SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  41
Télécharger pour lire hors ligne
คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

                    เรื่อง

                  ตรีโกณมิติ
              (เนื้อหาตอนที่ 3)
             ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1

                     โดย

      รองศาสตราจารย์ จิตรจวบ เปาอินทร์


     สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
  คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
              กระทรวงศึกษาธิการ
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
       สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                               สื่อการสอน เรื่อง ตรีโกณมิติ
      สื่อการสอน เรื่อง ตรีโกณมิติ มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 15 ตอน ซึ่งประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
2. เนื้อหาตอนที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                     - สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและทฤษฎีบทพีทาโกรัส
                     - อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                     - อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60
3. เนื้อหาตอนที่ 2 เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและวงกลมหนึ่งหน่วย
                     - เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
                     - วงกลมหนึ่งหน่วย การวัดมุมและหน่วยของมุม
4. เนื้อหาตอนที่ 3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
                     - ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม
                     - ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60
5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
                     - ความแตกต่างและความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
                        กับฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                     - ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมในจตุภาคต่าง ๆ
6. เนื้อหาตอนที่ 5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
                     - ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของมุม
                     - สูตรผลคูณ ผลบวกและผลต่างของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
7. เนื้อหาตอนที่ 6 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์
                     - กฎของไซน์
                     - กฎของโคไซน์
8. เนื้อหาตอนที่ 7 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                     - การเปิดตารางหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                     - กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ




                                                 1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
        สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



9. เนื้อหาตอนที่ 8        ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                         - ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                         - สมบัติและความสัมพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1)
 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2)
10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3)
11. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4)
12. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง)
13. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง มุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย
14. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติและฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
15. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กฎของไซน์และกฎของโคไซน์

         คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับ
ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่ อง ตรีโกณมิติ
นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว
ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้า ยของ
คู่มือฉบับนี้




                                                  2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
              สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



เรื่อง        ตรีโกณมิติ (ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1)
หมวด          เนื้อหา
ตอนที่        3 (3 / 8)

หัวข้อย่อย    1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม
              2. ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60



จุดประสงค์การเรียนรู้
       เพื่อให้ผู้เรียน
    1. เกิดความเข้าใจในมโนทัศน์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม
    2. สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 0 90 180 270 และ 360 ได้
    3. สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิตของมุมบางมุมในจตุภาคที่ 1 (30 45 และ 60) ได้
                                    ิ



ผลการเรียนรู้
       ผู้เรียนสามารถ
    1. บอกบทนิยามของฟังกันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุมได้
    2. หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 0 90 180 270 และ 360 ได้
    3. หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 ได้




                                                        3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                           เนือหาในสื่อการสอน
                              ้




                                เนื้อหาทั้งหมด




                                          4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม




                                           5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                        1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม

         เราเริ่มด้วยเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงก่อน โดยในตอนแรกจะกล่าวถึงสองฟังก์ชัน คือ
ฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์




                                                         6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




และเพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจในมโนทัศน์ของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ จึงเขียนกราฟของฟังก์ชันทั้งสอง
ประกอบกับบทนิยามไปด้วยกัน
          สาหรับค่าจริง  ต่าง ๆ ถ้าเราหาค่า x และ y ได้ จากวงกลมหนึ่งหน่วยทาให้เราสามารถเขียนกราฟ
ได้ดังนี้




                                                         7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ถ้าเราอยากทราบเรนจ์ของฟังก์ชันทั้งสอง พิจารณาได้ดังนี้




                                                         8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ต่อไปจะแนะนาให้รู้จัก เอกลักษณ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ซึ่งก็คือความสัมพันธ์ของฟังก์ชันไซน์กับ
ฟังก์ชันโคไซน์




นักเรียนจะเห็นว่า เอกลักษณ์นี้ก็คือความสัมพันธ์ของ sin () และ cos () สาหรับทุกค่าจริง 
ซึ่งต่อไปนักเรียนสามารถนาไปใช้ได้ และก่อนที่จะนาเอกลักษณ์ของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ไปใช้

                                                         9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


เราจะพิจารณาเครื่องหมายของ        sin ()   และ     cos ()     เมื่อ      อยู่ในช่วงต่าง ๆ ดังนี้
       3                       3     
0, 2  ,  2 ,   ,  , 2    และ    2 , 2 
                                         




ต่อไปเป็นตัวอย่างที่ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ และสมบัติที่เกี่ยวกับเครื่องหมายของค่า                sin   และ   cos




                                                           10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ตัวอย่างเพิ่มเติม

                                          3                      3
ตัวอย่าง กาหนดให้         sin () =          และ    <<             จงหาค่าของ     cos ()
                                          4                       2

วิธีทา ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ           sin2 + cos2 = 1

                                       3 
                                                            2
                                                                        7
แล้ว     cos() =  1  sin    1   
                                    2
                                                                 
                                       4                             4
                    3                                                           7
แต่                   ดังนั้น   cos () < 0      ฉะนั้น     cos () = 
                     2                                                           4
เมื่อเรานิยามฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์จากจุด (x, y) บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะเห็น (x, y) จะวนกลับมา
ที่เดิม ถ้าค่าจริง  เปลี่ยนไปเป็นค่าจริง  + 2 หรือค่าจริง  – 2




                                                                11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
             สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




สรุปได้ว่า




                                                       12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




ต่อไปเราจะหาค่าฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ของค่าจริงบางค่า จากรูป




เมื่อเราได้ เซตของค่าจริงที่ทาให้ค่าไซน์เป็น 0 และเซตของค่าจริงที่ทาให้ค่าโคไซน์เป็น 0
ต่อไปเราจะนาไปประกอบการนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติอีก 4 ฟังก์ชัน

                                                         13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


แต่ก่อนอื่นเรามาหาค่าฟังก์ชันจากตัวอย่างต่อไปนี้กัน




ฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เหลืออีก 4 ฟังก์ชัน จะนิยามดังนี้




และหาเอกลักษณ์ตรีโกณมิติได้อีก 2 เอกลักษณ์ คือ



                                                          14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




เมือเรามีฟังก์ชันตรีโกณมิติครบทั้ง 4 ฟังก์ชันแล้ว เราจะแสดงค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบางค่าโดย
   ่
ตารางต่อไปนี้




และสมบัติของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เกี่ยวกับมุม        และมุม    + 2n , n 




                                                          15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




เมื่อเรานิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงไปแล้ว คราวนี้จะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมกันบ้าง




                                                         16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




นักเรียนจะได้เห็นว่า ค่าฟังก์ชันไซน์ของมุม  เรเดียน จะเท่ากับค่าฟังก์ชันไซน์ของค่าจริง 
               และ ค่าฟังก์ชันโคไซน์ของมุม  เรเดียน จะเท่ากับค่าฟังก์ชันโคไซน์ของค่าจริง        
ซึ่งต่อไปจะใช้แทนกันได้
         ต่อไปจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ของมุมกัน




และในทานองเดียวกับฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ เราจะได้ด้วยว่า
ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม  เรเดียน จะเท่ากับค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริง            


เมื่อได้ความสัมพันธ์ของมุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียนกับค่าจริงใด ๆ แล้ว เราสามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                                          17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ของมุมบางมุม (0, 90, 180, 270 และ 360) ได้ดังนี้




ตัวอย่างเพิ่มเติม

ตัวอย่าง จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมต่อไปนี้
                        3            3      
1.   sin (–270) = sin    = sin  2   = sin   =                         1
                        2              2      2
                       5                 
2.   cos (450) = cos   = cos  2   = cos   = 0
                       2             2     2
3.   tan (540) = tan (3) = tan(2 + ) = tan() =                  0
                                                    3 
4.   cosec (–90) = cosec    = cosec  2   = cosec   =                              –1
                           2               2          2 
5.   sec (–180) = sec (–) = sec(2 – ) = sec() =                     –1
                       7          3       3 
6.   cot (630) = cot   = cot  2   = cot   =                             0
                       2            2       2 


                                           5             
ตัวอย่าง กาหนดให้          sec () =              และ     <<               จงหาค่าของ   tan ()
                                           3             2

                                                              18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



วิธีทา   ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ               sec2 – tan2 =       1
                                                                 2
                                                   5           4
         แล้ว     tan () =  sec2   1       1  
                                                   3           3
                   
         แต่         <  <  ดังนั้น sin () > 0 และ cos () < 0 แล้ว tan () < 0
                   2
                              4
         ฉะนั้น   tan () = 
                              3


                                     1                         3
ตัวอย่าง กาหนดให้      cot () =              และ     < <                     จงหาค่าของ   cosec ()
                                     3                          2


วิธีทา   ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ               cosec2 – cot2 =         1
                                                                            2
                                                                  1                 10
         แล้ว     cosec () =  1  cot        2
                                                               1              
                                                                   3                3
                             3
         แต่      <<              ดังนั้น     sin () < 0     แล้ว    cosec () < 0
                              2
                                         10
         ฉะนั้น   cosec () = 
                                         3


                                                      3
ตัวอย่าง กาหนดให้      tan () = –2           และ        <  < 2               จงหาค่าของ   cos ()
                                                       2


วิธีทา   ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ               sec2 – tan2 =       1
         แล้ว     sec () =  1  tan 2    1  (2) 2   5
                   3                                                                  1
         แต่          <  < 2        ดังนั้น    cos () > 0    แล้ว    cos () =
                    2                                                                   5




                                              แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                                          19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                               เรื่อง
                              ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม
                            2
1. กาหนดให้      sin () =          จงหาค่าของ cos ()
                            3
2. กาหนดให้      cos () =
                            1
                               และ 3 <  < 2           จงหาค่าของ sin ()
                            5        2
                      6 
3. กาหนดให้      sin   = – 0.5878        จงหาค่าของ cos  6 
                                                           
                      5                                  5 
                      3 
4. กาหนดให้      cos   = – 0.707         จงหาค่าของ sin  3 
                                                           
                      4                                  4 

5. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมต่อไปนี้
                7
    5.1                 เรเดียน                      5.2         900
                 2

    5.3     8           เรเดียน                      5.4         – 450

6. จงบอกค่าจริง         มา 3 จานวนที่ทาให้
    6.1     sin () = 0                               6.2         cos () = 1

    6.3     sin () = –1                              6.4         cos () = 0

    6.5     tan () = 0                               6.6         cosec () = 1

    6.7     sec () = –1                              6.8         cot () = 0
                                                                 3
7. กาหนดให้      tan () = 3                และ    <<                    จงหาค่าของ     sec ()
                                                                  2
                                            3
8. กาหนดให้      cosec () = –2             และ<  < 2    จงหาค่าของ cot ()
                                             2
9. กาหนดให้      cosec2 + cot2 =
                                     7
                                        และ 0 <  <       จงหาค่าของ sin ()
                                     2               2
10. กาหนดให้     sin () =
                            3
                               และ 90 <  < 180 จงหาค่าของ cos()  cot()
                            5                                 cos ec()  tan()




                                                            20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




2. ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60




        2. ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60
                                              21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



        เราจะใช้ความรู้เกี่ยวกับวงกลมหนึ่งหน่วยในการหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมบางมุม
(30 45 และ 60) ซึ่งมุมเหล่านี้อยู่ในจตุภาคที่ 1




เริ่มจากการหาค่า    sin (45)   และ   cos (45)




สรุปเป็น                                 
                       sin (45) = sin   
                                              2
                                        
                                       4   2
                                          
                       cos (45) = cos   
                                         
                                              2              22
                                        4  2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




การหาค่า   sin (30)   และ   cos (30)




                                         
                       sin (30) = sin   
                                             1
                                        
สรุปเป็น                               6   2
                                          
                       cos (30) = cos   
                                               3
                                         
                                        6   2


การหาค่า   sin (60)   และ   cos (60)




                                          
                        sin (60) = sin   
                                                3
                                         
สรุปเป็น                                3    2
                                           
                        cos (60) = cos   
                                              1
                                          
                                         3 2

สรุปเป็นตารางเพื่อการจดจาของนักเรียน
                                                          23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                                       1 2 3
นักเรียนจะได้เห็นว่า ค่าฟังก์ชันไซน์จะเพิ่มขึ้นจาก      ,     ,           เมื่อมุมเพิ่มขึ้นในจตุภาคที่ 1
                                                       2 2 2
                                                           3 2 1
                และค่าฟังก์ชันโคไซน์จะลดลงจาก               ,   ,         เมื่อมุมเพิ่มขึ้นในจตุภาคที่ 1
                                                          2 2 2
และจะได้ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ของมุม 30 45 และ 60 ดังนี้

                                  30                45                 60
               มุม                                                
                                  เรเดียน            เรเดียน             เรเดียน
                              6                  4                   3
                                   1
              tan ()                                 1                   3
                                    3
                                                                         2
            cosec ()              2                   2
                                                                          3
                                   2
             sec ()                                   2                 2
                                    3
                                                                         1
              cot ()               3                 1
                                                                          3


ตัวอย่าง จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติต่อไปนี้

                                                           24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



           9                                               2
1.    sin          =   sin  2   = sin   
           4                    4       4                    2
                                                                               3
2.    sin(– 300) = sin(– 360 + 60)           =   sin (60)         =
                                                                              2
           11                       11                                  3
3.    cos             =   cos  2       = cos   
           6                          6         6                         2
                                                                            2
4.    cos(765) = cos(720 + 45)           =   cos (45)         =
                                                                           2
           7                          
5.    tan          =   tan  2   = tan                        3
           3                    3       3
                                                                              1
6.    tan(– 330) = tan(– 360 + 30)           =   tan (30)         =
                                                                               3
             5                           5                                    2
7.    cosec               =   cosec  2   = cosec   
             3                             3        3                             3

8.    cosec (405) = cosec (360 + 45)                 =    cosec (45)           =    2

           13                                                2
9.    sec          =   sec  2   = sec   
           6                    6       6                        3

10.   sec (– 660) = sec (– 720 + 60)             =       sec (60)      =2
           17                         
11.   cot          =   cot  4   = cot                   =1
           4                    4       4
                                                                                1
12.   cot (– 300) = cot (– 360 + 60)             =   cot (60)         =
                                                                                 3




                                                                  25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                     แบบฝึกหัดเพิ่มเติม
                                            เรื่อง
                      ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60

1. จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมต่อไปนี้
             25
     1.1           เรเดียน                                     1.2      – 690
               4
               23
     1.3            เรเดียน                                   1.4      420
                 6
2. จงหาของ
              13                  9  
     2.1 sin        cos   + sin   cos  
              6         3           4   4
     2.2 3 tan    – tan   11 
                                
               6          6 
     2.3 2 cosec    + sec  9 
                              
                  3           4 
     2.4 tan2  7  + sec2   11 
                                  
               3            6 

3.   กาหนดให้ sin () = 2 และ –2 <  <  3                              จงหาค่าของ      tan ()
                            2                     2
                                 3                            5
4. กาหนดให้     cos () =               และ       2 <  <                 จงหาค่าของ      cosec ()
                                2                              2
                                                   3  4 cos(2)  sin(3)
5. กาหนดให้      =   30            จงหาค่าของ
                                                   3  4sin(2)  cos(3)
                                                   2sin()  3cos(3)
6. กาหนดให้      =                  จงหาค่าของ
                       3                                3 
                                                   sin    2cos(6)
                                                        2
                             
7. จงหาผลเฉลยในช่วง          0, 2    ของสมการต่อไปนี้
                                  

     7.1   sin (x) = cos (x)

     7.2   4 cos2(x) + 2( 3 – 1) cos (x) –          3 = 0




                                                         26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




              สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                          27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                      สรุปสาระสาคัญประจาตอน




                                          28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                          29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                                                เอกสารอ้างอิง

1. ดารงค์ ทิพย์โยธา, เสริมความรู้มุ่งสู่โอลิมปิกคณิตศาสตร์โลกตรีโกณมิติ,
    โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550.




                                                         30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                   ภาคผนวกที่ 1
              แบบฝึกหัด / เนื้อหาเพิ่มเติม




                                          31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                               แบบฝึกหัดระคน
                                             3                  5sin()  3cos()
1. ถ้า   4 tan () = 3        และ   <<           แล้วค่าของ                             คือข้อใด
                                              2                   3cos()  sin()
                                               9
    ก       9                       ข                            ค        3                  ง          1
                                               7


                          5
2. ถ้า   cosec () =          และ   cos () < 0     แล้วค่าของ   3 tan () + cot () – 2cos ()             คือข้อใด
                          4
             89                               71                               89                           71
    ก                               ข                            ค                          ง          
             20                               20                               20                           20


                        4      
3. จงหาค่าของ   5 cos2   + sin2  
                       3 3      6
             11                   9                                       19                            49
    ก                       ข                                    ค                           ง
             12                   4                                       12                            12


4. ถ้า   x1 และ x2      เป็นผลเฉลยของสมการ         x2 – (sec 60) x – 3 tan 45 = 0               จงหาค่าของ     x1 + x2
   ก        2                     ข     –2                       ค        3                  ง          –1


                                         7                      3
5. กาหนดให้          sec2  + tan2  =        และ   <  <                จงหาค่าของ      cos ()
                                         2                       2
                2                                  2                       2                                2
    ก                               ข                           ค                           ง          
                 5                                  5                      3                                3


                               1  2sin 2 ()
6. จงหาค่าของ
                      3(cot()  tan())sin() cos()
             1                        1
    ก                      ข                      ค             3                  ง        –3
             3                        3


7. ถ้า 1 และ 2 เป็นผลเฉลยของสมการ 3 cos2  + sin2                      = 1       และ   1  [0, ]
   และ 2  [2, 3]       จงหาค่า 3 1 + 2
   ก               ข     2             ค    3                                    ง        4




                                                           32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                    สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


8. ถ้า    1   และ   2   เป็นค่าจริงในช่วง     0,     ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการ
                                                 2
                                                     

     cosec () + 2 sin () = 3             แล้ว | 1 – 2 | มีค่าเท่าใด
                                                                                                  3
     ก                                 ข                              ค                         ง
                4                                3                             2                      4


9. ถ้า    1   และ   2   เป็นค่าจริงในช่วง     0,     ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการ
                                                 2
                                                     

     tan2 () – ( 3 1 ) tan () +            3 =0        แล้ว    1 + 2   มีค่าเท่าใด
                                                7                            5                    
     ก                                 ข                              ค                         ง
               12                                12                            12                    2


                                       cos(2)  2sin(3)
10. ถ้า   =    30 จงหาค่าของ
                                        sin()  3cos(3)
                                                                                                     5
     ก         –1                      ข         1                    ค       5                 ง
                                                                                                      3




                                                                 33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                           ภาคผนวกที่ 2
                          เฉลยแบบฝึกหัด




                                          34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                  สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                         เฉลยแบบฝึกหัด
                          เรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม

            5                                                          2 6
1.                                                     2.        
           3                                                            5
3.   0.809                                              4.        0.70721

5.
                ข้อ           มุม         sin          cos             tan     cosec         sec   cot

                5.1              7         1           0              –           1          –    0
                             
                                  2
                5.2          900           0           –1             0           –          –1   –
                5.3           8            0           1              0           –          1    –
                5.4        – 450          –1           0              –           –1         –    0


6.   6.1          0, , –                                        6.2        0, 2, –2
                      3  7                                                  3
     6.3                 , ,                                     6.4         , ,
                       2   2 2                                               2 2 2
                                                                              5 9
     6.5          0, , –                                        6.6         ,  ,
                                                                             2 2 2
                                                                               3
     6.7          , –, 3                                       6.8         , ,
                                                                             2 2 2
7.    10                                                         8.          3
      2                                                                       96
9.                                                                10.
       5                                                                     165




                                                             35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
               สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                                        เฉลยแบบฝึกหัด
                     เรื่องค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60

1.
               ข้อ          มุม          sin       cos         tan          cosec       sec     cot

               1.1       25             2           2
                                                                1                2          2   1
                          4             2           2
               1.2      – 690          1            3           1                      2
                                                                                                 3
                                                                             2
                                        2           2             3                      3
               1.3          23         1            3           1                      2
                                                                            2                   3
                             6          2           2             3                      3
               1.4       420            3          1
                                                                    3
                                                                              2                 1
                                                                                        2
                                        2           2                          3                 3


                3                                                        2 3
2.       2.1                                                   2.2
                4                                                         3
                4 3   2                                                 13
         2.3                                                  2.4
                 3    2                                                  3
3.       1                                                     4.       2

         4 3                                                                 3 3
5.           2                                                6.
          3                                                                   3
                                                                        
7.       7.1                                                   7.2
                4                                                        3




                                         เฉลยแบบฝึกหัดระคน

1.   ค                  2. ง                         3. ค                            4. ก             5. ง
6.   ก                  7. ง                         8. ข                            9. ข             10. ค



                                                         36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย




                รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์
                           จานวน 92 ตอน




                                          37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน

                เรื่อง                                                             ตอน
เซต                                    บทนา เรื่อง เซต
                                       ความหมายของเซต
                                       เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต
                                       เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
                                       สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์              บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์
                                       การให้เหตุผล
                                       ประพจน์และการสมมูล
                                       สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
                                       ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ
                                                             ่
                                       สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย
                                       สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง
จานวนจริง                              บทนา เรื่อง จานวนจริง
                                       สมบัติของจานวนจริง
                                       การแยกตัวประกอบ
                                       ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                       สมการพหุนาม
                                       อสมการ
                                       เทคนิคการแก้อสมการ
                                       ค่าสัมบูรณ์
                                       การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
                                       กราฟค่าสัมบูรณ์
                                       สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน
                                       สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                       สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์
ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น                    บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น
                                       การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ
                                       (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก)
                                       ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
                                       ความสัมพันธ์




                                                             38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                              ตอน
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน                    โดเมนและเรนจ์
                                           อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน
                                           ฟังก์ชันเบื้องต้น
                                           พีชคณิตของฟังก์ชัน
                                           อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
                                           ฟังก์ชันประกอบ
ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
          ้                                บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                           เลขยกกาลัง
                                           ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม
                                                     ้
                                           ลอการิทึม
                                           อสมการเลขชี้กาลัง
                                           อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                 บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                           อัตราส่วนตรีโกณมิติ
                                           เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3
                                           กฎของไซน์และโคไซน์
                                           กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                           ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย
                                                                               ่
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
                                           สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์
กาหนดการเชิงเส้น                           บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น
                                           การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์
                                           การหาค่าสุดขีด
ลาดับและอนุกรม                             บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม
                                           ลาดับ
                                           การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                           ลิมิตของลาดับ
                                           ผลบวกย่อย
                                           อนุกรม
                                           ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม




                                                             39
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
                   สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                             ตอน
การนับและความน่าจะเป็น                     บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น
                     .                     การนับเบื้องต้น
                                           การเรียงสับเปลี่ยน
                                           การจัดหมู่
                                           ทฤษฎีบททวินาม
                                           การทดลองสุ่ม
                                           ความน่าจะเป็น 1
                                           ความน่าจะเป็น 2
สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล                 บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
                                           บทนา เนื้อหา
                                           แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1
                                           แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2
                                           แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3
                                           การกระจายของข้อมูล
                                           การกระจายสัมบูรณ์ 1
                                           การกระจายสัมบูรณ์ 2
                                           การกระจายสัมบูรณ์ 3
                                           การกระจายสัมพัทธ์
                                           คะแนนมาตรฐาน
                                           ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1
                                           ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2
                                           โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1
                                           โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร์                          การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                           ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                           การถอดรากที่สาม
                                           เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
                                           กระเบื้องที่ยืดหดได้




                                                              40

Contenu connexe

Tendances

ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
sawed kodnara
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
Jiraprapa Suwannajak
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
fern1707
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
Jiraprapa Suwannajak
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
Sathuta luamsai
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
kroojaja
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
คุณครูพี่อั๋น
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
Prang Donal
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ทับทิม เจริญตา
 

Tendances (20)

ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
ฟังก์ชัน
ฟังก์ชันฟังก์ชัน
ฟังก์ชัน
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชันแบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
แบบทดสอบเรื่องฟังก์ชัน
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานม.2เทอม2
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2 หน่วยที่ 2
 
อสมการ ม3
อสมการ ม3 อสมการ ม3
อสมการ ม3
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 

Similaire à 46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1

อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
Nitikan2539
 

Similaire à 46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1 (20)

48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
31 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่2_โดเมนและเรนจ์
 
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
39 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่2_ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอ...
 
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ43 ตรีโกณมิติ บทนำ
43 ตรีโกณมิติ บทนำ
 
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
54 ตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และโคไซน์
 
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
45 ตรีโกณมิติ ตอนที่2_เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
29 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนำ
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
อัตราส่วนตรีโกณมิติ 1
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
18 จำนวนจริง ตอนที่5_อสมการ
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1

  • 1. คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ตรีโกณมิติ (เนื้อหาตอนที่ 3) ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 โดย รองศาสตราจารย์ จิตรจวบ เปาอินทร์ สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง ตรีโกณมิติ สื่อการสอน เรื่อง ตรีโกณมิติ มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 15 ตอน ซึ่งประกอบด้วย 1. บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ 2. เนื้อหาตอนที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ - สมบัติของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากและทฤษฎีบทพีทาโกรัส - อัตราส่วนตรีโกณมิติ - อัตราส่วนตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 3. เนื้อหาตอนที่ 2 เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติและวงกลมหนึ่งหน่วย - เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ - วงกลมหนึ่งหน่วย การวัดมุมและหน่วยของมุม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 - ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม - ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2 - ความแตกต่างและความสัมพันธ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ กับฟังก์ชันตรีโกณมิติ - ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมในจตุภาคต่าง ๆ 6. เนื้อหาตอนที่ 5 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3 - ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของผลบวกและผลต่างของมุม - สูตรผลคูณ ผลบวกและผลต่างของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 7. เนื้อหาตอนที่ 6 กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ - กฎของไซน์ - กฎของโคไซน์ 8. เนื้อหาตอนที่ 7 กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ - การเปิดตารางหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ - กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1
  • 3. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 9. เนื้อหาตอนที่ 8 ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน - ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน - สมบัติและความสัมพันธ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 8. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 1) 9. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 2) 10. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 3) 11. แบบฝึกหัด (พื้นฐาน 4) 12. แบบฝึกหัด (ขั้นสูง) 13. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง มุมบนวงกลมหนึ่งหน่วย 14. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติและฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน 15. สื่อปฏิสัมพันธ์ เรื่อง กฎของไซน์และกฎของโคไซน์ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนสาหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่ อง ตรีโกณมิติ นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆที่คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่านสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้า ยของ คู่มือฉบับนี้ 2
  • 4. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตรีโกณมิติ (ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 3 (3 / 8) หัวข้อย่อย 1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม 2. ค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียน 1. เกิดความเข้าใจในมโนทัศน์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม 2. สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 0 90 180 270 และ 360 ได้ 3. สามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิตของมุมบางมุมในจตุภาคที่ 1 (30 45 และ 60) ได้ ิ ผลการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถ 1. บอกบทนิยามของฟังกันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุมได้ 2. หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 0 90 180 270 และ 360 ได้ 3. หาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 ได้ 3
  • 5. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนือหาในสื่อการสอน ้ เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม 5
  • 7. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1. ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม เราเริ่มด้วยเรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงก่อน โดยในตอนแรกจะกล่าวถึงสองฟังก์ชัน คือ ฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ 6
  • 8. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และเพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจในมโนทัศน์ของฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ จึงเขียนกราฟของฟังก์ชันทั้งสอง ประกอบกับบทนิยามไปด้วยกัน สาหรับค่าจริง  ต่าง ๆ ถ้าเราหาค่า x และ y ได้ จากวงกลมหนึ่งหน่วยทาให้เราสามารถเขียนกราฟ ได้ดังนี้ 7
  • 9. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถ้าเราอยากทราบเรนจ์ของฟังก์ชันทั้งสอง พิจารณาได้ดังนี้ 8
  • 10. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อไปจะแนะนาให้รู้จัก เอกลักษณ์ของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ซึ่งก็คือความสัมพันธ์ของฟังก์ชันไซน์กับ ฟังก์ชันโคไซน์ นักเรียนจะเห็นว่า เอกลักษณ์นี้ก็คือความสัมพันธ์ของ sin () และ cos () สาหรับทุกค่าจริง  ซึ่งต่อไปนักเรียนสามารถนาไปใช้ได้ และก่อนที่จะนาเอกลักษณ์ของฟังก์ชันไซน์และโคไซน์ไปใช้ 9
  • 11. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เราจะพิจารณาเครื่องหมายของ sin () และ cos () เมื่อ  อยู่ในช่วงต่าง ๆ ดังนี้        3   3  0, 2  ,  2 ,   ,  , 2  และ  2 , 2          ต่อไปเป็นตัวอย่างที่ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ และสมบัติที่เกี่ยวกับเครื่องหมายของค่า sin และ cos 10
  • 12. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตัวอย่างเพิ่มเติม 3 3 ตัวอย่าง กาหนดให้ sin () =  และ << จงหาค่าของ cos () 4 2 วิธีทา ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ sin2 + cos2 = 1  3  2 7 แล้ว cos() =  1  sin    1    2    4 4 3 7 แต่  ดังนั้น cos () < 0 ฉะนั้น cos () =  2 4 เมื่อเรานิยามฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์จากจุด (x, y) บนวงกลมหนึ่งหน่วย จะเห็น (x, y) จะวนกลับมา ที่เดิม ถ้าค่าจริง  เปลี่ยนไปเป็นค่าจริง  + 2 หรือค่าจริง  – 2 11
  • 13. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรุปได้ว่า 12
  • 14. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อไปเราจะหาค่าฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ของค่าจริงบางค่า จากรูป เมื่อเราได้ เซตของค่าจริงที่ทาให้ค่าไซน์เป็น 0 และเซตของค่าจริงที่ทาให้ค่าโคไซน์เป็น 0 ต่อไปเราจะนาไปประกอบการนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติอีก 4 ฟังก์ชัน 13
  • 15. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แต่ก่อนอื่นเรามาหาค่าฟังก์ชันจากตัวอย่างต่อไปนี้กัน ฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เหลืออีก 4 ฟังก์ชัน จะนิยามดังนี้ และหาเอกลักษณ์ตรีโกณมิติได้อีก 2 เอกลักษณ์ คือ 14
  • 16. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมือเรามีฟังก์ชันตรีโกณมิติครบทั้ง 4 ฟังก์ชันแล้ว เราจะแสดงค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงบางค่าโดย ่ ตารางต่อไปนี้ และสมบัติของฟังก์ชันตรีโกณมิติที่เกี่ยวกับมุม  และมุม  + 2n , n  15
  • 17. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อเรานิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงไปแล้ว คราวนี้จะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมกันบ้าง 16
  • 18. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นักเรียนจะได้เห็นว่า ค่าฟังก์ชันไซน์ของมุม  เรเดียน จะเท่ากับค่าฟังก์ชันไซน์ของค่าจริง  และ ค่าฟังก์ชันโคไซน์ของมุม  เรเดียน จะเท่ากับค่าฟังก์ชันโคไซน์ของค่าจริง  ซึ่งต่อไปจะใช้แทนกันได้ ต่อไปจะนิยามฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ของมุมกัน และในทานองเดียวกับฟังก์ชันไซน์และฟังก์ชันโคไซน์ เราจะได้ด้วยว่า ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม  เรเดียน จะเท่ากับค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริง  เมื่อได้ความสัมพันธ์ของมุมที่มีหน่วยเป็นเรเดียนกับค่าจริงใด ๆ แล้ว เราสามารถหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติ 17
  • 19. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ของมุมบางมุม (0, 90, 180, 270 และ 360) ได้ดังนี้ ตัวอย่างเพิ่มเติม ตัวอย่าง จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมต่อไปนี้  3   3   1. sin (–270) = sin    = sin  2   = sin   = 1  2   2  2  5     2. cos (450) = cos   = cos  2   = cos   = 0  2   2 2 3. tan (540) = tan (3) = tan(2 + ) = tan() = 0      3  4. cosec (–90) = cosec    = cosec  2   = cosec   = –1  2  2  2  5. sec (–180) = sec (–) = sec(2 – ) = sec() = –1  7   3   3  6. cot (630) = cot   = cot  2   = cot   = 0  2   2   2  5  ตัวอย่าง กาหนดให้ sec () =  และ << จงหาค่าของ tan () 3 2 18
  • 20. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีทา ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ sec2 – tan2 = 1 2  5 4 แล้ว tan () =  sec2   1       1    3 3  แต่ <  <  ดังนั้น sin () > 0 และ cos () < 0 แล้ว tan () < 0 2 4 ฉะนั้น tan () =  3 1 3 ตัวอย่าง กาหนดให้ cot () = และ < < จงหาค่าของ cosec () 3 2 วิธีทา ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ cosec2 – cot2 = 1 2 1 10 แล้ว cosec () =  1  cot    2 1      3 3 3 แต่ << ดังนั้น sin () < 0 แล้ว cosec () < 0 2 10 ฉะนั้น cosec () =  3 3 ตัวอย่าง กาหนดให้ tan () = –2 และ <  < 2 จงหาค่าของ cos () 2 วิธีทา ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ sec2 – tan2 = 1 แล้ว sec () =  1  tan 2    1  (2) 2   5 3 1 แต่ <  < 2 ดังนั้น cos () > 0 แล้ว cos () = 2 5 แบบฝึกหัดเพิ่มเติม 19
  • 21. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม 2 1. กาหนดให้ sin () = จงหาค่าของ cos () 3 2. กาหนดให้ cos () = 1 และ 3 <  < 2 จงหาค่าของ sin () 5 2  6  3. กาหนดให้ sin   = – 0.5878 จงหาค่าของ cos  6     5   5   3  4. กาหนดให้ cos   = – 0.707 จงหาค่าของ sin  3     4   4  5. จงหาค่าของฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมต่อไปนี้ 7 5.1  เรเดียน 5.2 900 2 5.3 8 เรเดียน 5.4 – 450 6. จงบอกค่าจริง  มา 3 จานวนที่ทาให้ 6.1 sin () = 0 6.2 cos () = 1 6.3 sin () = –1 6.4 cos () = 0 6.5 tan () = 0 6.6 cosec () = 1 6.7 sec () = –1 6.8 cot () = 0 3 7. กาหนดให้ tan () = 3 และ << จงหาค่าของ sec () 2 3 8. กาหนดให้ cosec () = –2 และ<  < 2 จงหาค่าของ cot () 2 9. กาหนดให้ cosec2 + cot2 = 7 และ 0 <  <  จงหาค่าของ sin () 2 2 10. กาหนดให้ sin () = 3 และ 90 <  < 180 จงหาค่าของ cos()  cot() 5 cos ec()  tan() 20
  • 22. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2. ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 2. ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 21
  • 23. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เราจะใช้ความรู้เกี่ยวกับวงกลมหนึ่งหน่วยในการหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมบางมุม (30 45 และ 60) ซึ่งมุมเหล่านี้อยู่ในจตุภาคที่ 1 เริ่มจากการหาค่า sin (45) และ cos (45) สรุปเป็น  sin (45) = sin    2   4 2  cos (45) = cos      2 22 4 2
  • 24. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การหาค่า sin (30) และ cos (30)  sin (30) = sin    1   สรุปเป็น 6 2  cos (30) = cos    3   6 2 การหาค่า sin (60) และ cos (60)  sin (60) = sin    3   สรุปเป็น 3 2  cos (60) = cos    1   3 2 สรุปเป็นตารางเพื่อการจดจาของนักเรียน 23
  • 25. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 1 2 3 นักเรียนจะได้เห็นว่า ค่าฟังก์ชันไซน์จะเพิ่มขึ้นจาก , , เมื่อมุมเพิ่มขึ้นในจตุภาคที่ 1 2 2 2 3 2 1 และค่าฟังก์ชันโคไซน์จะลดลงจาก , , เมื่อมุมเพิ่มขึ้นในจตุภาคที่ 1 2 2 2 และจะได้ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติอื่น ๆ ของมุม 30 45 และ 60 ดังนี้ 30 45 60 มุม     เรเดียน เรเดียน เรเดียน 6 4 3 1 tan () 1 3 3 2 cosec () 2 2 3 2 sec () 2 2 3 1 cot () 3 1 3 ตัวอย่าง จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติต่อไปนี้ 24
  • 26. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  9     2 1. sin   = sin  2   = sin     4   4 4 2 3 2. sin(– 300) = sin(– 360 + 60) = sin (60) = 2  11   11   3 3. cos    = cos  2   = cos     6   6  6 2 2 4. cos(765) = cos(720 + 45) = cos (45) = 2  7     5. tan   = tan  2   = tan    3  3   3 3 1 6. tan(– 330) = tan(– 360 + 30) = tan (30) = 3  5   5   2 7. cosec    = cosec  2   = cosec     3   3  3 3 8. cosec (405) = cosec (360 + 45) = cosec (45) = 2  13     2 9. sec   = sec  2   = sec     6   6 6 3 10. sec (– 660) = sec (– 720 + 60) = sec (60) =2  17      11. cot   = cot  4   = cot   =1  4   4 4 1 12. cot (– 300) = cot (– 360 + 60) = cot (60) = 3 25
  • 27. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 1. จงหาค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุมต่อไปนี้ 25 1.1 เรเดียน 1.2 – 690 4 23 1.3  เรเดียน 1.4 420 6 2. จงหาของ  13    9   2.1 sin   cos   + sin   cos    6  3  4  4 2.2 3 tan    – tan   11      6  6  2.3 2 cosec    + sec  9      3  4  2.4 tan2  7  + sec2   11       3   6  3. กาหนดให้ sin () = 2 และ –2 <  <  3 จงหาค่าของ tan () 2 2 3 5 4. กาหนดให้ cos () = และ 2 <  < จงหาค่าของ cosec () 2 2 3  4 cos(2)  sin(3) 5. กาหนดให้  = 30 จงหาค่าของ 3  4sin(2)  cos(3)  2sin()  3cos(3) 6. กาหนดให้  = จงหาค่าของ 3  3  sin    2cos(6)  2   7. จงหาผลเฉลยในช่วง  0, 2  ของสมการต่อไปนี้   7.1 sin (x) = cos (x) 7.2 4 cos2(x) + 2( 3 – 1) cos (x) – 3 = 0 26
  • 31. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เอกสารอ้างอิง 1. ดารงค์ ทิพย์โยธา, เสริมความรู้มุ่งสู่โอลิมปิกคณิตศาสตร์โลกตรีโกณมิติ, โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550. 30
  • 32. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝึกหัด / เนื้อหาเพิ่มเติม 31
  • 33. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบบฝึกหัดระคน 3 5sin()  3cos() 1. ถ้า 4 tan () = 3 และ << แล้วค่าของ คือข้อใด 2 3cos()  sin() 9 ก 9 ข ค 3 ง 1 7 5 2. ถ้า cosec () = และ cos () < 0 แล้วค่าของ 3 tan () + cot () – 2cos () คือข้อใด 4 89 71 89 71 ก ข ค  ง  20 20 20 20  4  3. จงหาค่าของ 5 cos2   + sin2   3 3 6 11 9 19 49 ก ข ค ง 12 4 12 12 4. ถ้า x1 และ x2 เป็นผลเฉลยของสมการ x2 – (sec 60) x – 3 tan 45 = 0 จงหาค่าของ x1 + x2 ก 2 ข –2 ค 3 ง –1 7 3 5. กาหนดให้ sec2  + tan2  = และ <  < จงหาค่าของ cos () 2 2 2 2 2 2 ก ข  ค ง  5 5 3 3 1  2sin 2 () 6. จงหาค่าของ 3(cot()  tan())sin() cos() 1 1 ก ข  ค 3 ง –3 3 3 7. ถ้า 1 และ 2 เป็นผลเฉลยของสมการ 3 cos2  + sin2  = 1 และ 1  [0, ] และ 2  [2, 3] จงหาค่า 3 1 + 2 ก  ข 2 ค 3 ง 4 32
  • 34. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 8. ถ้า 1 และ 2 เป็นค่าจริงในช่วง 0,   ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการ  2   cosec () + 2 sin () = 3 แล้ว | 1 – 2 | มีค่าเท่าใด    3 ก ข ค ง 4 3 2 4 9. ถ้า 1 และ 2 เป็นค่าจริงในช่วง 0,   ซึ่งเป็นผลเฉลยของสมการ  2   tan2 () – ( 3 1 ) tan () + 3 =0 แล้ว 1 + 2 มีค่าเท่าใด  7 5  ก ข ค ง 12 12 12 2 cos(2)  2sin(3) 10. ถ้า = 30 จงหาค่าของ sin()  3cos(3) 5 ก –1 ข 1 ค 5 ง 3 33
  • 35. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝึกหัด 34
  • 36. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่องฟังก์ชันตรีโกณมิติของค่าจริงและของมุม 5 2 6 1.  2.  3 5 3. 0.809 4. 0.70721 5. ข้อ มุม sin cos tan cosec sec cot 5.1 7 1 0 – 1 – 0  2 5.2 900 0 –1 0 – –1 – 5.3 8 0 1 0 – 1 – 5.4 – 450 –1 0 – –1 – 0 6. 6.1 0, , – 6.2 0, 2, –2 3  7   3 6.3 , , 6.4 , , 2 2 2 2 2 2  5 9 6.5 0, , – 6.6 , , 2 2 2   3 6.7 , –, 3 6.8 , , 2 2 2 7.  10 8.  3 2 96 9. 10. 5 165 35
  • 37. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝึกหัด เรื่องค่าฟังก์ชันตรีโกณมิติของมุม 30 45 และ 60 1. ข้อ มุม sin cos tan cosec sec cot 1.1 25 2 2 1 2 2 1 4 2 2 1.2 – 690 1 3 1 2 3 2 2 2 3 3 1.3 23 1 3 1 2  2 3 6 2 2 3 3 1.4 420 3 1 3 2 1 2 2 2 3 3 3 2 3 2. 2.1 2.2 4 3 4 3 2 13 2.3  2.4 3 2 3 3. 1 4. 2 4 3 3 3 5. 2 6. 3 3   7. 7.1 7.2 4 3 เฉลยแบบฝึกหัดระคน 1. ค 2. ง 3. ค 4. ก 5. ง 6. ก 7. ง 8. ข 9. ข 10. ค 36
  • 38. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน 37
  • 39. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ จานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกาลังและการดาเนินการบนเซต เอกลักษณ์ของการดาเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนา เรื่อง การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ การให้เหตุผล ประพจน์และการสมมูล สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล ประโยคเปิดและวลีบงปริมาณ ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องตารางค่าความจริง จานวนจริง บทนา เรื่อง จานวนจริง สมบัติของจานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแก้อสมการ ค่าสัมบูรณ์ การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์ กราฟค่าสัมบูรณ์ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องช่วงบนเส้นจานวน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟค่าสัมบูรณ์ ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น บทนา เรื่อง ทฤษฎีจานวนเบื้องต้น การหารลงตัวและจานวนเฉพาะ (การหารลงตัวและตัววคูณร่วมมาก) ตัวหารร่วมมากและตั หารร่ มน้อย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ 38
  • 40. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์ อินเวอร์สของความสัมพันธ์และบทนิยามของฟังก์ชัน ฟังก์ชันเบื้องต้น พีชคณิตของฟังก์ชัน อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส ฟังก์ชันประกอบ ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ บทนา เรื่อง ฟังก์ชันชี้กาลังและฟังก์ชันลอการิทึม เลขยกกาลัง ฟังก์ชันชีกาลังและฟังก์ชันลอการิทึม ้ ลอการิทึม อสมการเลขชี้กาลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราส่วนตรีโกณมิติ เอกลักษณ์ของอัตราส่วนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหน่วย ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 1 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 2 ฟังก์ชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซน์และโคไซน์ กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องมุมบนวงกลมหนึงหน่วย ่ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธ์เรื่องกฎของไซน์และกฎของโคไซน์ กาหนดการเชิงเส้น บทนา เรื่อง กาหนดการเชิงเส้น การสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ การหาค่าสุดขีด ลาดับและอนุกรม บทนา เรื่อง ลาดับและอนุกรม ลาดับ การประยุกต์ลาดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลาดับ ผลบวกย่อย อนุกรม ทฤษฎีบทการลู่เข้าของอนุกรม 39
  • 41. คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความน่าจะเป็น บทนา เรื่อง การนับและความน่าจะเป็น . การนับเบื้องต้น การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู่ ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุ่ม ความน่าจะเป็น 1 ความน่าจะเป็น 2 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เรื่อง สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนา เนื้อหา แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 1 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 2 แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง 3 การกระจายของข้อมูล การกระจายสัมบูรณ์ 1 การกระจายสัมบูรณ์ 2 การกระจายสัมบูรณ์ 3 การกระจายสัมพัทธ์ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 1 ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล 2 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร์ การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง กระเบื้องที่ยืดหดได้ 40