SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  32
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           การนับและความนาจะเปน
               (เนือหาตอนที่ 1)
                   ้
                การนับเบืองตน
                         ้

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                          สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน

         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย

 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน
                          - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                                  ่
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด)
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู
                          - วิธีจัดหมู
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบทอเนกนาม
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม
                          - การทดลองสุม
                          - ปริภูมิตัวอยาง
                          - เหตุการณและความนาจะเปน
 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1
                          - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                          - การหาความนาจะเปนแบบงาย
 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2
                          - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                          - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร
 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                   ้
12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ
13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน
16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ
 ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            การนับและความนาจะเปน (การนับเบื้องตน)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            1 (1/7)

หัวขอยอย        1. กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                           ่
                  2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)

จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. เขาใจและสามารถใชหลักการบวกและหลักการคูณในการหาจํานวนวิธีในการนับได
    2. สามารถหาจํานวนวิธีในการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสนในกรณีที่สิ่งของแตกตางกันทั้งหมดได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
               
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายหลักการบวกและหลักการคูณได
   2. ประยุกตใชหลักการบวกและหลักการคูณในการหาจํานวนวิธีในการนับได
   3. อธิบายวิธีหาและหาจํานวนวิธีในการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสนในกรณีที่สิ่งของแตกตางกัน
          ทั้งหมดได




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




           1. กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                   1. กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
       ในหัวขอนี้ผูเรียนจะไดศกษาเรื่องกฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ซึ่งประกอบดวยหลักการคูณและ
                                ึ                           ่
หลักการบวก ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในเรื่องของการนับ




          ตัวอยางที่ผูเรียนไดชมจากสื่อการสอน คือ ตัวอยางการนับการทํางาน ซึ่งประกอบดวย 2 ขันตอน โดยใน
                                                                                                ้
ตัวอยางแรก การแตงตัวสามารถแบงการทํางานไดเปน 2 ขั้นตอน โดยขั้นตอนแรก คือ การเลือกเสือ และขั้นตอน
                                                                                              ้
ที่ 2 คือ การเลือกกระโปรง สวนในตัวอยางที่ 2 การจัดชุดอาหาร สามารถแบงการทํางานไดเปน 2 ขั้นตอนเชนกัน
โดยขั้นตอนแรก คือ การเลือกอาหารคาว และขั้นตอนที่ 2 คือ การเลือกอาหารหวาน ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้

ทฤษฎีบท ถาการทํางานอยางหนึ่งประกอบดวยการทํางาน 2 ขั้นตอน โดยการทํางานขั้นตอนที่ 1 มีวธีทํา n วิธี
                                                                                             ิ
และการทํางานขั้นตอนที่ 2 มีวธีทํา m วิธี จะไดวา จํานวนวิธีของการทํางานนี้เทากับ n × m วิธี
                            ิ                  

       จากทฤษฎีบทขางตน สามารถขยายไปสูกรณีที่การทํางานประกอบดวยการทํางาน k ขั้นตอน
ดังรายละเอียดในสื่อการสอนตอไปนี้




                                                         6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       เมื่อผูเรียนไดแนวคิดเกียวกับหลักการคูณ พรอมทั้งเห็นตัวอยางการประยุกตใชหลักการคูณแลว ผูสอน
                                  ่                                                                 
อาจยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะในเรื่องนี้ไดดยิ่งขึ้น ดังนี้
                                                                ี

ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการสรางจํานวน 3 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยที่เลขแตละ
หลักจะตองไมซ้ํากัน และจํานวนที่สรางขึนตองเปนจํานวนที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700
                                          ้                                     
วิธีทํา
                                     _________ _________ _________
                                      หลักรอย      หลักสิบ หลักหนวย
การสรางจํานวนที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700 สามารถแบงการทํางานออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้
                                        
ขั้นตอนที่ 1 เลือกเลขโดด 1 ตัว เพื่อวางในหลักรอย ซึ่งมีไดทั้งหมด 3 วิธี (เลข 4 หรือ เลข 5 หรือเลข 6)
ขั้นตอนที่ 2 เลือกเลขโดด 1 ตัว เพื่อวางในหลักสิบ ซึ่งมีไดทั้งหมด 7 วิธี
ขั้นตอนที่ 3 เลือกเลขโดด 1 ตัว เพื่อวางในหลักหนวย ซึงมีไดทั้งหมด 6 วิธี
                                                       ่
โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนวิธีในการสรางจํานวนดังกลาวมีทั้งหมด 3 × 7 × 6 = 126 วิธี




                                                         7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติม ดังนี้
                                                          
       ในกรณีที่การหาจํานวนของเหตุการณที่สนใจโดยตรงทําไดยาก เทคนิคที่สาคัญอยางหนึ่งคือการหา
                                                                                ํ
จํานวนของเหตุการณที่ไมสนใจแทน จากนั้นใชความสัมพันธที่วา

                      จํานวนของเหตุการณที่สนใจ
                      = ( จํานวนของเหตุการณที่ไมมีเงื่อนไข )         −    (จํานวนของเหตุการณทไมสนใจ)
                                                                                                ี่



          ตัวอยางตอไปนี้ เปนตัวอยางที่ประยุกตใชเรื่องการนับในการหาจํานวนฟงกชันและการหาจํานวน
สับเซต ซึ่งผูสอนอาจทบทวนความหมายของฟงกชัน ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งและสับเซต ใหผูเรียนกอน จากนันจึง
                                                                                                    ้
ใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอยาง ให A = {1, 2,3, 4} จงหา
        1. จํานวนฟงกชนทั้งหมดจาก A ไป A
                          ั
        2. จํานวนฟงกชนหนึ่งตอหนึ่งทั้งหมดจาก A ไป A
                            ั
        3. จํานวนฟงกชนทั้งหมดทีไมใชฟงกชันหนึงตอหนึ่งจาก A ไป A
                              ั    ่              ่
วิธีทา
     ํ
                                ________ ________ ________ ________
                                    f (1)           f (2)           f (3)           f (4)




                                                         8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



1. ในการสรางฟงกชัน f จาก A ไป A สามารถแบงการทํางานไดเปน 4 ขั้นตอน
   ขั้นตอนที่ 1 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (1) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี
   ขั้นตอนที่ 2 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (2) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี
   ขั้นตอนที่ 3 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (3) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี
   ขั้นตอนที่ 4 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (4) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี
   โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนวิธีในการสรางฟงกชันดังกลาวมีทั้งหมด 4 × 4 × 4 × 4 = 256 วิธี
   ดังนั้น จํานวนฟงกชนจาก A ไป A มีทั้งหมด 256 ฟงกชัน
                       ั

2. ในการสรางฟงกชัน f ซึ่งเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง จาก A ไป A
   สามารถแบงการทํางานไดเปน 4 ขั้นตอน
   ขั้นตอนที่ 1 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (1) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี
   ขั้นตอนที่ 2 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (2)
                โดยไมซ้ํากับ f (1) ซึ่งมีไดทั้งหมด 3 วิธี
   ขั้นตอนที่ 3 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (3)
                โดยไมซ้ํากับ f (1) และ f (2) ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี
   ขั้นตอนที่ 4 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (4)
                โดยไมซ้ํากับ f (1) , f (2) และ f (3) ซึ่งมีไดทั้งหมด 1 วิธี
   โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนวิธีในการสรางฟงกชันดังกลาวมีทั้งหมด 4 × 3 × 2 ×1 = 24 วิธี
   ดังนั้น จํานวนฟงกชนหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป A มีทั้งหมด 24 ฟงกชัน
                       ั

3. จํานวนฟงกชันทังหมดที่ไมใชฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป A
                   ้
    = (จํานวนฟงกชนทั้งหมดจาก A ไป A ) − (จํานวนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งทั้งหมดจาก A ไป A )
                     ั
    = 256 − 24 = 232 ฟงกชัน




                                                  9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กําหนดใหเซต A มีจํานวนสมาชิก n ตัว จงหาจํานวนสับเซตทั้งหมดของ                     A
วิธีทา กําหนดให A = {a1 , a2 ,… , an }
     ํ
        ในการสรางสับเซต B ของ A สามารถแบงการทํางานไดเปน n ขั้นตอน
         ขั้นตอนที่ 1 เลือกวา a1 ∈ B หรือ a1 ∉ B ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี
         ขั้นตอนที่ 2 เลือกวา a2 ∈ B หรือ a2 ∉ B ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี

        ขั้นตอนที่ n เลือกวา an ∈ B หรือ an ∉ B ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี
        โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนสับเซตทั้งหมดของ A เทากับ 2n สับเซต


       ตัวอยางในสื่อการสอนตอไปนี้ เปนตัวอยางเพื่อนําเขาสูเรื่องหลักการบวก ซึ่งผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง
                                                                                                  ึ
หลักการบวกและตัวอยางการประยุกตใช




                                                          10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


          ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติมวา บอยครั้งที่เราตองใชทั้งหลักการคูณและหลักการบวกเพื่อนับ
จํานวนเหตุการณที่สนใจ และเพื่อใหผูเรียนเขาใจหลักการทั้งสองไดดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจใหผูเรียนฝกทําตัวอยาง
เพิ่มเติม ดังนี้

ตัวอยาง ในการสรางรหัสจากตัวอักษร A, B, C, D โดยกําหนดใหแตละรหัสอาจมีอกษร 2 ตัว หรืออักษร 3 ตัว
                                                                                  ั
เทานั้น จะสรางรหัสไดทั้งหมดกี่วิธี
วิธีทํา ในการสรางรหัสดังกลาว สามารถแบงพิจารณาไดเปน 2 กรณี
         กรณีที่ 1 รหัสมีอักษร 2 ตัว
                   ขั้นตอนที่ 1 เลือกอักษรตัวแรก ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี
                   ขั้นตอนที่ 2 เลือกอักษรตัวที่สอง ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี
                   โดยหลักการคูณ จะไดวา วิธีสรางรหัสที่มอักษร 2 ตัว เทากับ 4 × 4 = 16 วิธี
                                                              ี
         กรณีท่ี 2 รหัสมีอักษร 3 ตัว
                   ขั้นตอนที่ 1 เลือกอักษรตัวแรก ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี
                   ขั้นตอนที่ 2 เลือกอักษรตัวที่สอง ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี
                   ขั้นตอนที่ 3 เลือกอักษรตัวที่สอง ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี
                   โดยหลักการคูณ จะไดวา วิธสรางรหัสที่มีอักษร 3 ตัว เทากับ 4 × 4 × 4 = 64 วิธี
                                               ี
         จากกรณีที่ 1 และกรณีที่ 2 และหลักการบวก จะไดวา
         จํานวนรหัสทีมีอักษร 2 ตัวหรืออักษร 3 ตัว มีทั้งหมด 16 + 64 = 80 วิธี
                        ่

ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการสรางจํานวน 3 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยที่เลขแตละ
หลักจะตองไมซ้ํากัน และจํานวนที่สรางขึนตองเปนจํานวนคี่ที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700
                                        ้
วิธีทา
     ํ                                                                                    1, 3, 5, 7
                       4, 5, 6
                                          _________ _________ _________
                                           หลักรอย       หลักสิบ หลักหนวย

จะเห็นวา เลข 5 อยูไดทั้งในตําแหนงหลักรอยและหลักหนวย ดังนั้นจึงแบงพิจารณาเปน 2 กรณี ดังนี้
       กรณีท่ี 1 หลักหนวยเปนเลข 5
                 ขั้นตอนที่ 1 เลือกเลขหลักหนวย ซึ่งมีทั้งหมด 1 วิธี
                 ขั้นตอนที่ 2 เลือกเลขหลักรอย ซึ่งมีทั้งหมด 2 วิธี
                 ขั้นตอนที่ 3 เลือกเลขหลักสิบ ซึ่งมีทั้งหมด 6 วิธี
                 โดยหลักการคูณ จํานวนที่หลักหนวยเปนเลข 5 มีทั้งหมด 1× 2 × 6 = 12 จํานวน
                                                          11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


กรณีที่ 2 หลักหนวยไมเปนเลข 5
          ขั้นตอนที่ 1 เลือกเลขหลักหนวย ซึ่งมีทั้งหมด 3 วิธี
          ขั้นตอนที่ 2 เลือกเลขหลักรอย ซึ่งมีทั้งหมด 3 วิธี
          ขั้นตอนที่ 3 เลือกเลขหลักสิบ ซึ่งมีทั้งหมด 6 วิธี
          โดยหลักการคูณ จํานวนที่หลักหนวยเปนเลข 5 มีทั้งหมด 3 × 3 × 6 = 54 จํานวน

จากกรณีที่ 1 และกรณีที่ 2 และหลักการบวก จะไดวา
จํานวน 3 หลักซึ่งเปนจํานวนคี่ที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700 มีทั้งหมด 12 + 54 = 66 วิธี
                                                      

       สําหรับตัวอยางขางตน ผูเรียนอาจแบงกรณีแบบอื่นได เชน กรณีหลักรอยเปนเลข 5 และ
กรณีหลักรอยไมเปนเลข 5




                                                 12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                       แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                             เรื่อง กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ

1. สวนสาธารณะแหงหนึ่งมีประตูทั้งหมด 5 ประตู ถาจะเขาประตูหนึ่งและออกอีกประตูหนึ่ง ซึ่งไม
   ซ้ํากับประตูท่เี ขามา จะมีวิธการเขาและออกจากสวนสาธารณะแหงนีไดทั้งหมดกี่วิธี
                                  ี                                     ้
2. ถาถนนจากกรุงเทพฯ ถึงลพบุรีมี 3 สาย และถนนจากลพบุรีถึงนครราชสีมามี 4 สาย ถาจะขับ
   รถยนตจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยขับผานจังหวัดลพบุรี จะใชเสนทางที่ตางกันไดทั้งหมดกี่
   เสนทาง
3. เมื่อโยนเหรียญ 1 เหรียญ จํานวน 3 ครั้ง จะมีผลลัพธที่แตกตางกันไดทั้งหมดกีวิธี
                                                                                 ่
4. บริษัทผูผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปบริษัทหนึ่งผลิตเสื้อ 3 แบบ แตละแบบมี 5 สี และมีขนาดตาง ๆ กัน 3
   ขนาด ถาจะจัดเสื้อที่ผลิตเขาตูโชวหนารานใหครบทุกแบบ ทุกสี และทุกขนาด จะตองใชเสื้อทั้งหมด
   กี่ตัว
5. นักวิ่งแขง 5 คน จะวิ่งเขาเสนชัยในอันดับตาง ๆ กันไดทงหมดกีวธี สมมติวาไมมนกวิ่งสองคนใดวิง
                                                             ั้    ่ิ          ี ั                ่
   เขาเสนชัยพรอมกัน
6. ให A = {1, 2,3, 4,5} จงหาจํานวนฟงกชน f : A → A โดยที่ f ( x) ≥ x ทุก x ∈ A
                                               ั
7. ให A = {1, 2,3} และ B = {a, b, c, d } จงหา
   7.1 จํานวนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B
   7.2 จํานวนฟงกชนจาก A ไป B ที่ไมใชฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง
                        ั                         




                                                 13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)




                                          14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                         2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)

        ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาวิธีการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสนในกรณีที่สิ่งของที่นํามาจัดเรียงแตกตางกัน
                                    ึ
ทั้งหมด โดยเริ่มจากใหผูเรียนรูจกกับ “แฟกทอเรียล” ซึ่งจะมีบทบาทสําคัญในเรื่องของการนับ
                                  ั




        ผูเรียนควรฝกทักษะเรื่องแฟกทอเรียล จากตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง จงหาคาตอไปนี้
             6!                                      n!                                  (n − 1)!(n + 1)!
        1.                                   2.                                     3.
             3!                                   (n − 3)!                                    (n !) 2




                                                          15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                   6! 6 × 5 × 4 × 3!
วิธีทํา 1.            =                = 6 × 5 × 4 = 120
                   3!         3!
                     n!       n × (n − 1) × (n − 2) × (n − 3)!
         2.                 =                                  = n(n − 1)(n − 2)
                  (n − 3)!                (n − 3)!
                 (n − 1)!(n + 1)! (n − 1)![(n + 1) × n !] n + 1
        3.                         =                        =
                      (n !) 2           [n × (n − 1)!]n !       n


ตัวอยาง จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปแฟกทอเรียล
        1. 100 × 99 × 98
        2. 11×12 ×13 ×14 ×15
        3. n(n − 1)(n − 2)
                                100 × 99 × 98 × 97 × 96 × × 2 × 1 100!
วิธทํา 1.
   ี          100 × 99 × 98 =                                    =
                                       97 × 96 × × 2 ×1            97!

                                      1× 2 ×     ×10 × 11× 12 × 13 × 14 × 15 15!
        2.    11×12 ×13 ×14 ×15 =                                           =
                                                  1× 2 × × 10                 10!

                                  n(n − 1)(n − 2)(n − 3) × × 2 ×1      n!
        3.    n(n − 1)(n − 2) =                                   =
                                         (n − 3) × × 2 ×1           (n − 3)!


ตัวอยาง จงหาคา n จากสมการตอไปนี้
                 n!
        1.             = 720
              (n − 3)!
                   n!             n!
        2.                  =
              (n − 10)!10! (n − 8)!8!
                          n!
วิธีทํา 1.                      = 720
                       (n − 3)!
               n(n − 1)(n − 2) = 10 × 9 × 8         ดังนั้น n = 10
                       n!            n!
        2.                     =
                 (n − 10)!10! (n − 8)!8!
                     (n − 8)! 10!
                              =
                    (n − 10)! 8!
                (n − 8)(n − 9) = 10 × 9              ดังนั้น   n = 18




                                                           16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




ทฤษฎีบท จํานวนวิธีในการจัดเรียงสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันทั้งหมด จะมีได n ! วิธี
                                                                                          n!
พิสจน
   ู       จํานวนวิธในการจัดเรียงสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันทั้งหมด = Pn,n =
                    ี                                                                           = n ! วิธี
                                                                                       (n − n)!




         เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางขางตนจบแลว ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติมวา ในการหาจํานวนวิธีเรียง
สับเปลี่ยนเชิงเสน โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติมวา “สิ่งของ k สิ่งตองอยูติดกัน” มีเทคนิคสําคัญอยางหนึ่งคือ นําสิ่งของ
ที่ตองการใหอยูติดกัน “มัด” รวมไวดวยกัน จากนัน มองสิ่งของที่ “มัด” รวมกันไวเปนเสมือนสิงของเพียงหนึง
                                                        ้                                               ่       ่
สิ่ง แตผูเรียนอยาลืมวา สิ่งของที่ “ มัด” รวมไวดวยกัน สามารถสลับตําแหนงกันไดอีก
         เพื่อใหผูเรียนเขาใจเทคนิคดังกลาวไดดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนีเ้ พิ่มเติม




                                                          17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีจดนักเรียนชาย 5 คนและนักเรียนหญิง 3 คนยืนเขาแถว โดยที่
                         ั
         1. ไมมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
         2. นักเรียนชายตองอยูตดกันและนักเรียนหญิงตองอยูติดกัน
                                   ิ                         
วิธีทา 1. จํานวนวิธจัดนักเรียนชาย 5 คน นักเรียนหญิง 3 คน ยืนเขาแถว = P8,8 = 8! วิธี
     ํ                 ี
         2. นํานักเรียนชาย 5 คน มัดติดกันไว และนํานักเรียนหญิง 3 คน มัดติดกันไว
            ดังนั้น ในการจัดดังกลาว จึงเปรียบเสมือนการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ 2 สิ่ง จัดเรียงได 2! วิธี
            นักเรียนชายที่มัดติดกันไว 5 คน เรียงสับเปลี่ยนกันได 5! วิธี
            นักเรียนหญิงที่มัดติดกันไว 3 คน เรียงสับเปลี่ยนกันได 3! วิธี
            ทําใหไดวา จํานวนวิธการจัดที่ตองการมีทั้งหมด = 2!5!3! = 1, 440 วิธี
                                     ี




         เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติม ดังนี้
                                                            
         ในการจัดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว โดยที่ “หญิงหามยืนติดกัน” หมายถึง “ไมมีหญิงสองคนใด
ยืนติดกัน” ไมใช “หามหญิงสามคนยืนติดกัน” ดังนั้น “นิเสธของ หญิงหามยืนติดกัน” จึงไมใช “หญิงทั้งสาม
คนยืนติดกัน” เพราะฉะนั้น

                   จํานวนวิธีจัดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว โดยที่หญิงหามยืนติดกัน
                    ≠ (จํานวนวิธีจัดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว)
                       − (จํานวนวิธีจดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว โดยที่หญิงทั้งสามคนยืนติดกัน)
                                     ั




                                                         18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      แบบฝกหัดเพิ่มเติม
              เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)

1. จํานวนวิธีในการจัดอักษร A, B, C, D และ E เรียงเปนเสนตรง มีทั้งหมดกี่วธี ิ
2. นําตัวอักษร A, B, C, D และ E มาเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน โดยที่ C และ D ตองอยูติดกัน ไดทั้งหมดกีวิธี
                                                                                                    ่
3. จํานวนวิธีในการจัดเรียงอักษร 3 ตัว จาก A, B, C, D และ E มีทั้งหมดกี่วธีิ
4. ในการแขงขันวิ่งของนักวิ่ง 5 คน จํานวนวิธที่นักวิ่งจะวิ่งเขาเสนชัยสองคนแรกมีทั้งหมดกี่วธี
                                               ี                                              ิ
5. จํานวนวิธีสรางเลขสามหลักจากเลขโดด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 โดยหามใชเลขซ้ํา มีทั้งหมดกี่วธี
                                                                                          ิ
6. จงหาจํานวนวิธีที่ผูชาย 3 คนและผูหญิง 4 คน ยืนเขาแถวซื้อตั๋วรถไฟ โดยที่ผูหญิงทั้งหมดตองยืนติดกัน
7. จงหาจํานวนวิธีเลือกหัวหนาหอง รองหัวหนาหองและเหรัญญิก ตําแหนงละ 1 คน จากนักเรียนหองหนึ่ง
   ที่มีทั้งหมด 50 คน
8. จํานวนวิธีในการจัดนักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน เขาแถวถายรูป มีทั้งหมดกีวิธี ถา
                                                                                       ่
    8.1 ไมมีเงื่อนไขเพิ่มเติม
    8.2 นักเรียนชายยืนสลับกับนักเรียนหญิง
    8.3 นักเรียนชายสองคนยืนสลับกับนักเรียนหญิงสองคน
9. นักเรียนกลุมหนึ่งมีจํานวน 8 คน โดยที่มี ด.ช.สาธิตและ ด.ช.ณัฐ รวมอยูดวย จงหาจํานวนวิธีที่จด ั
   นักเรียนกลุมนี้เขาแถว โดยที่
   9.1 ด.ช.สาธิตและด.ช.ณัฐ ตองยืนติดกัน
   9.2 ด.ช.สาธิตและด.ช.ณัฐ หามยืนติดกัน
                            (n − 1)! 1  (n + 2)!
10. จงหาคา n จากสมการ              = 
                               n!    3  (n + 1)! 
                                                  




                                                     19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                        สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                               เอกสารอางอิง

1.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
     เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

2.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
     เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.




                                                       22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
               แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                               แบบฝกหัดระคน

1. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร 3 เลม หนังสือวิชาวิทยาศาสตร 2 เลม และหนังสือวิชาภาษาอังกฤษ 2 เลม
   โดยหนังสือทุกเลมแตกตางกันทั้งหมด ถาตองการจัดหนังสือทั้งหมดนี้วางบนชันหนังสือ โดยให
                                                                            ้
   หนังสือวิชาเดียวกันอยูตดกัน จะมีจํานวนวิธีการจัดไดทงหมดกีวิธี
                           ิ                            ั้    ่
    1. 6                     2. 72                3. 144                  4. 5,040

2. จากโจทยขอ 1 ถาเพิ่มเงื่อนไขวา หนังสือวิชาคณิตศาสตรตองอยูระหวางหนังสือวิชาวิทยาศาสตรและ
   หนังสือวิชาภาษาอังกฤษ จะมีจํานวนวิธีการจัดไดทั้งหมดกี่วิธี
    1. 24                     2. 48               3. 56                     4. 72

3. ครอบครัวหนึงมีทั้งหมด 4 คน ประกอบดวย พอ แม และลูก 2 คน ตองการขับรถไปชายทะเล โดยใช
                   ่
   รถยนต 4 ที่นั่ง โดยพอหรือแมเปนคนขับรถ จะมีจํานวนวิธีที่สมาชิกในครอบครัวนังรถยนตคันนีได
                                                                                ่           ้
   ทั้งหมดกีวิธี
            ่
    1. 6                    2. 12               3. 18                     4. 24

4. ถามีจานสีขาวลายตางกัน 4 ใบ จานสีฟาลายตางกัน 3 ใบ และจานสีดาลายตางกัน 3 ใบ จะมีจํานวนวิธี
                                                                  ํ
   วางจานทั้ง 10 ใบซอนกัน โดยใหจานสีขาวอยูติดกันทั้งหมดกี่วิธี
                                                                              10!
     1. 4!6!              2. 3!7!               3. 4!7!                  4.
                                                                               4!

5. จํานวนวิธีจดนักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน เขาแถว โดยที่นกเรียนชายจะอยูในตําแหนงเลขคู
               ั                                                 ั
   เสมอ มีทั้งหมดกี่วธี
                     ิ
     1. 48                2. 144                3. 288                   4. 576

6. จํานวนวิธีสรางจํานวน 3 หลักใหมคามากกวา 300 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยหามใชเลขซ้ํา มี
                                   ี
   ไดทั้งหมดกีวธี
               ่ิ
     1. 12                 2. 24                3. 60                      4. 154




                                                    24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


7. จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะสรางจํานวนที่มี 3 หลัก โดยแตละหลักมีตัวเลขซ้ํากันได และจํานวน
   เหลานี้หารดวย 5 ลงตัว ไดทั้งหมดกีจํานวน
                                       ่
     1. 30                  2. 36                 3. 60                      4. 72

8. บริษัทแหงหนึงมีตําแหนงงานวางอยู 2 ตําแหนง ถามีผูมาสมัครเขาทํางาน 5 คน คือ ก, ข, ค, ง และ จ
                  ่
   หลังจากสัมภาษณแลว ปรากฏวาคนที่เหมาะกับตําแหนงที่ 1 คือ ก, ข, ค และ ง สวนคนที่เหมาะสมกับ
   ตําแหนงที่ 2 คือ ค, ง และ จ จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่บริษัทจะเลือกคนเขาทํางานใหเหมาะสมกับ
   ตําแหนงดังกลาว
     1. 10                   2. 12                 3. 16                       4. 24

9. อักษรภาษาอังกฤษ 5 ตัวทีแตกตางกัน ซึ่งประกอบดวยพยัญชนะ 2 ตัว และสระ 3 ตัว นํามาจัดเรียงโดย
                            ่
   ไมใหพยัญชนะอยูติดกัน แตสระตองอยูติดกัน จํานวนวิธการจัดเทากับขอใดตอไปนี้
                                                         ี
     1. 12                 2. 24                  3. 32                    4. 36

10. ให   A = {1, 2,3, 4,5}และ B = {1, 2,3} จํานวนฟงกชัน           f :A→B       ซึ่ง   f (1) ≠ 1 และ
     f (2) ≠ 2 เทากับขอใดตอไปนี้
     1. 80                  2. 108                3. 125                                  4. 243




                                                      25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                เฉลยแบบฝกหัด
                                เรื่อง กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
 1.     20                                          2.     12
 3.     8                                           4.     45
 5.     120                                         6.     120
 7.    7.1 24
       7.2 40

                                                เฉลยแบบฝกหัด
                  เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 1. 120                                             2. 2!4!, 48
 3.  60                                             4. 20
 5.  210                                            6. 4!4!, 576
 7.  50 x 49 x 48, 117600
 8.   8.1 8!, 40320                                 9. 9.1 2!7!, 10080
     8.2 2!4!4!, 1152                                  9.2 8! − 2!7!, 30240
      8.3 2!4!4!, 1152
 10. 1

                                       เฉลยแบบฝกหัดระคน

1. 3                         2. 2                        3. 2                  4. 3
5. 4                        6. 3                         7. 3                  8. 1
9. 1                       10. 2




                                                     27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                  30
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                                     ตอน
การนับและความนาจะเปน                         บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                     .                         การนับเบื้องตน
                                               การเรียงสับเปลี่ยน
                                               การจัดหมู
                                               ทฤษฎีบททวินาม
                                               การทดลองสุม
                                               ความนาจะเปน 1
                                               ความนาจะเปน 2
สถิติและการวิเคราะหขอมูล                     บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                               บทนํา เนื้อหา
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                               การกระจายของขอมูล
                                               การกระจายสัมบูรณ 1
                                               การกระจายสัมบูรณ 2
                                               การกระจายสัมบูรณ 3
                                               การกระจายสัมพัทธ
                                               คะแนนมาตรฐาน
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร                              การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                               ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                               การถอดรากที่สาม
                                               เสนตรงลอมเสนโคง
                                               กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                       31

Contenu connexe

Tendances

การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการaispretty
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6KruGift Girlz
 

Tendances (20)

การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น171 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
71 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่6_ความน่าจะเป็น1
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
โครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการโครงงานรรสมุทรปราการ
โครงงานรรสมุทรปราการ
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2แผนBioม.4 2
แผนBioม.4 2
 
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 

Similaire à 66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)Apirak Potpipit
 

Similaire à 66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น (20)

60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
Test
TestTest
Test
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
37 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม บทนำ
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
2. โจทย์ปัญหาการคูณและการหาร (บัญญัติไตรยางศ์)
 

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและความนาจะเปน (เนือหาตอนที่ 1) ้ การนับเบืองตน ้ โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด) - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู - วิธีจัดหมู 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบทอเนกนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม - การทดลองสุม - ปริภูมิตัวอยาง - เหตุการณและความนาจะเปน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1 - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน - การหาความนาจะเปนแบบงาย 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2 - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ 13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน 16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การนับและความนาจะเปน (การนับเบื้องตน) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 1 (1/7) หัวขอยอย 1. กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ 2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. เขาใจและสามารถใชหลักการบวกและหลักการคูณในการหาจํานวนวิธีในการนับได 2. สามารถหาจํานวนวิธีในการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสนในกรณีที่สิ่งของแตกตางกันทั้งหมดได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายหลักการบวกและหลักการคูณได 2. ประยุกตใชหลักการบวกและหลักการคูณในการหาจํานวนวิธีในการนับได 3. อธิบายวิธีหาและหาจํานวนวิธีในการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสนในกรณีที่สิ่งของแตกตางกัน ทั้งหมดได 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ ในหัวขอนี้ผูเรียนจะไดศกษาเรื่องกฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ซึ่งประกอบดวยหลักการคูณและ ึ ่ หลักการบวก ซึ่งเปนพื้นฐานสําคัญในเรื่องของการนับ ตัวอยางที่ผูเรียนไดชมจากสื่อการสอน คือ ตัวอยางการนับการทํางาน ซึ่งประกอบดวย 2 ขันตอน โดยใน ้ ตัวอยางแรก การแตงตัวสามารถแบงการทํางานไดเปน 2 ขั้นตอน โดยขั้นตอนแรก คือ การเลือกเสือ และขั้นตอน ้ ที่ 2 คือ การเลือกกระโปรง สวนในตัวอยางที่ 2 การจัดชุดอาหาร สามารถแบงการทํางานไดเปน 2 ขั้นตอนเชนกัน โดยขั้นตอนแรก คือ การเลือกอาหารคาว และขั้นตอนที่ 2 คือ การเลือกอาหารหวาน ซึ่งสามารถสรุปไดดังนี้ ทฤษฎีบท ถาการทํางานอยางหนึ่งประกอบดวยการทํางาน 2 ขั้นตอน โดยการทํางานขั้นตอนที่ 1 มีวธีทํา n วิธี ิ และการทํางานขั้นตอนที่ 2 มีวธีทํา m วิธี จะไดวา จํานวนวิธีของการทํางานนี้เทากับ n × m วิธี ิ  จากทฤษฎีบทขางตน สามารถขยายไปสูกรณีที่การทํางานประกอบดวยการทํางาน k ขั้นตอน ดังรายละเอียดในสื่อการสอนตอไปนี้ 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดแนวคิดเกียวกับหลักการคูณ พรอมทั้งเห็นตัวอยางการประยุกตใชหลักการคูณแลว ผูสอน ่  อาจยกตัวอยางเพิ่มเติมเพื่อใหผูเรียนไดฝกทักษะในเรื่องนี้ไดดยิ่งขึ้น ดังนี้ ี ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการสรางจํานวน 3 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยที่เลขแตละ หลักจะตองไมซ้ํากัน และจํานวนที่สรางขึนตองเปนจํานวนที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700 ้  วิธีทํา _________ _________ _________ หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย การสรางจํานวนที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700 สามารถแบงการทํางานออกเปน 3 ขั้นตอน ดังนี้  ขั้นตอนที่ 1 เลือกเลขโดด 1 ตัว เพื่อวางในหลักรอย ซึ่งมีไดทั้งหมด 3 วิธี (เลข 4 หรือ เลข 5 หรือเลข 6) ขั้นตอนที่ 2 เลือกเลขโดด 1 ตัว เพื่อวางในหลักสิบ ซึ่งมีไดทั้งหมด 7 วิธี ขั้นตอนที่ 3 เลือกเลขโดด 1 ตัว เพื่อวางในหลักหนวย ซึงมีไดทั้งหมด 6 วิธี ่ โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนวิธีในการสรางจํานวนดังกลาวมีทั้งหมด 3 × 7 × 6 = 126 วิธี 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติม ดังนี้   ในกรณีที่การหาจํานวนของเหตุการณที่สนใจโดยตรงทําไดยาก เทคนิคที่สาคัญอยางหนึ่งคือการหา ํ จํานวนของเหตุการณที่ไมสนใจแทน จากนั้นใชความสัมพันธที่วา จํานวนของเหตุการณที่สนใจ = ( จํานวนของเหตุการณที่ไมมีเงื่อนไข ) − (จํานวนของเหตุการณทไมสนใจ) ี่ ตัวอยางตอไปนี้ เปนตัวอยางที่ประยุกตใชเรื่องการนับในการหาจํานวนฟงกชันและการหาจํานวน สับเซต ซึ่งผูสอนอาจทบทวนความหมายของฟงกชัน ฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งและสับเซต ใหผูเรียนกอน จากนันจึง ้ ใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม ตัวอยาง ให A = {1, 2,3, 4} จงหา 1. จํานวนฟงกชนทั้งหมดจาก A ไป A ั 2. จํานวนฟงกชนหนึ่งตอหนึ่งทั้งหมดจาก A ไป A ั 3. จํานวนฟงกชนทั้งหมดทีไมใชฟงกชันหนึงตอหนึ่งจาก A ไป A ั ่ ่ วิธีทา ํ ________ ________ ________ ________ f (1) f (2) f (3) f (4) 8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. ในการสรางฟงกชัน f จาก A ไป A สามารถแบงการทํางานไดเปน 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (1) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (2) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 3 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (3) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 4 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (4) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนวิธีในการสรางฟงกชันดังกลาวมีทั้งหมด 4 × 4 × 4 × 4 = 256 วิธี ดังนั้น จํานวนฟงกชนจาก A ไป A มีทั้งหมด 256 ฟงกชัน ั 2. ในการสรางฟงกชัน f ซึ่งเปนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง จาก A ไป A สามารถแบงการทํางานไดเปน 4 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (1) ซึ่งมีไดทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (2) โดยไมซ้ํากับ f (1) ซึ่งมีไดทั้งหมด 3 วิธี ขั้นตอนที่ 3 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (3) โดยไมซ้ํากับ f (1) และ f (2) ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี ขั้นตอนที่ 4 เลือกสมาชิกใน A จํานวน 1 ตัว เพื่อกําหนดใหเปนคาของ f (4) โดยไมซ้ํากับ f (1) , f (2) และ f (3) ซึ่งมีไดทั้งหมด 1 วิธี โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนวิธีในการสรางฟงกชันดังกลาวมีทั้งหมด 4 × 3 × 2 ×1 = 24 วิธี ดังนั้น จํานวนฟงกชนหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป A มีทั้งหมด 24 ฟงกชัน ั 3. จํานวนฟงกชันทังหมดที่ไมใชฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป A ้ = (จํานวนฟงกชนทั้งหมดจาก A ไป A ) − (จํานวนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งทั้งหมดจาก A ไป A ) ั = 256 − 24 = 232 ฟงกชัน 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กําหนดใหเซต A มีจํานวนสมาชิก n ตัว จงหาจํานวนสับเซตทั้งหมดของ A วิธีทา กําหนดให A = {a1 , a2 ,… , an } ํ ในการสรางสับเซต B ของ A สามารถแบงการทํางานไดเปน n ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 เลือกวา a1 ∈ B หรือ a1 ∉ B ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกวา a2 ∈ B หรือ a2 ∉ B ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี ขั้นตอนที่ n เลือกวา an ∈ B หรือ an ∉ B ซึ่งมีไดทั้งหมด 2 วิธี โดยหลักการคูณ จะไดวา จํานวนสับเซตทั้งหมดของ A เทากับ 2n สับเซต ตัวอยางในสื่อการสอนตอไปนี้ เปนตัวอยางเพื่อนําเขาสูเรื่องหลักการบวก ซึ่งผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง ึ หลักการบวกและตัวอยางการประยุกตใช 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติมวา บอยครั้งที่เราตองใชทั้งหลักการคูณและหลักการบวกเพื่อนับ จํานวนเหตุการณที่สนใจ และเพื่อใหผูเรียนเขาใจหลักการทั้งสองไดดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจใหผูเรียนฝกทําตัวอยาง เพิ่มเติม ดังนี้ ตัวอยาง ในการสรางรหัสจากตัวอักษร A, B, C, D โดยกําหนดใหแตละรหัสอาจมีอกษร 2 ตัว หรืออักษร 3 ตัว ั เทานั้น จะสรางรหัสไดทั้งหมดกี่วิธี วิธีทํา ในการสรางรหัสดังกลาว สามารถแบงพิจารณาไดเปน 2 กรณี กรณีที่ 1 รหัสมีอักษร 2 ตัว ขั้นตอนที่ 1 เลือกอักษรตัวแรก ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกอักษรตัวที่สอง ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี โดยหลักการคูณ จะไดวา วิธีสรางรหัสที่มอักษร 2 ตัว เทากับ 4 × 4 = 16 วิธี ี กรณีท่ี 2 รหัสมีอักษร 3 ตัว ขั้นตอนที่ 1 เลือกอักษรตัวแรก ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกอักษรตัวที่สอง ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี ขั้นตอนที่ 3 เลือกอักษรตัวที่สอง ซึ่งมีทั้งหมด 4 วิธี โดยหลักการคูณ จะไดวา วิธสรางรหัสที่มีอักษร 3 ตัว เทากับ 4 × 4 × 4 = 64 วิธี ี จากกรณีที่ 1 และกรณีที่ 2 และหลักการบวก จะไดวา จํานวนรหัสทีมีอักษร 2 ตัวหรืออักษร 3 ตัว มีทั้งหมด 16 + 64 = 80 วิธี ่ ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดในการสรางจํานวน 3 หลัก จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6 และ 7 โดยที่เลขแตละ หลักจะตองไมซ้ํากัน และจํานวนที่สรางขึนตองเปนจํานวนคี่ที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700 ้ วิธีทา ํ 1, 3, 5, 7 4, 5, 6 _________ _________ _________ หลักรอย หลักสิบ หลักหนวย จะเห็นวา เลข 5 อยูไดทั้งในตําแหนงหลักรอยและหลักหนวย ดังนั้นจึงแบงพิจารณาเปน 2 กรณี ดังนี้ กรณีท่ี 1 หลักหนวยเปนเลข 5 ขั้นตอนที่ 1 เลือกเลขหลักหนวย ซึ่งมีทั้งหมด 1 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกเลขหลักรอย ซึ่งมีทั้งหมด 2 วิธี ขั้นตอนที่ 3 เลือกเลขหลักสิบ ซึ่งมีทั้งหมด 6 วิธี โดยหลักการคูณ จํานวนที่หลักหนวยเปนเลข 5 มีทั้งหมด 1× 2 × 6 = 12 จํานวน 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กรณีที่ 2 หลักหนวยไมเปนเลข 5 ขั้นตอนที่ 1 เลือกเลขหลักหนวย ซึ่งมีทั้งหมด 3 วิธี ขั้นตอนที่ 2 เลือกเลขหลักรอย ซึ่งมีทั้งหมด 3 วิธี ขั้นตอนที่ 3 เลือกเลขหลักสิบ ซึ่งมีทั้งหมด 6 วิธี โดยหลักการคูณ จํานวนที่หลักหนวยเปนเลข 5 มีทั้งหมด 3 × 3 × 6 = 54 จํานวน จากกรณีที่ 1 และกรณีที่ 2 และหลักการบวก จะไดวา จํานวน 3 หลักซึ่งเปนจํานวนคี่ที่มีคามากกวา 400 แตนอยกวา 700 มีทั้งหมด 12 + 54 = 66 วิธี  สําหรับตัวอยางขางตน ผูเรียนอาจแบงกรณีแบบอื่นได เชน กรณีหลักรอยเปนเลข 5 และ กรณีหลักรอยไมเปนเลข 5 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 1. สวนสาธารณะแหงหนึ่งมีประตูทั้งหมด 5 ประตู ถาจะเขาประตูหนึ่งและออกอีกประตูหนึ่ง ซึ่งไม ซ้ํากับประตูท่เี ขามา จะมีวิธการเขาและออกจากสวนสาธารณะแหงนีไดทั้งหมดกี่วิธี ี ้ 2. ถาถนนจากกรุงเทพฯ ถึงลพบุรีมี 3 สาย และถนนจากลพบุรีถึงนครราชสีมามี 4 สาย ถาจะขับ รถยนตจากกรุงเทพฯ ถึงนครราชสีมาโดยขับผานจังหวัดลพบุรี จะใชเสนทางที่ตางกันไดทั้งหมดกี่ เสนทาง 3. เมื่อโยนเหรียญ 1 เหรียญ จํานวน 3 ครั้ง จะมีผลลัพธที่แตกตางกันไดทั้งหมดกีวิธี ่ 4. บริษัทผูผลิตเสื้อผาสําเร็จรูปบริษัทหนึ่งผลิตเสื้อ 3 แบบ แตละแบบมี 5 สี และมีขนาดตาง ๆ กัน 3 ขนาด ถาจะจัดเสื้อที่ผลิตเขาตูโชวหนารานใหครบทุกแบบ ทุกสี และทุกขนาด จะตองใชเสื้อทั้งหมด กี่ตัว 5. นักวิ่งแขง 5 คน จะวิ่งเขาเสนชัยในอันดับตาง ๆ กันไดทงหมดกีวธี สมมติวาไมมนกวิ่งสองคนใดวิง ั้ ่ิ  ี ั ่ เขาเสนชัยพรอมกัน 6. ให A = {1, 2,3, 4,5} จงหาจํานวนฟงกชน f : A → A โดยที่ f ( x) ≥ x ทุก x ∈ A ั 7. ให A = {1, 2,3} และ B = {a, b, c, d } จงหา 7.1 จํานวนฟงกชันหนึ่งตอหนึ่งจาก A ไป B 7.2 จํานวนฟงกชนจาก A ไป B ที่ไมใชฟงกชันหนึ่งตอหนึ่ง ั  13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาวิธีการเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสนในกรณีที่สิ่งของที่นํามาจัดเรียงแตกตางกัน ึ ทั้งหมด โดยเริ่มจากใหผูเรียนรูจกกับ “แฟกทอเรียล” ซึ่งจะมีบทบาทสําคัญในเรื่องของการนับ ั ผูเรียนควรฝกทักษะเรื่องแฟกทอเรียล จากตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยาง จงหาคาตอไปนี้ 6! n! (n − 1)!(n + 1)! 1. 2. 3. 3! (n − 3)! (n !) 2 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 6! 6 × 5 × 4 × 3! วิธีทํา 1. = = 6 × 5 × 4 = 120 3! 3! n! n × (n − 1) × (n − 2) × (n − 3)! 2. = = n(n − 1)(n − 2) (n − 3)! (n − 3)! (n − 1)!(n + 1)! (n − 1)![(n + 1) × n !] n + 1 3. = = (n !) 2 [n × (n − 1)!]n ! n ตัวอยาง จงเขียนจํานวนตอไปนี้ใหอยูในรูปแฟกทอเรียล 1. 100 × 99 × 98 2. 11×12 ×13 ×14 ×15 3. n(n − 1)(n − 2) 100 × 99 × 98 × 97 × 96 × × 2 × 1 100! วิธทํา 1. ี 100 × 99 × 98 = = 97 × 96 × × 2 ×1 97! 1× 2 × ×10 × 11× 12 × 13 × 14 × 15 15! 2. 11×12 ×13 ×14 ×15 = = 1× 2 × × 10 10! n(n − 1)(n − 2)(n − 3) × × 2 ×1 n! 3. n(n − 1)(n − 2) = = (n − 3) × × 2 ×1 (n − 3)! ตัวอยาง จงหาคา n จากสมการตอไปนี้ n! 1. = 720 (n − 3)! n! n! 2. = (n − 10)!10! (n − 8)!8! n! วิธีทํา 1. = 720 (n − 3)! n(n − 1)(n − 2) = 10 × 9 × 8 ดังนั้น n = 10 n! n! 2. = (n − 10)!10! (n − 8)!8! (n − 8)! 10! = (n − 10)! 8! (n − 8)(n − 9) = 10 × 9 ดังนั้น n = 18 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทฤษฎีบท จํานวนวิธีในการจัดเรียงสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันทั้งหมด จะมีได n ! วิธี n! พิสจน ู จํานวนวิธในการจัดเรียงสิ่งของ n สิ่งที่แตกตางกันทั้งหมด = Pn,n = ี = n ! วิธี (n − n)! เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางขางตนจบแลว ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติมวา ในการหาจํานวนวิธีเรียง สับเปลี่ยนเชิงเสน โดยมีเงื่อนไขเพิ่มเติมวา “สิ่งของ k สิ่งตองอยูติดกัน” มีเทคนิคสําคัญอยางหนึ่งคือ นําสิ่งของ ที่ตองการใหอยูติดกัน “มัด” รวมไวดวยกัน จากนัน มองสิ่งของที่ “มัด” รวมกันไวเปนเสมือนสิงของเพียงหนึง  ้ ่ ่ สิ่ง แตผูเรียนอยาลืมวา สิ่งของที่ “ มัด” รวมไวดวยกัน สามารถสลับตําแหนงกันไดอีก เพื่อใหผูเรียนเขาใจเทคนิคดังกลาวไดดียิ่งขึ้น ผูสอนอาจใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนีเ้ พิ่มเติม 17
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีจดนักเรียนชาย 5 คนและนักเรียนหญิง 3 คนยืนเขาแถว โดยที่ ั 1. ไมมีเงื่อนไขเพิ่มเติม 2. นักเรียนชายตองอยูตดกันและนักเรียนหญิงตองอยูติดกัน ิ  วิธีทา 1. จํานวนวิธจัดนักเรียนชาย 5 คน นักเรียนหญิง 3 คน ยืนเขาแถว = P8,8 = 8! วิธี ํ ี 2. นํานักเรียนชาย 5 คน มัดติดกันไว และนํานักเรียนหญิง 3 คน มัดติดกันไว ดังนั้น ในการจัดดังกลาว จึงเปรียบเสมือนการเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของ 2 สิ่ง จัดเรียงได 2! วิธี นักเรียนชายที่มัดติดกันไว 5 คน เรียงสับเปลี่ยนกันได 5! วิธี นักเรียนหญิงที่มัดติดกันไว 3 คน เรียงสับเปลี่ยนกันได 3! วิธี ทําใหไดวา จํานวนวิธการจัดที่ตองการมีทั้งหมด = 2!5!3! = 1, 440 วิธี ี เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจใหขอสังเกตผูเรียนเพิ่มเติม ดังนี้   ในการจัดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว โดยที่ “หญิงหามยืนติดกัน” หมายถึง “ไมมีหญิงสองคนใด ยืนติดกัน” ไมใช “หามหญิงสามคนยืนติดกัน” ดังนั้น “นิเสธของ หญิงหามยืนติดกัน” จึงไมใช “หญิงทั้งสาม คนยืนติดกัน” เพราะฉะนั้น จํานวนวิธีจัดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว โดยที่หญิงหามยืนติดกัน ≠ (จํานวนวิธีจัดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว) − (จํานวนวิธีจดชาย 5 คน หญิง 3 คน ยืนเขาแถว โดยที่หญิงทั้งสามคนยืนติดกัน) ั 18
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 1. จํานวนวิธีในการจัดอักษร A, B, C, D และ E เรียงเปนเสนตรง มีทั้งหมดกี่วธี ิ 2. นําตัวอักษร A, B, C, D และ E มาเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน โดยที่ C และ D ตองอยูติดกัน ไดทั้งหมดกีวิธี ่ 3. จํานวนวิธีในการจัดเรียงอักษร 3 ตัว จาก A, B, C, D และ E มีทั้งหมดกี่วธีิ 4. ในการแขงขันวิ่งของนักวิ่ง 5 คน จํานวนวิธที่นักวิ่งจะวิ่งเขาเสนชัยสองคนแรกมีทั้งหมดกี่วธี ี ิ 5. จํานวนวิธีสรางเลขสามหลักจากเลขโดด 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7 โดยหามใชเลขซ้ํา มีทั้งหมดกี่วธี ิ 6. จงหาจํานวนวิธีที่ผูชาย 3 คนและผูหญิง 4 คน ยืนเขาแถวซื้อตั๋วรถไฟ โดยที่ผูหญิงทั้งหมดตองยืนติดกัน 7. จงหาจํานวนวิธีเลือกหัวหนาหอง รองหัวหนาหองและเหรัญญิก ตําแหนงละ 1 คน จากนักเรียนหองหนึ่ง ที่มีทั้งหมด 50 คน 8. จํานวนวิธีในการจัดนักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน เขาแถวถายรูป มีทั้งหมดกีวิธี ถา ่ 8.1 ไมมีเงื่อนไขเพิ่มเติม 8.2 นักเรียนชายยืนสลับกับนักเรียนหญิง 8.3 นักเรียนชายสองคนยืนสลับกับนักเรียนหญิงสองคน 9. นักเรียนกลุมหนึ่งมีจํานวน 8 คน โดยที่มี ด.ช.สาธิตและ ด.ช.ณัฐ รวมอยูดวย จงหาจํานวนวิธีที่จด ั นักเรียนกลุมนี้เขาแถว โดยที่ 9.1 ด.ช.สาธิตและด.ช.ณัฐ ตองยืนติดกัน 9.2 ด.ช.สาธิตและด.ช.ณัฐ หามยืนติดกัน (n − 1)! 1  (n + 2)! 10. จงหาคา n จากสมการ =  n! 3  (n + 1)!   19
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 22
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 23
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดระคน 1. มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร 3 เลม หนังสือวิชาวิทยาศาสตร 2 เลม และหนังสือวิชาภาษาอังกฤษ 2 เลม โดยหนังสือทุกเลมแตกตางกันทั้งหมด ถาตองการจัดหนังสือทั้งหมดนี้วางบนชันหนังสือ โดยให ้ หนังสือวิชาเดียวกันอยูตดกัน จะมีจํานวนวิธีการจัดไดทงหมดกีวิธี ิ ั้ ่ 1. 6 2. 72 3. 144 4. 5,040 2. จากโจทยขอ 1 ถาเพิ่มเงื่อนไขวา หนังสือวิชาคณิตศาสตรตองอยูระหวางหนังสือวิชาวิทยาศาสตรและ หนังสือวิชาภาษาอังกฤษ จะมีจํานวนวิธีการจัดไดทั้งหมดกี่วิธี 1. 24 2. 48 3. 56 4. 72 3. ครอบครัวหนึงมีทั้งหมด 4 คน ประกอบดวย พอ แม และลูก 2 คน ตองการขับรถไปชายทะเล โดยใช ่ รถยนต 4 ที่นั่ง โดยพอหรือแมเปนคนขับรถ จะมีจํานวนวิธีที่สมาชิกในครอบครัวนังรถยนตคันนีได ่ ้ ทั้งหมดกีวิธี ่ 1. 6 2. 12 3. 18 4. 24 4. ถามีจานสีขาวลายตางกัน 4 ใบ จานสีฟาลายตางกัน 3 ใบ และจานสีดาลายตางกัน 3 ใบ จะมีจํานวนวิธี ํ วางจานทั้ง 10 ใบซอนกัน โดยใหจานสีขาวอยูติดกันทั้งหมดกี่วิธี 10! 1. 4!6! 2. 3!7! 3. 4!7! 4. 4! 5. จํานวนวิธีจดนักเรียนชาย 4 คน นักเรียนหญิง 4 คน เขาแถว โดยที่นกเรียนชายจะอยูในตําแหนงเลขคู ั ั เสมอ มีทั้งหมดกี่วธี ิ 1. 48 2. 144 3. 288 4. 576 6. จํานวนวิธีสรางจํานวน 3 หลักใหมคามากกวา 300 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยหามใชเลขซ้ํา มี ี ไดทั้งหมดกีวธี ่ิ 1. 12 2. 24 3. 60 4. 154 24
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 7. จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะสรางจํานวนที่มี 3 หลัก โดยแตละหลักมีตัวเลขซ้ํากันได และจํานวน เหลานี้หารดวย 5 ลงตัว ไดทั้งหมดกีจํานวน ่ 1. 30 2. 36 3. 60 4. 72 8. บริษัทแหงหนึงมีตําแหนงงานวางอยู 2 ตําแหนง ถามีผูมาสมัครเขาทํางาน 5 คน คือ ก, ข, ค, ง และ จ ่ หลังจากสัมภาษณแลว ปรากฏวาคนที่เหมาะกับตําแหนงที่ 1 คือ ก, ข, ค และ ง สวนคนที่เหมาะสมกับ ตําแหนงที่ 2 คือ ค, ง และ จ จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่บริษัทจะเลือกคนเขาทํางานใหเหมาะสมกับ ตําแหนงดังกลาว 1. 10 2. 12 3. 16 4. 24 9. อักษรภาษาอังกฤษ 5 ตัวทีแตกตางกัน ซึ่งประกอบดวยพยัญชนะ 2 ตัว และสระ 3 ตัว นํามาจัดเรียงโดย ่ ไมใหพยัญชนะอยูติดกัน แตสระตองอยูติดกัน จํานวนวิธการจัดเทากับขอใดตอไปนี้ ี 1. 12 2. 24 3. 32 4. 36 10. ให A = {1, 2,3, 4,5}และ B = {1, 2,3} จํานวนฟงกชัน f :A→B ซึ่ง f (1) ≠ 1 และ f (2) ≠ 2 เทากับขอใดตอไปนี้ 1. 80 2. 108 3. 125 4. 243 25
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝกหัด 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 1. 20 2. 12 3. 8 4. 45 5. 120 6. 120 7. 7.1 24 7.2 40 เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 1. 120 2. 2!4!, 48 3. 60 4. 20 5. 210 6. 4!4!, 576 7. 50 x 49 x 48, 117600 8. 8.1 8!, 40320 9. 9.1 2!7!, 10080 8.2 2!4!4!, 1152 9.2 8! − 2!7!, 30240 8.3 2!4!4!, 1152 10. 1 เฉลยแบบฝกหัดระคน 1. 3 2. 2 3. 2 4. 3 5. 4 6. 3 7. 3 8. 1 9. 1 10. 2 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 30
  • 32. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน . การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 31