SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์
                       เรื่อง
      ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                 (เนื้อหาตอนที่ 2)
                 ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                       โดย
        รองศาสตราจารย์ เพ็ญพรรณ ยังคง


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                            ่
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                     ้



          สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
         สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16
 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

 1. บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 เลขยกกาลัง
                      - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม
                      - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานอนตรรกยะ
                      - เขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                      - ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                      - กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                      - สมการเลขชี้กาลัง
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ลอการิทึม
                      - ฟังก์ชันลอการิทึม
                      - กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม
                      - สมการลิการิทึม
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 อสมการเลขชี้กาลัง
                      - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง
                      - สมการและอสมการของเลขยกกาลัง
                      - ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการลอการิทึม
                      - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของลอการิทึม
                      - สมการและอสมการลอการิทึม
                      - ปัญหาในชีวิตประจาวันที่เกียวข้องกับฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชัน
                        ลอการิทึม
 7. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3)
10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4)
11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)

                                            1
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                            ่
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                     ้



12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม

        คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ
สอนส าหรั บ ครู และนั ก เรี ย นทุ ก โรงเรี ย นที่ ใ ช้ สื่ อ ชุ ด นี้ ร่ ว มกั บ การเรี ย นการสอนวิ ช า
คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอน
วิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และ
ชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้




                                              2
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                      ่
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                               ้



เรื่อง            ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            2 (2/5)
หัวข้อย่อย        1. ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                  2. กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง


จุดประสงค์การเรียนรู้
         เพื่อให้ผู้เรียน
                   1. เข้าใจความหมายและสมบัติของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง
                   2. สามารถบอกได้ว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด
                   3. มีความเข้าใจเกี่ยวกับกราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลังได้



ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
         ผู้เรียนสามารถ
                   1.   บอกสมบัติของฟังก์ชันเลขชี้กาลังและนาไปใช้ได้
                   2.   ระบุได้ว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด
                   3.   เปรียบเทียบเลขยกกาลังสองจานวนที่มีฐานเท่ากันได้
                   4.   เปรียบเทียบเลขยกกาลังสองจานวนที่มีเลขชี้กาลังเท่ากันได้
                   5.   อธิบายและร่างกราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้ได้




                                                      3
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                      เนื้อหาในสื่อการสอน




                                     4
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                                     5
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                  1. ฟังก์ชันเลขชีกาลัง
                                  ้




                                     6
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้



                                      1. ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง




            จากสื่อนักเรียนจะพบว่า กราฟของฟังก์ชัน f (x ) 2x เมื่อ x D โดยที่ D เป็น
เซตของจานวนจริงเต็ม ต่อไปขยายเป็นเซตของจานวนตรรกยะ และท้ายสุดเป็นเซตของจานวนจริง
กราฟของฟังก์ชัน f ที่ได้จะเพิ่มความละเอียดขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดก็เป็นกราฟที่มีความต่อเนื่องไม่
ขาดตอน และมีลักษณะเด่นคือเป็นฟังก์ชันเพิ่ม คือเมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่าของฟังก์ชัน f ก็จะ
เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งต่อไปเราจะเรียกฟังก์ชันแบบนี้ว่า ฟังก์ชันเพิ่ม ให้นักเรียนดูสื่อต่อไป
            ตัวอย่างต่อไปจะเป็นการพิจารณากราฟของฟังก์ชัน g(x ) 3x




                                                   7
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




         จากฟังก์ชัน f (x ) 3x เมื่อ x D เมื่อพิจารณา D ในทานองเดียวกันกับฟังก์ชัน
          x
f (x )   2 ก็จะพบว่า มีลักษณะคล้ายกันคือ เป็นฟังก์ชันเพิ่ม เมื่อนักเรียนได้เห็นตัวอย่างทั้งสอง
                                                                                                  x
ตัวอย่างแล้วผู้สอนอาจชี้ให้นักเรียนสังเกตว่า ฟังก์ชันทั้งสองอยู่ในรูปแบบ         f (x )       a       โดยที่

ตัวอย่างแรก a 2 และตัวอย่างที่ 2          a     3    ซึ่งขอเรียก    a   ว่า “ฐาน” จะเห็นว่า ฐานเป็น
จานวนบวกที่มากกว่า 1

ครูลองตั้งคาถามเพื่อถามนักเรียนว่า แล้วถ้าฐานเป็นจานวนบวกที่น้อยกว่า 1 กราฟจะเป็นอย่างไร
จะยังเป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือไม่ และถ้านักเรียนยังนึกภาพไม่ออกก็ขอให้ดูสื่อต่อไป




                                                    8
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                     ่
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                              ้




                                           x
                                       1
          จากฟังก์ชัน     f (x )                   นักเรียนจะเห็นว่า ฐานเป็นจานวนจริงบวกที่น้อยกว่า   1
                                       2
กราฟที่ได้เป็นฟังก์ชันลด        เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมโดยให้
                                       x
      1                            1
a          ซึ่งก็คือ   f (x )                  ก็จะเห็นว่าเป็นฟังก์ชันลดเช่นเดียวกัน และทั้งสองกราฟมีจุด
      3                            3
ร่วมกัน 1 จุด คือจุด (0, 1)



                                                        9
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




                                        x           x                     x
                                    1           1       Y             y   3
                             y              y
                                    3           2




                                                         (0, 1)



                                                                                          X




                                                                                                  x
                                                                  x            x              1
         เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า ทั้งสามตัวอย่าง       y        3 ,y        2 ,   และ   y           อยู่ใน
                                                                                              2
                   x
รูปแบบ   y     a       และ   a   เป็นจานวนจริงบวก แต่ละตัวอย่างมีฐานไม่เท่ากัน แต่มีโดเมนเดียวกัน
คือ
        นักเรียนอาจสงสัยว่า แล้วค่าของฐานซึ่งคือ a เป็นลบได้หรือไม่ ให้นักเรียนดูสื่อต่อไป จะมี
คาอธิบายว่าทาไมเราจึงไม่สนใจในกรณีที่ a เป็นลบ



                                                    10
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




         เพื่อให้นักเรียนได้เห็นตัวอย่างในกรณีที่    a     0   เพิ่มขึ้น ผู้สอนควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม
                            3
โดยให้   a      3,    5,
                            2




                                                    11
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                 ่
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                          ้


                                                                      1
                                   1                       x
เมื่อ   a      3     และ     x              จะได้      a       ( 3)   2

                                   2
                                                                      1
                                   1                       x
        a      5     และ     x              จะได้      a       ( 5)   2

                                   2
                                                                          1
               3                   1                       x      3       2
        a            และ     x              จะได้      a
               2                   2                              2
                                                           x
ดังนั้น ในกรณีที่
               a   0 จึงไม่น่าสนใจ เพราะมีปัญหาในการหาค่า a สาหรับบางค่าของ x เรา
จึงสนใจจานวนจริง a เฉพาะเมื่อ a 0 เท่านั้น ต่อไปเราจะพิจารณากรณีที่ a 0 และ a 1




                                                 12
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                                     13
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                            ่
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                     ้




              สรุปได้ว่า ฐาน a เป็นจานวนจริงที่มีข้อจากัดดังนี้
              1. a ต้องเป็นจานวนจริงบวก (a > 0)
และ           2. a  1
                                                                                 a
นั่นคือ         0        a     1       หรือ   a    1              0              0
                                                                  0              1


หรือเราแบ่ง a เป็น 2 ช่วงคือ             a    (0, 1)   และ        0(                 )0(
                                                                   0                  1
a       (1,    )


          ในช่วงต่อไปเราจะนิยามฟังก์ชันที่มีรูปแบบเหมือนฟังก์ชันที่นักเรียนได้ดูจากสื่อไปแล้ว
และให้ชื่อว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลัง หรือฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล โดยจะเพิ่มรายละเอียดโดยพิจารณา
จากฐานของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง ซึ่งเราแทนด้วย a โดยแบ่งการพิจารณาฐาน a เป็น 2 ช่วง คือ
    0     a        1     และ       a     1




                                                             14
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                                     15
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้




                                                       x
        จากสื่อนักเรียนได้เห็นกราฟของ        y     a       เมื่อ   0   a   1   และได้ข้อสรุปร่วมกันว่า
                        x
        1.    y     a      เป็นฟังก์ชันลด
        2.       ทุกกราฟผ่านจุด (0, 1) (และไม่ตดแกน X )
                                                  ั
        3.       ทุกกราฟมีจุดร่วมกัน 1 จุด คือ (0, 1) (กราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) )
                        x
        4.       y a เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก        ทั่วถึง
                 (ค่าของ a x เป็นบวกเสมอ ไม่ว่า x เป็นจานวนจริงบวกหรือลบ หรือเมื่อ x  )
เพื่อให้นักเรียนสามารถนาข้อสรุปข้างต้นไปใช้ประโยชน์ได้ ให้ผู้สอนลองให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด
สั้นๆ ต่อไปนี้




                                                  16
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                    ่
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                             ้



                                                                       แบบฝึกหัดย่อย

1.   จงเติมเครื่องหมาย                   >,<             ลงในช่องว่าง
                         4                               5                                     3              5
                    1                            1                                         1            1
     1.1                                                                           1.2
                    3                            3                                         3            3
                         3                                                                     3              1
                                                         4
                    1    2                       1                                         1   2         1    4
     1.3                                                                           1.4
                    3                            3                                         3             3
                                                                                               1              4
                             3                               4
                    1                                1                                     1   7         1    3
     1.5                                                                           1.6
                    3                                3                                     3             3
                                                                                                             1 2 4
     (เมื่อนักเรียนตอบได้ถูกต้องแล้ว ผู้สอนลองเปลี่ยนโจทย์ใหม่ โดยให้                              a          , ,      แทนที่
                                                                                                             5 3 3
           1
     a              แล้วให้นักเรียนตอบคาถามในข้อ 1. ใหม่ โดยเน้นย้านักเรียนว่า ควรพิจารณาเมื่อ
           3
     ฐานของเลขยกกาลังเท่ากัน และฐานมีค่ามากกว่าศูนย์และน้อยกว่าหนึ่ง)
2.   จงหาค่า    x       ที่สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้ต่อไปนี้
                         x
                    1
     2.1                             1                   แล้ว          x =
                    4
                         x
     2.2       (2.5)                 1                   แล้ว          x =
                         x                       x
                    1                    1
     2.3                                                 แล้ว          x =
                    3                    5
                                 x
                        1
     2.4                                 256             แล้ว          x =
                        2


คาตอบ          1.            1.1             >                   1.2      <          1.3   >           1.4        >


                             1.5             >                   1.6      <


               2.            2.1         0                       2.2     0           2.3   0           2.4        16




                                                                              17
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                                     18
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                    ่
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                             ้


                                            x
                                    y   a                    Y
                                x
                    y       b


                                                P
                                                                       o                           o
                                            Q                          0       a        b          1
                                             
                                                             (0, 1)
                                                             


                                                x        0                         X




                                            x
                                    y   a
                                                             Y

                        x
               y    b
                                                P                     o                           o
                                                                       0   a                   b   1
                                            Q
                                             
                                                             (0, 1)
                                                         



                                                x        0                     X




           พิจารณา กราฟของ y a x และ y b x โดยที่ 0 a b 1
           ถ้า x ( , 0)
           ที่จุด P (x, a x ) และ Q(x , b x ) นักเรียนจะเห็นว่า ความชันของเส้นสัมผัสที่จุด P และ Q
นั้นมีค่าเป็นลบเสมอ และ
           ถ้าให้ความชันของเส้นสัมผัสที่สัมผัสกราฟของ y a x ที่จุด P มีค่าเท่ากับ mP
           และความชันของเส้นสัมผัสที่สัมผัสกราฟของ y b x ที่จุด Q มีค่าเท่ากับ mQ แล้ว
                            mP          mQ           0

และเมื่อ   มีค่าเข้าใกล้ 1 ก็จะเห็นว่า ความชัน mQ มีค่าเข้าใกล้ 0
           b
         ในส่วนนี้ คุณครูผู้สอนอาจอธิบายในลักษณะที่ว่า ความชันของเส้นสัมผัสกราฟที่จุด                  P   จะ
มีค่าติดลบมากกว่าความชันของเส้นสัมผัสกราฟที่จุด Q

                                                                  19
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                 ่
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                          ้




สรุปง่ายๆ ก็คือ กราฟของ y a x อยู่เหนือกราฟของ y                 b
                                                                     x
                                                                         เมื่อ   0     a       b       1
เฉพาะ x ที่อยู่ทางด้านซ้ายของแกน Y ซึงก็คือ x 0
                                     ่

                                             Y
                   y=b   x    y = ax




                                             (0, 1)
                                                                         y=1

                                                                            X




                                                                                                       x
       สาหรับ x ที่อยู่ทางด้านขวาของแกน X ซึ่งก็คือ x 0 กราฟของ                            y       b           จะอยู่เหนือ
กราฟของ y a x และทั้งสองกราฟส่วนที่ x 0 จะอยู่ใต้เส้นตรง y 1

                                              Y




                                             (0, 1)            y=1
                                                                         y = bx
                                                                              y = ax
                                                                           X




                                                           x
และถ้า b มีค่าเข้าใกล้ 1 มากเท่าใด กราฟของ y           b       จะยิ่งเข้าใกล้กราฟของ           y           1   แต่อย่าลืม
ว่า กราฟของ y b x จะไม่ตัดแกน X เป็นอันขาด




                                                  20
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้




                                                   x
                                               1         Y
                                   y
                                               7
                             x             x
                         6             1
                   y
                         7             7




                                                         (0, 1)
                                                                                   y=1


                                                                                         X




                                               กราฟส่วนที่    x    0



                                                   Y




                                                                                         x
                                                                                     6
                                                                                y
                                                (0, 1)            y=1                7
                                               



                                                                                x
                                                                                             X
                                                                            1
                                                                        y
                                                                            7




                                               กราฟส่วนที่    x    0


          เพื่อให้มองได้ชัดเจนขึ้น ผู้สอนอาจแยกส่วนของกราฟให้นักเรียนดู โดยแบ่งการพิจารณา
เป็น 2 ส่วน คือ เมื่อ x 0 หรือ x ( , 0 ] และส่วนที่ x 0 คือ x [ 0, )
          เมื่อมองภาพได้ชัดเจนทั้งสองส่วนแล้ว จึงค่อยนาภาพมาต่อกัน หรือรวมกันทั้งสองส่วนก็จะ
ได้กราฟต่อเนื่อง นั่นคือ พิจารณากราฟทุกค่าของจานวนจริง x



                                                         21
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                     ่
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                              ้




และเพื่อให้เห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เรามองภาพเจาะลึกในแต่ละส่วน เมื่อ x 0 และ x 0
โดยมีตัวแทน x ส่วนที่ x 0 กาหนดให้เป็น x1 ดังนั้น x1 ( , 0) นั่นเอง และในส่วนที่
x    0 เรากาหนดให้เป็น x 2 ดังนั้น x 2 (0, )

                                                            x1             x             x2
                           a
                                                                         )|(
            0                       1                                      0


เมื่อเรามีตัวแทนในแต่ละส่วนแล้ว ให้นักเรียนดูรายละเอียดในสื่อต่อไป




                                                     22
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




                                     23
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                 ่
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                          ้




       เมื่อนักเรียนดูสื่อในส่วนนี้เสร็จแล้ว ผู้สอนลองให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดย่อยเพิ่มเติมดังนี้


                                            แบบฝึกหัดย่อย

1.   จงเติมเครื่องหมาย       >,<    ลงในช่องว่าง
                                                                           1                     1
                       2                2
              1                 2                                 1        3         2           3
     1.1                                                1.2
              3                 3                                 3                  3
                       2                2                              3                 3
              3                 4                                 3                  4
     1.3                                                1.4
              4                 5                                 4                  5
                   1                    1
              5    2            4       2
     1.5                                                1.6      0.25
                                                                               0.2
                                                                                             0.75
                                                                                                           0.2

              6                 5

     1.7     0.5       0.5
                                   0.75
                                            0.2
                                                        1.8      0.6
                                                                           0.5
                                                                                         0.2
                                                                                                     0.5


                                                                       4                     2
                                                                  1                  2
     1.9     0.5   3
                               0.75
                                        2
                                                        1.10
                                                                  3                  3
                   1                1
                                                                           4                     2
              1    3           2    4                             1                      2
     1.11                                               1.12
              3                3                                  3                      3




                                                   24
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                 ่
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                          ้




2.   จงเติมเครื่องหมาย                   >,,<,,=                   ลงในช่องว่าง เมื่อกาหนดให้
                         x
                 1
     2.1                              1                  แล้ว       x         0
                 2
     2.2     3
                     x
                                 > 1                      แล้ว       x         0
                         x
                 1
     2.3                              1                  แล้ว       x         0
                 5
                             x
                 3
     2.4                             > 1                  แล้ว       x         0
                 2
                                 x
                 1
     2.5                                 < 1              แล้ว       x         0
                  2
                                 x
                  1
     2.6         3
                                          1              แล้ว       x         0
                   5
                         x                     x
                 1                         1
     2.7                                                 แล้ว       x         0
                 3                         2
                             x                     3x
     2.8             3                >        2          แล้ว       x         0




คาตอบ       1.               1.1           >            1.2      >          1.3    >              1.4    <


                             1.5           <            1.6      >          1.7    >              1.8    <


                             1.9           <            1.10     <          1.11    <             1.12   >


            2.               2.1                       2.2      <          2.3                  2.4    <


                             2.5           >            2.6                2.7                  2.8    >




                                                                     25
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้




                                                                       x
        เราได้พิจารณากราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง            y       a       เมื่อ       0   a       1       ไปแล้ว และ
ได้ทาแบบฝึกหัดย่อยประกอบความเข้าใจ นักเรียนคงมีความมั่นใจเพิ่มขึ้นว่า ถ้าจะถามค่าของเลข
ยกกาลัง 2 จานวน ที่มีฐานเท่ากันและอยู่ในรูปจานวนตรรกยะ a p ซึ่งมีค่ามากกว่าศูนย์และ
                                                                                   q
น้อยกว่าหนึ่ง โดยเลขชี้กาลังต่างกันแล้ว สามารถบอกได้ว่าจานวนใดมีค่ามากกว่ากัน

                                                                                               x
        สื่อส่วนต่อไปจะเป็นการพิจารณากราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง                    y       a       เมื่อ    a    1




                                                       x
        ข้อสรุปสาหรับฟังก์ชันเลขชี้กาลัง     y     a       เมื่อ       a    1      หรือ    a        (1,      )


        1. y a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม
        2. ทุกกราฟผ่านจุด (0, 1) (และไม่ตัดแกน X )
        3. ทุกกราฟมีจุดร่วมกันเพียง 1 จุด คือ (0, 1) (กราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) )
        4. y a x เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก ทั่วถึง
           (ค่าของ a x เป็นบวกเสมอ ไม่ว่า x เป็นจานวนจริงบวกหรือลบ หรือเมื่อ x                                   )


                                                  26
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้




        เพื่อให้นักเรียนสามารถนาข้อสรุปข้างต้นไปใช้ประโยชน์ได้                                              ให้ผู้สอนลองให้นักเรียนทา
แบบฝึกหัดสั้นๆ ต่อไปนี้

                                                                 แบบฝึกหัดย่อย

1.   จงเติมเครื่องหมาย                     >,<         ลงในช่องว่าง
                                                                                               1                1
              3.5                           2.5
     1.1     2                             2                                     1.2       2   3
                                                                                                            2   2


                  4                         1.5                                                4                3
     1.3     2                             2                                     1.4       2                2
                                                                                                        1                      2
                                  3                    2                                       1                          1
     1.5          2                                2                             1.6
                                                                                                2                          2

     เมื่อนักเรียนตอบได้ถูกต้องแล้ว ผู้สอนลองเปลี่ยนโจทย์ใหม่ โดยแทนที่                                               2    หรือ    2   ด้วย
     3, 3 , 5 , 5 , 7 , 7 แล้วให้นักเรียนตอบคาถามในข้อ 1. ใหม่

2.   จงเติมเครื่องหมาย                     >,,<,                 ลงในช่องว่าง เมื่อกาหนดให้
                          x
                  3
     2.1                               1                    แล้ว         x            0
                  2
                          x
                  4
     2.2                               1                    แล้ว         x            0
                  3
                              x
                  1
     2.3                                   1                แล้ว         x            0
                  5
                              x
                  3
     2.4                                  > 1                แล้ว         x            0
                   2
                                      x
                      b
     2.5                                    1 , b                1       แล้ว     x                0
              b           1



คาตอบ        1.               1.1              >           1.2        >            1.3         <                    1.4        <


                              1.5              <           1.6        <


             2.               2.1                         2.2                    2.3                             2.4        >


                              2.5              



                                                                          27
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                            ่
                       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                     ้




          ข้อสรุปสาหรับ ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง y a x ในกรณีที่ a 1 เราทราบแล้วว่า เป็น
ฟังก์ชันเพิ่ม และเพื่อให้เห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้นเรามองภาพเจาะลึกในแต่ละส่วน เมื่อ x 0 และ
x     0 โดยมีตัวแทน กาหนดให้เป็น x1 และ x 2 โดยที่ x 1      0 และ x 2    0
                                                                                                  x                       x
           ในหัวข้อนี้เราจะเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเลขชี้กาลังสองฟังก์ชันคือ                y     a       และ     y       b       ซึ่ง
ทั้ง a   และ b มีสมบัติดังนี้
                                                                                    x                     x
                       1    a    b       และ   x             เราพิจารณา   y     a       และ   y       b


โดยแบ่ง          x   เป็น 2 ช่วง คือ x     0   และ   x   0
                                                                                                                      x
                 เมื่อให้นักเรียนดูสื่อต่อไป นักเรียนจะพบกับการเปรียบเทียบกันระหว่าง                      y       a           และ
             x
y        b




                                                             28
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้




ตัวอย่าง เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนในการแสดงการเปรียบเทียบ เรากาหนดค่าของ a และ b ที่
ชัดเจนและสอดคล้องกับเงื่อนไข 1 a b โดยกาหนดให้
                                                                         3
         a     3 ,b            5       และ         x1     4,    3,         ,      1,            2,   0.075
                                                                         2
                                                        3 1 5
                                                   x2    , , ,       2,          3 , 0.7
                                                        4 2 4


จากข้อมูลของ a, b, x1, x 2 จะสรุปได้ดังนี้
                                                                         3                 3
                       4                   4
                   3           >       5                และ          3
                                                                         4
                                                                                 <     5
                                                                                           4



                                                                         1                 1
                       3                   3
                   3           >       5                และ          3
                                                                         2
                                                                                 <     5
                                                                                           2



                       3                   3                             5                 5

                   3
                       2
                               >       5
                                           2
                                                        และ          3
                                                                         4
                                                                                 <     5
                                                                                           4



                       1                   1
                   3           >       5

                           2                   2                             2                  2
                   3               >   5                และ          3           <     5

                       0.075                   0.075                         3                  3
                   3               >       5            และ          3           <     5
                                                                         0.7                   0.7
                                                                     3           <         5




                                                           29
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                          ่
     สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                   ้




จากข้อมูลข้างต้น เราสามารถสรุปเป็นผังการเปรียบเทียบได้ดังนี้
(ครอบคลุมทั้งกรณีที่ 0 a b 1 และ 1 a b )


                                         a        b



                                    เลขชี้กาลังเท่ากัน



      เลขชี้กาลังเป็นลบ         x    0                เลขชี้กาลังเป็นบวก       x   0


                    x       x                                      x       x
                a       b                                      a       b




                                             30
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                  ่
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                           ้



                                                                        แบบฝึกหัดที่ 1

1.   จงพิจารณาว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด
                                   x
                              5                                                                                 x
     1.1     y                                 เป็นฟังก์ชัน..........                   1.2         y       2           เป็นฟังก์ชัน...........
                              7
                                           x                                                                        x
                                  1                                                                         3
     1.3     y                                       เป็นฟังก์ชัน..........             1.4         y                    เป็นฟังก์ชัน..........
                                   2                                                                        2
                                       x                                                                        x
                              1                                                                         4
     1.5     y                                      เป็นฟังก์ชัน..........              1.6         y                   เป็นฟังก์ชัน............
                              8                                                                         3
                                                x
                                  a
     1.7     y                                       ,a             0    เป็นฟังก์ชัน............
                             a         1
     1.8     y               e    x
                                               เป็นฟังก์ชัน............
                              x
                                                                                                                4x
     1.9     y               e3        เป็นฟังก์ชัน...............                      1.10        y       3             เป็นฟังก์ชัน..........

2.   โดยอาศัยสมบัติที่ฟังก์ชันเลขชี้กาลังเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก                                       ไปทั่วถึง
     จงหาค่าจานวนจริง x ที่สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้ต่อไปนี้
                 x                     2x 1
     2.1     3           = 3                                            แล้ว    x =

                 x                 1
     2.2     9           =                                              แล้ว    x =
                                  27
                         x
                 1
     2.3                      = 729                                     แล้ว    x =
                 3
                                                     2
                 y                  1
     2.4     7           =                                              แล้ว    y =
                                   343
                         y                      y
     2.5             2            = 4                                   แล้ว    y =
                         y

     2.6      2.5        2
                                  =            3.5
                                                         3y
                                                                        แล้ว    y =
                 x 1                                     1 2x
     2.7     9               = 243(3                            )       แล้ว    x =




                                                                               31
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                 ่
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                          ้




3.   จงเติมเครื่องหมาย                >,<       ลงในช่องว่าง
                      1                         1
                 3    2
                                        3       3
     3.1
                  5                      5
                          1                         1

     3.2         2
                          4
                                            2
                                                    2


                          3                         3
     3.3         2                          3
                                  2                 2
                 2            1                 3
     3.4
                      2                         4
                                  2                         2
             b        1                             a
     3.5                                                        เมื่อ   0   a, b   1
                 b                              a       1




                                                                32
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                     ่
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              ้




         2. กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง




                                     33
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                     ่
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                              ้



                                   2. กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง

         เราได้เรียนรู้ลักษณะของฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่อยู่ในรูป y a x เมื่อ a เป็นจานวนเต็มที่
มากกว่าศูนย์และไม่เท่ากับ 1 มาแล้ว ในหัวข้อนี้เราจะพิจารณากราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลังใน
รูปแบบต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยกราฟต้นแบบที่นักเรียนคุ้นเคยแล้ว เพิ่มเรื่องการเลื่อนขนานกราฟเดิมไป
ตามแนวนอนหรือตามแนวดิ่ง(แนวตั้ง) โดยอาศัยการพิจารณาจากรูปแบบของฟังก์ชันเลขชี้กาลังแบบ
ต่างๆ ให้นักเรียนดูได้จากตัวอย่างในสื่อต่อไปนี้




         จะเห็นว่ากราฟของ y 3x 2 มีลักษณะคล้ายกราฟของ y 3x เพียงแต่เลื่อน
ขนานกราฟของ y 3x ขึ้นบนตามแนวดิ่ง 2 หน่วย ผู้สอนอาจให้ตัวอย่างเพิ่มเติมในลักษณะที่
คล้ายเดิม เพียงแต่ให้เลื่อนขนานกราฟของ y 3x ลงล่างตามแนวดิ่ง 3 หน่วย กราฟที่ได้ก็จะ
เป็นกราฟของ y 3x 3 ดังภาพ

                                                                                 y
                              14

                          y                                                          12

                              12

                                                                                     10


                              10
                                                                                     8


                               8
                                                                                     6



                               6                                                     4
                                                                    x
                                                               y=3 +2
                               4                                                     2



   y = 3x + 2
                      (0, 3)
                                                               y=3   x                              x
                               2                          -4                -2                  2


   y=3   x
                                   (0,          x              y = 3x – 3            -2




                                   1)
    -4           -2                      2




                                                     34
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                   ่
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                            ้



                                               x          1
ผู้สอนลองถามนักเรียนว่า กราฟของ y             3               จะมีกราฟเป็นอย่างไร ให้นักเรียนลองร่างกราฟดู
                                                          2
หลังจากนั้นผู้สอนอาจสรุปในเบื้องต้นว่า

                                 x                                       x
         กราฟของ      y      a       k       หรือ         y     k    a       เมื่อ k       0

ลักษณะของกราฟที่ได้ จะเป็นการเลื่อนขนานกราฟ y a x ขึ้นตามแนวดิ่ง เป็นระยะ k หน่วย
(ถ้า k 0 จะเป็นการเลื่อนขนานขึ้นตามแนวดิ่ง และถ้า k 0 จะเป็นการเลื่อนขนานลงตาม
แนวดิ่ง)
         ตัวอย่างต่อไปจะเป็นตัวอย่างของกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานกราฟของฟังก์ชันเลขชีกาลัง
                                                                                     ้
เดิมไปตามแนวนอน (ทางซ้ายหรือทางขวา) ซึ่งจะมีสมการที่เราสังเกตได้ชัดเจน ให้นักเรียนดูจาก
ตัวอย่างในสื่อต่อไป




                                                                                                   x
         จากสื่อ นักเรียนคงพอมองเห็นภาพของการเลื่อนขนานกราฟ                            y       3       ไปตามแนวนอน
ทั้งทางซ้ายและทางขวา โดยดูจากสมการ y 3(x m ) ถ้า m เป็นจานวนบวก กราฟของ
        x                                                           x
y      3 ก็จะเลื่อนไปทางขวา m หน่วย และถ้า m เป็นจานวนลบ กราฟของ y 3 ก็จะ
เลื่อนไปทางซ้าย m หน่วย
                                                   x 1                                                         x   4

         ผู้สอนลองถามนักเรียนว่า         y        3
                                                      2
                                                              กราฟที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร หรือ           y    3
                                                                                                                   3



กราฟที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร


                                                          35
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                      ่
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                               ้



          เมื่อผู้สอนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจอย่างดีแล้ว                    ให้ลองเปลี่ยนฐานของเลขชี้กาลัง โดยให้
                                                       x 2
    1                           1                                                                        1
a      , m 2 ก็จะได้ y                  ซึ่งจากที่ได้ศึกษามาแล้ว                         เมื่อ   a                 1     กราฟของ
    3                           3                                                                        3
        x
     1
y         จะเป็นฟังก์ชันลด และผ่านจุด (0, 1)
     3
                                                                                                             x 2
                     x            Y                                                                      1
                                                                               กราฟของ                             จะเป็นกราฟที่
     y =  1
                                                                                            y
                                                                                                       3
                         12


         3                                                                                                                  1
                                                                                                                                  x
                         10                                           ได้จากการเลื่อนขนานกราฟของ                         y
                                                                                                                              3
                         8                                            ไปทางขวา 2 หน่วย
                         6
                                                                             เพื่อให้ง่ายต่อการสังเกต ให้ผู้สอนชี้ให้
                                                                      นักเรียนมองจุด (0, 1) ซึ่งอยู่บนกราฟ
                                                                                   x
                         4
                                                                               1
                                                                      y
                                                                               3
                         2
                                 (0, 1)                                   จุด (0, 1) จะเหมือนถูกเลื่อนขนานไป
                                             (2, 1)         X

     -2                                   2              4            ตามแนวนอนทางขวา 2 หน่วย ซึ่งก็คือจุด
                                                                      (2, 1)
                 x                Y                                                                                x 2
           1                                                                 ดังนั้น กราฟ                   1
                                                                                                                         จะผ่านจุด
    y=     
                     12
                                                                                                     y
          3                                                                                                 3
                                                                                                                                  x
                                                                                                                              1
                                                                               และทุกๆ จุดบนกราฟของ y
                     10
                                                                      (2, 1)
                                                                                                                              3
                     8
                                                                      ก็จะถูกเลื่อนขนานไปตามแนวนอน 2 หน่วย
                                              x-2
                     6             y =  1
                                                                    เช่นเดียวกับกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนาน
                                       3                                     1
                                                                                   x
                                                                      y                ก็จะกลายเป็นกราฟของ
                     4
                                                                               3
                                                                                   x 2
                                                                               1
                     2
                                          (2, 1)                      y                  นั่นเอง
                                                             X                 3
           (0, 1) 
    -2                                    2              4




                                                                 36
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                       ่
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                ้




                                                                                             x 4
                         x                 Y                                             1
                                                                              กราฟ                 จะเป็นกราฟที่ได้
             y = 1
                                   10
                                                                                     y
                                                                                       3
                3                                                                                        1
                                                                                                               x
                                   8
                                                                         จากการเลื่อนขนานกราฟของ     y             ไป
                                                                                                           3
                                                              x-2        ตามแนวนอนไปทางซ้าย 4 หน่วย (หรือไป
                                             y =  1
                                   6

                                                  
                                                 3                     ตามแนวนอน 4 หน่วย)
                        x +4
            y= 1
                                   4




               3                   2

               (4, 1)                  (0, 1)       (2, 1)
                                                            X
       -5




        ตัวอย่างต่อไปจะเป็นตัวอย่างของกราฟที่ได้จากการสะท้อนกราฟของฟังก์ชันเลขชีกาลังเดิม
                                                                                ้
โดยมีแกน X เป็นแกนสมมาตร




            ผู้สอนลองให้นักเรียนร่างกราฟของ
                                   x
                  1. y           5
                                                 x
                                            1
                   2.          y
                                            4
                                            x
                   3.          y           3         2




                                                                    37
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                                 ่
                            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                                          ้



                                                                                                       x
                ต่อไปเรามาพิจารณากราฟของ                                              y           a        เมื่อ a       1    และกราฟของ
                x
    y   a           เมื่อ     0              a       1


ตัวอย่าง
                                                              x
                                  x                      1                                                                                x
                y            3                   =                    จะมีกราฟเหมือนภาพสะท้อนของ                                  y   3           เทียบกับแกน   Y
                                                         3
                                                                      (มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร)
                                                              x
                                  x                      1                                                                                x
                y            5                   =                    จะมีกราฟเหมือนภาพสะท้อนของ                                  y   5           เทียบกับแกน   Y
                                                         5
                                                                      (มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร)

ตัวอย่าง
                                                 x                                                                                            x
                                         1                        1       x               x                                           1
เพราะว่า                y                                    3                        3            ดังนั้น กราฟของ            y                   จะมีกราฟเหมือน
                                         3                                                                                            3
            x
y       3
                                                 x                                                                                            x
                                         1                   x                                                                        1
เพราะว่า                y                                 5                                           ดังนั้น กราฟของ         y                   จะมีกราฟเหมือน
                                         5                                                                                            5
            x
y       5

                                                          x
ดังนั้น กราฟของ                              y       a                เมื่อ       0           a        1   หรือ a        1   จะเป็นภาพสะท้อนของ
                                     x                                                                                   x
                    y            a           เทียบกับแกน Y หรือกราฟของ y                                             a       จะเหมือนกับกราฟของ
                                         x
                                 1
                y
                                 a
                                                                  x                                                                                             x
                กราฟของ                      y       m a                  เมื่อ m                          {0}   จะมีลักษณะคล้ายกราฟของ y                   a

                                                                              x
เสมือนเรายืดหรือหดกราฟของ y                                               a       และกราฟจะตัดแกน Y ที่จุด (0, m)

ตัวอย่าง                                     y           (0.3)4
                                                                      x
                                                                                      จะตัดแกน Y ที่จุด (0, 0.3)
                                                                  x
                                             y           5 3                          จะตัดแกน Y ที่จุด (0, 5)
                                                         1 x                                                                  1
                                             y             5                          จะตัดแกน Y ที่จุด (0,                     )
                                                         4                                                                    4


                                                                                                  38
คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                                 ่
            สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                                          ้




       เราสรุปกราฟได้ตามผังที่ 1 และ 2.1 และ 2.2 ในหน้าต่อไปดังนี้

                                                            ผังที่ 1

                                                   x
                                   y           a       ,a         0    และ   a       1




                     0   a        1                                                          a     1

                 เป็นฟังก์ชันลด                                                      เป็นฟังก์ชันเพิ่ม




                             x                                                               x m
            y    k       a ,k                                                    y       a         ,m
                                               x
          เลื่อนขนานกราฟ y                 a                               เลื่อนขนานกราฟ y a x
       ตามแนวดิ่งเป็นระยะทาง           k   หน่วย                       ตามแนวนอนเป็นระยะทาง m หน่วย



                                                            x m
                                       y       k        a         , k, m

                เลื่อนขนานกราฟ y a x ตามแนวนอนเป็นระยะทาง m หน่วย
                       และเลื่อนขนานตามแนวดิ่งเป็นระยะทาง k หน่วย


หมายเหตุ   ถ้า    k      0       จะเป็นการเลื่อนขนานตามแนวดิ่ง (แนวตั้ง) ขึ้นบน
        และถ้า    k      0       จะเป็นการเลื่อนขนานตามแนวดิ่ง (แนวตั้ง) ลงล่าง
หมายเหตุ ถ้า      m      0        จะเป็นการเลื่อนขนานไปทางขวาตามแนวนอน (แนวราบ)
        และถ้า    m      0        จะเป็นการเลื่อนขนานไปทางซ้ายตามแนวนอน (แนวราบ)


                                                             39
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม

More Related Content

What's hot

อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
aoynattaya
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
Inmylove Nupad
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
ssusera0c3361
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
K.s. Mam
 
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point   ยีนและโครโมโซมMicrosoft power point   ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
Aomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
ความน่าจะเป็นและวิธีนับ(Probability)
 
ปก
ปกปก
ปก
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 
ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1ฟังก์ชัน1
ฟังก์ชัน1
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจแบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
แบบฝึกทักษะแคลคูลัสเบื้องต้น สว.กจ
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์2(บันทึกการเสนอโครงงาน)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p0...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์2(บันทึกการเสนอโครงงาน)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p0...ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์2(บันทึกการเสนอโครงงาน)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p0...
ใบความรู้+โครงงานวิทยาศาสตร์2(บันทึกการเสนอโครงงาน)+ป.5+274+dltvscip5+54sc p0...
 
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point   ยีนและโครโมโซมMicrosoft power point   ยีนและโครโมโซม
Microsoft power point ยีนและโครโมโซม
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 

Viewers also liked

ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2
 ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2 ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2
ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2
Chaichan Boonmak
 
วิเคราะห์โจทย์ลบ
วิเคราะห์โจทย์ลบวิเคราะห์โจทย์ลบ
วิเคราะห์โจทย์ลบ
tipzeen
 

Viewers also liked (20)

42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2
 ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2 ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2
ม.ปลาย คณิตศาสตร์_ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลและลอกการิทึม2
 
วิเคราะห์โจทย์ลบ
วิเคราะห์โจทย์ลบวิเคราะห์โจทย์ลบ
วิเคราะห์โจทย์ลบ
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์6 อนุกรมอนันต์
6 อนุกรมอนันต์
 
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ247 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
47 ตรีโกณมิติ ตอนที่4_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ2
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
บทที่ 6 ความน่าจะเป็น
บทที่ 6 ความน่าจะเป็นบทที่ 6 ความน่าจะเป็น
บทที่ 6 ความน่าจะเป็น
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]ลอการิทึม..[1]
ลอการิทึม..[1]
 
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
51 ตรีโกณมิติ ตอนที่8_ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
64 ลำดับและอนุกรม ตอนที่6_ทฤษฏีบทการลู่เข้าของอนุกรม
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 

Similar to 39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม

Similar to 39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม (20)

30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
32 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่3_อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
34 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่5_พีชคณิตของฟังก์ชัน
34 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่5_พีชคณิตของฟังก์ชัน34 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่5_พีชคณิตของฟังก์ชัน
34 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่5_พีชคณิตของฟังก์ชัน
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
19 จำนวนจริง ตอนที่6_เทคนิคการแก้อสมการ
 
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง175 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
75 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่2_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง1
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
22 จำนวนจริง ตอนที่9_กราฟค่าสัมบูรณ์
 
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
36 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่7_ฟังก์ชันประกอบ
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม (เนื้อหาตอนที่ 2) ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง โดย รองศาสตราจารย์ เพ็ญพรรณ ยังคง สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม สื่อการสอน เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม 2. เนื้อหาตอนที่ 1 เลขยกกาลัง - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนเต็ม - เลขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานอนตรรกยะ - เขยกกาลังที่มีเลขชี้กาลังเป็นจานวนอตรรกยะ 3. เนื้อหาตอนที่ 2 ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม - ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง - กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง - สมการเลขชี้กาลัง 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ลอการิทึม - ฟังก์ชันลอการิทึม - กราฟของฟังก์ชันลอการิทึม - สมการลิการิทึม 5. เนื้อหาตอนที่ 4 อสมการเลขชี้กาลัง - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของเลขยกกาลัง - สมการและอสมการของเลขยกกาลัง - ฟังก์ชันเลขชี้กาลังในชีวิตประจาวัน 6. เนื้อหาตอนที่ 5 อสมการลอการิทึม - ทบทวนสมบัติที่สาคัญของลอการิทึม - สมการและอสมการลอการิทึม - ปัญหาในชีวิตประจาวันที่เกียวข้องกับฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชัน ลอการิทึม 7. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3) 10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4) 11. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 1
  • 3. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการ สอนส าหรั บ ครู และนั ก เรี ย นทุ ก โรงเรี ย นที่ ใ ช้ สื่ อ ชุ ด นี้ ร่ ว มกั บ การเรี ย นการสอนวิ ช า คณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และ ชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้ 2
  • 4. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เรื่อง ฟังก์ชันเลขชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม หมวด เนื้อหา ตอนที่ 2 (2/5) หัวข้อย่อย 1. ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง 2. กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. เข้าใจความหมายและสมบัติของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง 2. สามารถบอกได้ว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด 3. มีความเข้าใจเกี่ยวกับกราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลังได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถ 1. บอกสมบัติของฟังก์ชันเลขชี้กาลังและนาไปใช้ได้ 2. ระบุได้ว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด 3. เปรียบเทียบเลขยกกาลังสองจานวนที่มีฐานเท่ากันได้ 4. เปรียบเทียบเลขยกกาลังสองจานวนที่มีเลขชี้กาลังเท่ากันได้ 5. อธิบายและร่างกราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้ได้ 3
  • 5. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เนื้อหาในสื่อการสอน 4
  • 6. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 5
  • 7. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1. ฟังก์ชันเลขชีกาลัง ้ 6
  • 8. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1. ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง จากสื่อนักเรียนจะพบว่า กราฟของฟังก์ชัน f (x ) 2x เมื่อ x D โดยที่ D เป็น เซตของจานวนจริงเต็ม ต่อไปขยายเป็นเซตของจานวนตรรกยะ และท้ายสุดเป็นเซตของจานวนจริง กราฟของฟังก์ชัน f ที่ได้จะเพิ่มความละเอียดขึ้นเรื่อยๆ จนในที่สุดก็เป็นกราฟที่มีความต่อเนื่องไม่ ขาดตอน และมีลักษณะเด่นคือเป็นฟังก์ชันเพิ่ม คือเมื่อ x มีค่าเพิ่มขึ้น ค่าของฟังก์ชัน f ก็จะ เพิ่มขึ้นด้วย ซึ่งต่อไปเราจะเรียกฟังก์ชันแบบนี้ว่า ฟังก์ชันเพิ่ม ให้นักเรียนดูสื่อต่อไป ตัวอย่างต่อไปจะเป็นการพิจารณากราฟของฟังก์ชัน g(x ) 3x 7
  • 9. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ จากฟังก์ชัน f (x ) 3x เมื่อ x D เมื่อพิจารณา D ในทานองเดียวกันกับฟังก์ชัน x f (x ) 2 ก็จะพบว่า มีลักษณะคล้ายกันคือ เป็นฟังก์ชันเพิ่ม เมื่อนักเรียนได้เห็นตัวอย่างทั้งสอง x ตัวอย่างแล้วผู้สอนอาจชี้ให้นักเรียนสังเกตว่า ฟังก์ชันทั้งสองอยู่ในรูปแบบ f (x ) a โดยที่ ตัวอย่างแรก a 2 และตัวอย่างที่ 2 a 3 ซึ่งขอเรียก a ว่า “ฐาน” จะเห็นว่า ฐานเป็น จานวนบวกที่มากกว่า 1 ครูลองตั้งคาถามเพื่อถามนักเรียนว่า แล้วถ้าฐานเป็นจานวนบวกที่น้อยกว่า 1 กราฟจะเป็นอย่างไร จะยังเป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือไม่ และถ้านักเรียนยังนึกภาพไม่ออกก็ขอให้ดูสื่อต่อไป 8
  • 10. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x 1 จากฟังก์ชัน f (x ) นักเรียนจะเห็นว่า ฐานเป็นจานวนจริงบวกที่น้อยกว่า 1 2 กราฟที่ได้เป็นฟังก์ชันลด เพื่อให้ผู้เรียนได้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น ผู้สอนอาจยกตัวอย่างเพิ่มเติมโดยให้ x 1 1 a ซึ่งก็คือ f (x ) ก็จะเห็นว่าเป็นฟังก์ชันลดเช่นเดียวกัน และทั้งสองกราฟมีจุด 3 3 ร่วมกัน 1 จุด คือจุด (0, 1) 9
  • 11. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x x x 1 1 Y y 3 y y 3 2 (0, 1) X x x x 1 เราได้ข้อสรุปเบื้องต้นว่า ทั้งสามตัวอย่าง y 3 ,y 2 , และ y อยู่ใน 2 x รูปแบบ y a และ a เป็นจานวนจริงบวก แต่ละตัวอย่างมีฐานไม่เท่ากัน แต่มีโดเมนเดียวกัน คือ นักเรียนอาจสงสัยว่า แล้วค่าของฐานซึ่งคือ a เป็นลบได้หรือไม่ ให้นักเรียนดูสื่อต่อไป จะมี คาอธิบายว่าทาไมเราจึงไม่สนใจในกรณีที่ a เป็นลบ 10
  • 12. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เพื่อให้นักเรียนได้เห็นตัวอย่างในกรณีที่ a 0 เพิ่มขึ้น ผู้สอนควรยกตัวอย่างเพิ่มเติม 3 โดยให้ a 3, 5, 2 11
  • 13. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 1 1 x เมื่อ a 3 และ x จะได้ a ( 3) 2 2 1 1 x a 5 และ x จะได้ a ( 5) 2 2 1 3 1 x 3 2 a และ x จะได้ a 2 2 2 x ดังนั้น ในกรณีที่ a 0 จึงไม่น่าสนใจ เพราะมีปัญหาในการหาค่า a สาหรับบางค่าของ x เรา จึงสนใจจานวนจริง a เฉพาะเมื่อ a 0 เท่านั้น ต่อไปเราจะพิจารณากรณีที่ a 0 และ a 1 12
  • 14. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 13
  • 15. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ สรุปได้ว่า ฐาน a เป็นจานวนจริงที่มีข้อจากัดดังนี้ 1. a ต้องเป็นจานวนจริงบวก (a > 0) และ 2. a  1 a นั่นคือ 0 a 1 หรือ a 1 0 0 0 1 หรือเราแบ่ง a เป็น 2 ช่วงคือ a (0, 1) และ 0( )0( 0 1 a (1, ) ในช่วงต่อไปเราจะนิยามฟังก์ชันที่มีรูปแบบเหมือนฟังก์ชันที่นักเรียนได้ดูจากสื่อไปแล้ว และให้ชื่อว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลัง หรือฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล โดยจะเพิ่มรายละเอียดโดยพิจารณา จากฐานของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง ซึ่งเราแทนด้วย a โดยแบ่งการพิจารณาฐาน a เป็น 2 ช่วง คือ 0 a 1 และ a 1 14
  • 16. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 15
  • 17. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x จากสื่อนักเรียนได้เห็นกราฟของ y a เมื่อ 0 a 1 และได้ข้อสรุปร่วมกันว่า x 1. y a เป็นฟังก์ชันลด 2. ทุกกราฟผ่านจุด (0, 1) (และไม่ตดแกน X ) ั 3. ทุกกราฟมีจุดร่วมกัน 1 จุด คือ (0, 1) (กราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) ) x 4. y a เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก ทั่วถึง (ค่าของ a x เป็นบวกเสมอ ไม่ว่า x เป็นจานวนจริงบวกหรือลบ หรือเมื่อ x ) เพื่อให้นักเรียนสามารถนาข้อสรุปข้างต้นไปใช้ประโยชน์ได้ ให้ผู้สอนลองให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด สั้นๆ ต่อไปนี้ 16
  • 18. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ แบบฝึกหัดย่อย 1. จงเติมเครื่องหมาย >,< ลงในช่องว่าง 4 5 3 5 1 1 1 1 1.1 1.2 3 3 3 3 3 3 1 4 1 2 1 1 2 1 4 1.3 1.4 3 3 3 3 1 4 3 4 1 1 1 7 1 3 1.5 1.6 3 3 3 3 1 2 4 (เมื่อนักเรียนตอบได้ถูกต้องแล้ว ผู้สอนลองเปลี่ยนโจทย์ใหม่ โดยให้ a , , แทนที่ 5 3 3 1 a แล้วให้นักเรียนตอบคาถามในข้อ 1. ใหม่ โดยเน้นย้านักเรียนว่า ควรพิจารณาเมื่อ 3 ฐานของเลขยกกาลังเท่ากัน และฐานมีค่ามากกว่าศูนย์และน้อยกว่าหนึ่ง) 2. จงหาค่า x ที่สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้ต่อไปนี้ x 1 2.1 1 แล้ว x = 4 x 2.2 (2.5) 1 แล้ว x = x x 1 1 2.3 แล้ว x = 3 5 x 1 2.4 256 แล้ว x = 2 คาตอบ 1. 1.1 > 1.2 < 1.3 > 1.4 > 1.5 > 1.6 < 2. 2.1 0 2.2 0 2.3 0 2.4 16 17
  • 19. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 18
  • 20. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x y a Y x y b P o o Q 0 a b 1  (0, 1)  x 0 X x y a Y x y b P o o 0 a b 1 Q  (0, 1)  x 0 X พิจารณา กราฟของ y a x และ y b x โดยที่ 0 a b 1 ถ้า x ( , 0) ที่จุด P (x, a x ) และ Q(x , b x ) นักเรียนจะเห็นว่า ความชันของเส้นสัมผัสที่จุด P และ Q นั้นมีค่าเป็นลบเสมอ และ ถ้าให้ความชันของเส้นสัมผัสที่สัมผัสกราฟของ y a x ที่จุด P มีค่าเท่ากับ mP และความชันของเส้นสัมผัสที่สัมผัสกราฟของ y b x ที่จุด Q มีค่าเท่ากับ mQ แล้ว mP mQ 0 และเมื่อ มีค่าเข้าใกล้ 1 ก็จะเห็นว่า ความชัน mQ มีค่าเข้าใกล้ 0 b ในส่วนนี้ คุณครูผู้สอนอาจอธิบายในลักษณะที่ว่า ความชันของเส้นสัมผัสกราฟที่จุด P จะ มีค่าติดลบมากกว่าความชันของเส้นสัมผัสกราฟที่จุด Q 19
  • 21. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ สรุปง่ายๆ ก็คือ กราฟของ y a x อยู่เหนือกราฟของ y b x เมื่อ 0 a b 1 เฉพาะ x ที่อยู่ทางด้านซ้ายของแกน Y ซึงก็คือ x 0 ่ Y y=b x y = ax (0, 1) y=1 X x สาหรับ x ที่อยู่ทางด้านขวาของแกน X ซึ่งก็คือ x 0 กราฟของ y b จะอยู่เหนือ กราฟของ y a x และทั้งสองกราฟส่วนที่ x 0 จะอยู่ใต้เส้นตรง y 1 Y (0, 1) y=1 y = bx y = ax X x และถ้า b มีค่าเข้าใกล้ 1 มากเท่าใด กราฟของ y b จะยิ่งเข้าใกล้กราฟของ y 1 แต่อย่าลืม ว่า กราฟของ y b x จะไม่ตัดแกน X เป็นอันขาด 20
  • 22. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x 1 Y y 7 x x 6 1 y 7 7 (0, 1)  y=1 X กราฟส่วนที่ x 0 Y x 6 y (0, 1) y=1 7  x X 1 y 7 กราฟส่วนที่ x 0 เพื่อให้มองได้ชัดเจนขึ้น ผู้สอนอาจแยกส่วนของกราฟให้นักเรียนดู โดยแบ่งการพิจารณา เป็น 2 ส่วน คือ เมื่อ x 0 หรือ x ( , 0 ] และส่วนที่ x 0 คือ x [ 0, ) เมื่อมองภาพได้ชัดเจนทั้งสองส่วนแล้ว จึงค่อยนาภาพมาต่อกัน หรือรวมกันทั้งสองส่วนก็จะ ได้กราฟต่อเนื่อง นั่นคือ พิจารณากราฟทุกค่าของจานวนจริง x 21
  • 23. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ และเพื่อให้เห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้น เรามองภาพเจาะลึกในแต่ละส่วน เมื่อ x 0 และ x 0 โดยมีตัวแทน x ส่วนที่ x 0 กาหนดให้เป็น x1 ดังนั้น x1 ( , 0) นั่นเอง และในส่วนที่ x 0 เรากาหนดให้เป็น x 2 ดังนั้น x 2 (0, ) x1 x x2 a   )|( 0 1 0 เมื่อเรามีตัวแทนในแต่ละส่วนแล้ว ให้นักเรียนดูรายละเอียดในสื่อต่อไป 22
  • 24. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 23
  • 25. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เมื่อนักเรียนดูสื่อในส่วนนี้เสร็จแล้ว ผู้สอนลองให้นักเรียนทาแบบฝึกหัดย่อยเพิ่มเติมดังนี้ แบบฝึกหัดย่อย 1. จงเติมเครื่องหมาย >,< ลงในช่องว่าง 1 1 2 2 1 2 1 3 2 3 1.1 1.2 3 3 3 3 2 2 3 3 3 4 3 4 1.3 1.4 4 5 4 5 1 1 5 2 4 2 1.5 1.6 0.25 0.2 0.75 0.2 6 5 1.7 0.5 0.5 0.75 0.2 1.8 0.6 0.5 0.2 0.5 4 2 1 2 1.9 0.5 3 0.75 2 1.10 3 3 1 1 4 2 1 3 2 4 1 2 1.11 1.12 3 3 3 3 24
  • 26. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 2. จงเติมเครื่องหมาย >,,<,,= ลงในช่องว่าง เมื่อกาหนดให้ x 1 2.1  1 แล้ว x 0 2 2.2 3 x > 1 แล้ว x 0 x 1 2.3  1 แล้ว x 0 5 x 3 2.4 > 1 แล้ว x 0 2 x 1 2.5 < 1 แล้ว x 0 2 x 1 2.6 3  1 แล้ว x 0 5 x x 1 1 2.7  แล้ว x 0 3 2 x 3x 2.8 3 > 2 แล้ว x 0 คาตอบ 1. 1.1 > 1.2 > 1.3 > 1.4 < 1.5 < 1.6 > 1.7 > 1.8 < 1.9 < 1.10 < 1.11 < 1.12 > 2. 2.1  2.2 < 2.3  2.4 < 2.5 > 2.6  2.7  2.8 > 25
  • 27. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x เราได้พิจารณากราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง y a เมื่อ 0 a 1 ไปแล้ว และ ได้ทาแบบฝึกหัดย่อยประกอบความเข้าใจ นักเรียนคงมีความมั่นใจเพิ่มขึ้นว่า ถ้าจะถามค่าของเลข ยกกาลัง 2 จานวน ที่มีฐานเท่ากันและอยู่ในรูปจานวนตรรกยะ a p ซึ่งมีค่ามากกว่าศูนย์และ q น้อยกว่าหนึ่ง โดยเลขชี้กาลังต่างกันแล้ว สามารถบอกได้ว่าจานวนใดมีค่ามากกว่ากัน x สื่อส่วนต่อไปจะเป็นการพิจารณากราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง y a เมื่อ a 1 x ข้อสรุปสาหรับฟังก์ชันเลขชี้กาลัง y a เมื่อ a 1 หรือ a (1, ) 1. y a x เป็นฟังก์ชันเพิ่ม 2. ทุกกราฟผ่านจุด (0, 1) (และไม่ตัดแกน X ) 3. ทุกกราฟมีจุดร่วมกันเพียง 1 จุด คือ (0, 1) (กราฟตัดแกน Y ที่จุด (0, 1) ) 4. y a x เป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก ทั่วถึง (ค่าของ a x เป็นบวกเสมอ ไม่ว่า x เป็นจานวนจริงบวกหรือลบ หรือเมื่อ x ) 26
  • 28. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เพื่อให้นักเรียนสามารถนาข้อสรุปข้างต้นไปใช้ประโยชน์ได้ ให้ผู้สอนลองให้นักเรียนทา แบบฝึกหัดสั้นๆ ต่อไปนี้ แบบฝึกหัดย่อย 1. จงเติมเครื่องหมาย >,< ลงในช่องว่าง 1 1 3.5 2.5 1.1 2 2 1.2 2 3 2 2 4 1.5 4 3 1.3 2 2 1.4 2 2 1 2 3 2 1 1 1.5 2 2 1.6 2 2 เมื่อนักเรียนตอบได้ถูกต้องแล้ว ผู้สอนลองเปลี่ยนโจทย์ใหม่ โดยแทนที่ 2 หรือ 2 ด้วย 3, 3 , 5 , 5 , 7 , 7 แล้วให้นักเรียนตอบคาถามในข้อ 1. ใหม่ 2. จงเติมเครื่องหมาย >,,<, ลงในช่องว่าง เมื่อกาหนดให้ x 3 2.1  1 แล้ว x 0 2 x 4 2.2  1 แล้ว x 0 3 x 1 2.3  1 แล้ว x 0 5 x 3 2.4 > 1 แล้ว x 0 2 x b 2.5  1 , b 1 แล้ว x 0 b 1 คาตอบ 1. 1.1 > 1.2 > 1.3 < 1.4 < 1.5 < 1.6 < 2. 2.1  2.2  2.3  2.4 > 2.5  27
  • 29. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ ข้อสรุปสาหรับ ฟังก์ชันเลขชี้กาลัง y a x ในกรณีที่ a 1 เราทราบแล้วว่า เป็น ฟังก์ชันเพิ่ม และเพื่อให้เห็นภาพได้ชัดเจนยิ่งขึ้นเรามองภาพเจาะลึกในแต่ละส่วน เมื่อ x 0 และ x 0 โดยมีตัวแทน กาหนดให้เป็น x1 และ x 2 โดยที่ x 1 0 และ x 2 0 x x ในหัวข้อนี้เราจะเปรียบเทียบ ฟังก์ชันเลขชี้กาลังสองฟังก์ชันคือ y a และ y b ซึ่ง ทั้ง a และ b มีสมบัติดังนี้ x x 1 a b และ x เราพิจารณา y a และ y b โดยแบ่ง x เป็น 2 ช่วง คือ x 0 และ x 0 x เมื่อให้นักเรียนดูสื่อต่อไป นักเรียนจะพบกับการเปรียบเทียบกันระหว่าง y a และ x y b 28
  • 30. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ ตัวอย่าง เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนในการแสดงการเปรียบเทียบ เรากาหนดค่าของ a และ b ที่ ชัดเจนและสอดคล้องกับเงื่อนไข 1 a b โดยกาหนดให้ 3 a 3 ,b 5 และ x1 4, 3, , 1, 2, 0.075 2 3 1 5 x2 , , , 2, 3 , 0.7 4 2 4 จากข้อมูลของ a, b, x1, x 2 จะสรุปได้ดังนี้ 3 3 4 4 3 > 5 และ 3 4 < 5 4 1 1 3 3 3 > 5 และ 3 2 < 5 2 3 3 5 5 3 2 > 5 2 และ 3 4 < 5 4 1 1 3 > 5 2 2 2 2 3 > 5 และ 3 < 5 0.075 0.075 3 3 3 > 5 และ 3 < 5 0.7 0.7 3 < 5 29
  • 31. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ จากข้อมูลข้างต้น เราสามารถสรุปเป็นผังการเปรียบเทียบได้ดังนี้ (ครอบคลุมทั้งกรณีที่ 0 a b 1 และ 1 a b ) a b เลขชี้กาลังเท่ากัน เลขชี้กาลังเป็นลบ x 0 เลขชี้กาลังเป็นบวก x 0 x x x x a b a b 30
  • 32. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ แบบฝึกหัดที่ 1 1. จงพิจารณาว่าฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็นฟังก์ชันเพิ่มหรือฟังก์ชันลด x 5 x 1.1 y เป็นฟังก์ชัน.......... 1.2 y 2 เป็นฟังก์ชัน........... 7 x x 1 3 1.3 y เป็นฟังก์ชัน.......... 1.4 y เป็นฟังก์ชัน.......... 2 2 x x 1 4 1.5 y เป็นฟังก์ชัน.......... 1.6 y เป็นฟังก์ชัน............ 8 3 x a 1.7 y ,a 0 เป็นฟังก์ชัน............ a 1 1.8 y e x เป็นฟังก์ชัน............ x 4x 1.9 y e3 เป็นฟังก์ชัน............... 1.10 y 3 เป็นฟังก์ชัน.......... 2. โดยอาศัยสมบัติที่ฟังก์ชันเลขชี้กาลังเป็นฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่งจาก ไปทั่วถึง จงหาค่าจานวนจริง x ที่สอดคล้องกับสมการที่กาหนดให้ต่อไปนี้ x 2x 1 2.1 3 = 3 แล้ว x = x 1 2.2 9 = แล้ว x = 27 x 1 2.3 = 729 แล้ว x = 3 2 y 1 2.4 7 = แล้ว y = 343 y y 2.5 2 = 4 แล้ว y = y 2.6 2.5 2 = 3.5 3y แล้ว y = x 1 1 2x 2.7 9 = 243(3 ) แล้ว x = 31
  • 33. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 3. จงเติมเครื่องหมาย >,< ลงในช่องว่าง 1 1 3 2 3 3 3.1 5 5 1 1 3.2 2 4 2 2 3 3 3.3 2 3 2 2 2 1 3 3.4 2 4 2 2 b 1 a 3.5 เมื่อ 0 a, b 1 b a 1 32
  • 34. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 2. กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง 33
  • 35. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ 2. กราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลัง เราได้เรียนรู้ลักษณะของฟังก์ชันเลขชี้กาลังที่อยู่ในรูป y a x เมื่อ a เป็นจานวนเต็มที่ มากกว่าศูนย์และไม่เท่ากับ 1 มาแล้ว ในหัวข้อนี้เราจะพิจารณากราฟของฟังก์ชันเลขชี้กาลังใน รูปแบบต่างๆ ซึ่งต้องอาศัยกราฟต้นแบบที่นักเรียนคุ้นเคยแล้ว เพิ่มเรื่องการเลื่อนขนานกราฟเดิมไป ตามแนวนอนหรือตามแนวดิ่ง(แนวตั้ง) โดยอาศัยการพิจารณาจากรูปแบบของฟังก์ชันเลขชี้กาลังแบบ ต่างๆ ให้นักเรียนดูได้จากตัวอย่างในสื่อต่อไปนี้ จะเห็นว่ากราฟของ y 3x 2 มีลักษณะคล้ายกราฟของ y 3x เพียงแต่เลื่อน ขนานกราฟของ y 3x ขึ้นบนตามแนวดิ่ง 2 หน่วย ผู้สอนอาจให้ตัวอย่างเพิ่มเติมในลักษณะที่ คล้ายเดิม เพียงแต่ให้เลื่อนขนานกราฟของ y 3x ลงล่างตามแนวดิ่ง 3 หน่วย กราฟที่ได้ก็จะ เป็นกราฟของ y 3x 3 ดังภาพ y 14 y 12 12 10 10 8 8 6 6 4 x y=3 +2 4 2 y = 3x + 2 (0, 3) y=3 x x 2 -4 -2 2 y=3 x (0, x y = 3x – 3 -2 1) -4 -2 2 34
  • 36. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x 1 ผู้สอนลองถามนักเรียนว่า กราฟของ y 3 จะมีกราฟเป็นอย่างไร ให้นักเรียนลองร่างกราฟดู 2 หลังจากนั้นผู้สอนอาจสรุปในเบื้องต้นว่า x x กราฟของ y a k หรือ y k a เมื่อ k 0 ลักษณะของกราฟที่ได้ จะเป็นการเลื่อนขนานกราฟ y a x ขึ้นตามแนวดิ่ง เป็นระยะ k หน่วย (ถ้า k 0 จะเป็นการเลื่อนขนานขึ้นตามแนวดิ่ง และถ้า k 0 จะเป็นการเลื่อนขนานลงตาม แนวดิ่ง) ตัวอย่างต่อไปจะเป็นตัวอย่างของกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนานกราฟของฟังก์ชันเลขชีกาลัง ้ เดิมไปตามแนวนอน (ทางซ้ายหรือทางขวา) ซึ่งจะมีสมการที่เราสังเกตได้ชัดเจน ให้นักเรียนดูจาก ตัวอย่างในสื่อต่อไป x จากสื่อ นักเรียนคงพอมองเห็นภาพของการเลื่อนขนานกราฟ y 3 ไปตามแนวนอน ทั้งทางซ้ายและทางขวา โดยดูจากสมการ y 3(x m ) ถ้า m เป็นจานวนบวก กราฟของ x x y 3 ก็จะเลื่อนไปทางขวา m หน่วย และถ้า m เป็นจานวนลบ กราฟของ y 3 ก็จะ เลื่อนไปทางซ้าย m หน่วย x 1 x 4 ผู้สอนลองถามนักเรียนว่า y 3 2 กราฟที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร หรือ y 3 3 กราฟที่ได้จะมีลักษณะอย่างไร 35
  • 37. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เมื่อผู้สอนแน่ใจว่านักเรียนเข้าใจอย่างดีแล้ว ให้ลองเปลี่ยนฐานของเลขชี้กาลัง โดยให้ x 2 1 1 1 a , m 2 ก็จะได้ y ซึ่งจากที่ได้ศึกษามาแล้ว เมื่อ a 1 กราฟของ 3 3 3 x 1 y จะเป็นฟังก์ชันลด และผ่านจุด (0, 1) 3 x 2 x Y 1 กราฟของ จะเป็นกราฟที่ y =  1 y   3 12 3 1 x 10 ได้จากการเลื่อนขนานกราฟของ y 3 8 ไปทางขวา 2 หน่วย 6 เพื่อให้ง่ายต่อการสังเกต ให้ผู้สอนชี้ให้ นักเรียนมองจุด (0, 1) ซึ่งอยู่บนกราฟ x 4 1 y 3 2 (0, 1) จุด (0, 1) จะเหมือนถูกเลื่อนขนานไป  (2, 1) X -2 2 4 ตามแนวนอนทางขวา 2 หน่วย ซึ่งก็คือจุด (2, 1) x Y x 2  1 ดังนั้น กราฟ 1 จะผ่านจุด y=   12 y 3 3 x 1 และทุกๆ จุดบนกราฟของ y 10 (2, 1) 3 8 ก็จะถูกเลื่อนขนานไปตามแนวนอน 2 หน่วย x-2 6 y =  1   เช่นเดียวกับกราฟที่ได้จากการเลื่อนขนาน 3 1 x y ก็จะกลายเป็นกราฟของ 4 3 x 2 1 2 (2, 1) y นั่นเอง X 3 (0, 1)  -2 2 4 36
  • 38. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x 4 x Y 1 กราฟ จะเป็นกราฟที่ได้ y = 1 10 y   3 3 1 x 8 จากการเลื่อนขนานกราฟของ y ไป 3 x-2 ตามแนวนอนไปทางซ้าย 4 หน่วย (หรือไป y =  1 6   3 ตามแนวนอน 4 หน่วย) x +4 y= 1 4 3 2 (4, 1) (0, 1) (2, 1)    X -5 ตัวอย่างต่อไปจะเป็นตัวอย่างของกราฟที่ได้จากการสะท้อนกราฟของฟังก์ชันเลขชีกาลังเดิม ้ โดยมีแกน X เป็นแกนสมมาตร ผู้สอนลองให้นักเรียนร่างกราฟของ x 1. y 5 x 1 2. y 4 x 3. y 3 2 37
  • 39. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ x ต่อไปเรามาพิจารณากราฟของ y a เมื่อ a 1 และกราฟของ x y a เมื่อ 0 a 1 ตัวอย่าง x x 1 x y 3 = จะมีกราฟเหมือนภาพสะท้อนของ y 3 เทียบกับแกน Y 3 (มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร) x x 1 x y 5 = จะมีกราฟเหมือนภาพสะท้อนของ y 5 เทียบกับแกน Y 5 (มีแกน Y เป็นแกนสมมาตร) ตัวอย่าง x x 1 1 x x 1 เพราะว่า y 3 3 ดังนั้น กราฟของ y จะมีกราฟเหมือน 3 3 x y 3 x x 1 x 1 เพราะว่า y 5 ดังนั้น กราฟของ y จะมีกราฟเหมือน 5 5 x y 5 x ดังนั้น กราฟของ y a เมื่อ 0 a 1 หรือ a 1 จะเป็นภาพสะท้อนของ x x y a เทียบกับแกน Y หรือกราฟของ y a จะเหมือนกับกราฟของ x 1 y a x x กราฟของ y m a เมื่อ m {0} จะมีลักษณะคล้ายกราฟของ y a x เสมือนเรายืดหรือหดกราฟของ y a และกราฟจะตัดแกน Y ที่จุด (0, m) ตัวอย่าง y (0.3)4 x จะตัดแกน Y ที่จุด (0, 0.3) x y 5 3 จะตัดแกน Y ที่จุด (0, 5) 1 x 1 y 5 จะตัดแกน Y ที่จุด (0, ) 4 4 38
  • 40. คู่มือสือการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง ่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ้ เราสรุปกราฟได้ตามผังที่ 1 และ 2.1 และ 2.2 ในหน้าต่อไปดังนี้ ผังที่ 1 x y a ,a 0 และ a 1 0 a 1 a 1 เป็นฟังก์ชันลด เป็นฟังก์ชันเพิ่ม x x m y k a ,k y a ,m x เลื่อนขนานกราฟ y a เลื่อนขนานกราฟ y a x ตามแนวดิ่งเป็นระยะทาง k หน่วย ตามแนวนอนเป็นระยะทาง m หน่วย x m y k a , k, m เลื่อนขนานกราฟ y a x ตามแนวนอนเป็นระยะทาง m หน่วย และเลื่อนขนานตามแนวดิ่งเป็นระยะทาง k หน่วย หมายเหตุ ถ้า k 0 จะเป็นการเลื่อนขนานตามแนวดิ่ง (แนวตั้ง) ขึ้นบน และถ้า k 0 จะเป็นการเลื่อนขนานตามแนวดิ่ง (แนวตั้ง) ลงล่าง หมายเหตุ ถ้า m 0 จะเป็นการเลื่อนขนานไปทางขวาตามแนวนอน (แนวราบ) และถ้า m 0 จะเป็นการเลื่อนขนานไปทางซ้ายตามแนวนอน (แนวราบ) 39