (ไม่ ร วมจุ ด บนแกน X และ แกนY ) สอดคล้องอสมการ xy 0 ดังนั้นกราฟของความสัมพันธ์ r คือกราฟของความสัมพันธ์ r1 ซึ่งเป็นวงกลมรัศมี 3 หน่วยที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่จุดกาเนิดแล้วตัดเฉพาะท่อนที่กราฟอยู่ในจตุภาคที่ 1 และ 3 เท่านั้น โดยไม่รวมจุด ที่อยู่บนแกน X และ แกนY ทาให้ได้ว่ากราฟของ r คือ Y 3 -3 X 3 -3 ดังนั้น Dr ( 3, 0) (0, 3) และ Rr ( 3, 0) (0, 3) 24
  • 26. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาหรับตัวอย่างที่ยกไว้ในสื่อตอนนี้ยังไม่ได้หาจุดตัดของเส้นตรง y x 2 และเส้นโค้ง y x 2 ซึ่ ง จุ ด ตั ด ดั ง กล่ า วหาได้ จ ากการแก้ ร ะบบส มการทั้ ง ส องนี้ นั่ น คื อ จะได้ ว่ า x 2 x 2 ดั ง นั้ น 0 x 2 x 2 (x 2)(x 1) ทาให้ x 2 หรือ 1 ซึ่งจะส่งผลให้ y 4 และ 1 ตามลาดับ จะ ได้ว่าจุด (a, b) ในตัวอย่างดังกล่าวคือจุด ( 1,1) และจุด (c, d ) ในตัวอย่างดังกล่าวคือ (2, 4) ทาให้ได้ว่า สาหรับตัวอย่างนี้ Dr ( 1,2) และ Rr (0, 4) นั่นเอง เมื่อมาถึงตอนนี้ครูอาจยกตัวอย่างเหล่านี้เพิ่มเติม ตัวอย่าง 17 กาหนดให้ r {(x , y ) | x 2 y2 9 และ y x 2} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r วิ ธี ท า จาก ความสั ม พั น ธ์ ที่ ก าหนดให้ จะได้ ว่ า r r1 r2 เมื่ อ r1 {(x, y) | x 2 y 2 9} แล ะ r2 {(x, y ) | y x 2 } เนื่องจากจุด (0, 0) สอดคล้องอสมการ x 2 y 2 9 ดังนั้นกราฟของความสัมพันธ์ r1 คืออาณาบริเวณภายในวงกลมรัศ มี 3 หน่วยที่ มี จุดศู นย์ ก ลางอยู่ ที่ จุดก าเนิดที่ รวมจุดบนขอบของเส้นรอบ วงกลมด้วย ในขณะที่จุด (0,1) สอดคล้องอสมการ y x 2 ดังนั้นกราฟของความสัมพันธ์ r2 คืออาณาบริเวณ เหนือเส้นโค้ง y x 2 ที่ไม่รวมจุดบนเส้นโค้งนี้ ในการหาจุดตัดของเส้นโค้งทั้งสองนี้ทาได้โดยแก้ระบบสมการ 1 37 x2 y2 9 แล ะ y x2 นั่ น คื อ y y2 9 ดั ง นั้ น y2 y 9 0 หรื อ y แต่ 2 1 37 1 37 เนื่องจาก y x2 ดังนั้น y เท่านั้น ทาให้ x ทาให้ได้ว่ากราฟของ r คือ 2 2 อาณาบริเวณที่แรเงานี้ 25
  • 27. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Y 3 A B 0 X 1 37 1 37 1 37 1 37 เมื่อ A , และ B , ดังนั้น 2 2 2 2 1 37 1 37 Dr , และ Rr (0, 3] 2 2 26
  • 28. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ จงหาโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้ 1. 1.5 2. 8 6 1.0 0.5 4 2 1 1 2 2 0.5 1.0 1.0 0.5 0.5 1.0 1.5 2.0 3. 4. 8 2 1 1 2 6 1 4 2 2 3 2 1 0 1 2 5. 2.0 1.5 1.0 0.5 0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ต่อไปนี้โดยการวาดกราฟ 6. r {(x,| x |) | 2 x 4} 7. r {(x, y ) | x y และ y x 2 2x 3} 5 2 8. r (x , y ) y x2 และ y x 1 9 9. r {(x , y ) | y 2 x 1 และ xy 0} 10. r {(x , y ) | x 0, 0 y 5 และ x 2 y2 2x 6y 8} 27
  • 30. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปสาระสาคัญประจาตอน เมื่ อมาถึง ช่ วงสุดท้ า ยครูค วรย้ ากั บนัก เรีย นอีก ครั้ งว่าเทคนิ คการแก้ ส มการ อสมการ การแยกตั ว ประกอบ ตลอดจนสมบัติต่างๆ ของจานวนจริงมีความสาคัญอย่างยิ่งในการหาโดเมนและเรนจ์ นอกจากนี้การ ที่นักเรียนสามารถวาดกราฟของความสัมพันธ์พื้นฐานต่างๆ ได้ก็จะเป็นประโยชน์อย่างมากในการหาโดเมน และเรนจ์เช่นเดียวกัน 29
  • 31. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝึกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 30
  • 32. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดระคน 1. กาหนดให้ r {(x, y ) |y 4x 2} เมื่อ คือเซตของจานวนเต็ม ข้อใดต่อไปนี้คือเรนจ์ ของความสัมพันธ์ r x x 1. x เป็นจานวนคี่ 2. x เป็นจานวนคู่ 2 2 3. เซตของจานวนคี่ทั้งหมด 4. เซตของจานวนคู่ทั้งหมด 2 x 2. กาหนดให้ r (x , y ) y 1 และ s {(x , y ) | y x2 1} จงหา Dr Ds 1 x 3. กาหนดให้ r {(x, y ) | y ( x 2)2 } และ s {(x , y ) | y |x 1 | 1} จงหา Dr Rs x2 4 4. กาหนดให้ r {(x , y ) | 2x 3 3xy 2 x 2 y 2 0} และ s (x , y ) y จงหา x 2 Dr Ds 5. กาหนดให้ r {(x , y ) | y x2 และ y จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r 2x } 6. กาหนดให้ r {(x, y) | | x | |y | 2} จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ r พร้อมทั้งหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้ 7. กาหนดให้ r {(x, y ) | 16x 2 25y 4 8x 10y 2 2} จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r y2 1 8. กาหนดให้ r (x , y ) 1 จงหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ r 4 x2 9. สาหรับจานวนจริงบวก k กาหนดให้ r {(x, y ) | x y k } จงหาโดเมนและเรนจ์ของ r 10. กาหนดให้ r {(x , y ) | y x 2 และ y 2 x } จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ r พร้อมทั้งหาโดเมน และเรนจ์ของความสัมพันธ์นี้ 31
  • 33. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝึกหัด 32
  • 34. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ 1. Dr [0, ) ; Rr [1, ) 2. Dr ( , 2) (2, ) ; Rr {0} 1 3. Dr ( , 3] [ 3, ) ; Rr [0, ) 4. Dr ; Rr 0, 5 5 5. Dr ,10 ; Rr [0, 5] 6. Dr ( , 4] [ 2, ) ; Rr 2 7. Dr ; Rr [ 1, 0] 8. Dr { 1, 1} ; Rr {0} 1 9. Dr ( , 0] [ 3 12, ) ; Rr ( , 0) 0, 3 12 5 10. Dr [ 3,2] ; Rr 0, 2 เฉลยแบบฝึกหัดเพิมเติม ่ เรื่อง การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ 1. Dr ( 1, 0) (0, ) ; Rr ( 1, 0) (1, ) 2. Dr ( 1, ) ; Rr [0,1) (4, ) 3. Dr {0} ; Rr 4. Dr ; Rr [1, ) 5. Dr (0, ) ; Rr [0, ) 6. 5 4 3 2 1 4 2 2 4 Dr ( 2, 4) ; Rr [0, 4) 33
  • 35. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 13 1 13 7. เมื่อ A , และ 4 2 2 B 1 13 1 13 ดังนั้น 2 B , 2 2 3 2 1 1 2 A 1 13 1 13 ; 2 Dr , 4 2 2 1 13 Rr 4, 2 8. 4 3 2 1 2 1 1 2 3 3 9 Dr , ; Rr 0, 2 2 4 9. 1.0 0.5 2 1 1 2 0.5 1.0 1.5 Dr ( 1, 0) (0, ) ; Rr ( , 1) (0,1) 34
  • 36. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 10. 6 4 2 2 2 4 Dr [0, 4] ; Rr [0,5] หมายเหตุ เส้นกราฟของความสัมพันธ์ในข้อ 6, 9 และ 10 ทุกเส้นเป็นเส้นทึบ เฉลยแบบฝึกหัดระคน 1 1. 1 2. ( 1,1) (1, ) 3. [0,1) 4. ,4 (4, ) 5. Dr ( , 0] [2, ) ; Rr 3 6. Dr ; Rr Y 2 X -2 2 -2 1 1 1 7. Dr ; Rr , 8. Dr ( 1] [1, ) ; Rr ( 2,2) 4 5 5 9. Dr [0, k 2 ] ; Rr [0, k 2 ] 10. Dr (0,1) ; Rr (0,1) Y (1,1) X (0,0) 35
  • 37. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน 36
  • 38. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ การให้เหตุผล ประพจน์และการสมมูล สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง จานวนจริง บทนา เรื่อง จานวนจริง สมบัติของจานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแก้อสมการ ค่าสัมบูรณ์ การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ กราฟค่าสัมบูรณ์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์ ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก) ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ 37
  • 39. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเบื้องต้น พีชคณิตของฟังก์ชัน อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกาลัง ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ ลอการิทึม อสมการเลขชี้กาลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซน์และโคไซน์ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์ กาหนดการเชิงเส้น บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ การหาค่าสุดขีด ลาดับและอนุกรม บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม ลาดับ การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ ผลบวกย่อย อนุกรม ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม 38
  • 40. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความน่าจะเป็น บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น . การนับเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น 1 ความน่าจะเป็น 2 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เนื้อหา แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3 การกระจายของข้อมูล การกระจายสัมบูรณ์ 1 การกระจายสัมบูรณ์ 2 การกระจายสัมบูรณ์ 3 การกระจายสัมพัทธ์ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง กระเบื้องที่ยืดหดได้ 39