SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  38
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           การนับและความนาจะเปน
               (เนือหาตอนที่ 5)
                   ้
                การทดลองสุม

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                          สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน

         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย

 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน
                          - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                                  ่
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด)
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู
                          - วิธีจัดหมู
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบทอเนกนาม
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม
                          - การทดลองสุม
                          - ปริภูมิตัวอยาง
                          - เหตุการณและความนาจะเปน
 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1
                          - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                          - การหาความนาจะเปนแบบงาย
 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2
                          - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                          - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร
 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                   ้
12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ
13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน
16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ
 ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            การนับและความนาจะเปน (การทดลองสุม)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            5 (5/7)

หัวขอยอย       1. การทดลองสุมและปริภูมตัวอยาง
                                         ิ
                 2. เหตุการณและความนาจะเปน



จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. เขาใจความหมายของการทดลองสุม
    2. เขาใจความหมายและสามารถหาปริภูมิตัวอยางของการทดลองสุมได
    3. เขาใจความหมายของเหตุการณและหาความนาจะเปนของเหตุการณได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
             
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายความหมายของการทดลองสุม ปริภูมิตัวอยางและเหตุการณได
   2. หาปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมได
                  ั
   3. หาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางและเหตุการณ โดยใชกฎการนับได
                             ู ิ
   4. อธิบายความหมายและวิธีการหาความนาจะเปนของเหตุการณได




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        1. การทดลองสุมและปริภมิตัวอยาง
                              ู




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                     1. การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง

       ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาเรื่อง “การทดลองสุม” และ “ปริภูมิตัวอยาง” เพื่อนําไปสูเรื่อง “เหตุการณและ
ความนาจะเปน” ซึ่งจะไดศึกษาในหัวขอถัดไป โดยในสื่อการสอนเริ่มดวยการยกตัวอยางการทดลอง จากนั้นจึง
ใหความหมายของการทดลองสุม




          เมื่อผูเรียนดูสอการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจอธิบายผูเรียนเพิ่มเติมวา ผลลัพธที่เปนไปไดของการ
                          ื่                         
ทดลองสุมอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับวาการทดลองนัน ๆ ผลลัพธที่สนใจคืออะไร ยกตัวอยางเชน ทดลองทอด
                                                          ้
ลูกเตา 1 ลูก ถาเราสนใจแตมของลูกเตาที่ขึ้น ผลลัพธที่เปนไปได คือ ลูกเตาขึ้นแตม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แตถา
เราสนใจวาลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ ผลลัพธที่เปนไปได คือ จํานวนคู หรือ จํานวนคี่
          เพื่อใหผูเรียนเขาใจคําวา “การทดลองสุม” ไดดยิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางการทดลองสุมตอไปนี้
                                                            ี
เพิ่มเติม



                                                           6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง
    1. สุมจํานวน 1 จํานวนที่มีคาอยูระหวาง 0 กับ 1 และสนใจคาของจํานวนที่หยิบได
    2. สุมหยิบลูกแกว 2 ลูกพรอมกัน จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสนใจสีของ
         ลูกแกวที่หยิบได
    3. การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่ง และสนใจผลการสอบของนักเรียนคนนี้
    4. การตรวจปริมาณแอลกอฮอลของคนขับรถยนตคนหนึ่ง และสนใจปริมาณแอลกอฮอลที่วัดได

          จากนั้น ผูเรียนจะไดศึกษาเรื่อง “ปริภูมิตวอยาง” ซึ่งเปนเรื่องที่ตอเนืองจากเรื่อง “การทดลองสุม” โดย
                                                    ั                              ่
ปริภูมิตัวอยาง คือ เซตของผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองสุม นั่นเอง




        จากตัวอยางขางตน ทําใหทราบวา ในการทดลองครั้งหนึ่ง ๆ ปริภูมิตัวอยางอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับ
ผลลัพธที่เราสนใจของการทดลองนั้น ๆ
        เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องปริภมิตัวอยางไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้
                                        ู             ี

                                                           7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน เมื่อผลลัพธที่สนใจ คือ
                        ั
        1. หนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น
        2. จํานวนหัวที่ขน ึ้
ตอบ 1. ปริภูมิตัวอยาง S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT }
        2. ปริภูมตัวอยาง S2 = {0,1, 2,3}
                 ิ

หมายเหตุ ในเรื่องการนับและความนาจะเปน ถาโจทยไมไดกําหนดเพิมเติมวาสิ่งของ n สิ่งที่เราสนใจ
                                                                ่
เหมือนกัน หมายความวา สิ่งของ n สิ่งนั้นแตกตางกันทั้งหมด จากตัวอยางขางตน ทําใหไดวา เหรียญ 3 เหรียญ
แตกตางกันทั้งหมด ดังนั้น ผลลัพธ HHT กับ HTH จึงแตกตางกัน

ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้
                         ั
        1. สุมหยิบหลอดไฟ 5 หลอด จากกลองซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 40 หลอดและหลอดไฟเสีย 4 หลอด
            เมื่อผลลัพธท่สนใจคือจํานวนหลอดไฟเสียที่ได
                           ี
        2. ทดลองหยิบมะมวงครั้งละ 1 ผลไปเรื่อย ๆ จนกวาจะหยิบไดมะมวงมันจากตะกราใบหนึ่งซึ่งบรรจุ
            มะมวงมัน 8 ผลและมะมวงเปรี้ยว 2 ผล เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนครั้งที่ตองหยิบมะมวง
        3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ
           ลูกแกวที่หยิบได

ตอบ 1. ปริภูมตัวอยาง
             ิ              S1 = {0,1, 2,3, 4}
    2. ปริภูมิตัวอยาง      S 2 = {1, 2,3}

       3. ปริภูมิตัวอยาง   S3 =   {สีแดง, สีขาว}




                                                          8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        เมื่อผูเรียนชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจย้ําผูเรียนอีกครั้งวา ปริภูมิตัวอยางอาจเปนไดทั้งเซต
จํากัดและเซตอนันต
        สําหรับการทดลองสุมใด ๆ บางครั้งเราไมสนใจวาสมาชิกในปริภูมิตัวอยางเปนอะไรบาง แตเราอยาก
ทราบจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางนัน ๆ ดังนั้น ผูสอนอาจยกตัวอยางตอไปนี้ เพื่อใหผูเรียนฝกหาจํานวน
                                ั       ้           
สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนเรื่องความนาจะเปนในหัวขอถัดไป

ตัวอยาง จงหาจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้
                                        ั
        1. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและแตม
           ของลูกเตาที่ขึ้น
        2. จัดหนังสือ 8 เลมที่แตกตางกันทั้งหมดวางบนชั้นหนังสือ ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดเรียง
           หนังสือ
        3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ
           ลูกแกวที่หยิบได
        4. จัดนักเรียน 6 คนนั่งรอบโตะกลม ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดทีนั่ง
                                                                            ่
ตอบ 1. 2 × 6 = 12
        2. 8! = 40,320
        3. 2
        4. (6 − 1)! = 5! = 120




                                                           9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                            เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง

1. จงเขียนปริภูมตัวอยางของการทดลองตอไปนี้
                  ิ
   1.1 โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและ
       แตมของลูกเตาที่ขึ้น
   1.2 สุมหยิบหลอดไฟ 2 หลอดจากกลองใบหนึงซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 5 หลอดและหลอดไฟเสีย 1 หลอด
                                                ่
       โดยหยิบทีละครั้งและไมใสกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป ถาผลลัพธที่สนใจคือสภาพของหลอดไฟ
       ทั้ง 2 หลอดที่หยิบได
   1.3 การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่งซึ่งขอสอบชุดนี้เปนขอสอบแบบปรนัยมีทั้งหมด
        5 ขอ คะแนนเต็มขอละ 2 คะแนน ถาผลลัพธที่สนใจคือคะแนนทีนกเรียนคนนี้ได
                                                                         ่ ั
   1.4 สอบถามแมบาน 3 คนวาใชยาสีฟนยีหอ “สดชื่น” หรือไม ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของแมบาน
                                        ่
       ทั้ง 3 คน
   1.5 นําแบตเตอรี่ 1 อันมาทดสอบ ถาผลลัพธที่สนใจคืออายุการใชงานของแบตเตอรี่
   1.6 ทอดลูกเตา 1 ลูกไปเรื่อย ๆ จนกวาลูกเตาจะขึ้นแตม 6 เปนครั้งที่สอง ถาผลลัพธที่สนใจคือจํานวน
       ครั้งที่ตองทอดลูกเตา
                

2. จงหาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้
                              ู ิ
   2.1 การสอบวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนคนหนึ่ง ซึ่งขอสอบแบงเปนสองสวน สวนแรกเปนขอสอบ
       แบบถูก-ผิด จํานวน 5 ขอ และสวนที่สองเปนขอสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ขอ สมมติให
       นักเรียนคนนี้ทําขอสอบครบทุกขอ ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของนักเรียนคนนี้
   2.2 สุมหยิบไพ 2 ใบจากสํารับซึ่งมีไพ 52 ใบ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาไพทั้งสองใบที่หยิบได
   2.3 เลือกอาหารคาว 2 อยางและขนมหวาน 1 อยาง จากรานอาหารซึ่งขายอาหารคาว 10 อยางและขนม
       หวาน 3 อยาง ถาผลลัพธที่สนใจคืออาหารคาวและขนมหวานทีได     ่
   2.4 เลือกคณะกรรมการ 3 คนจากผูสมัครทั้งหมด 10 คน ถาผลลัพธที่สนใจคือผูที่ไดรับคัดเลือกเปน
       กรรมการ




                                                     10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




            2. เหตุการณและความนาจะเปน




                                     11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                          2. เหตุการณและความนาจะเปน

         ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง “เหตุการณและความนาจะเปน” โดยในสื่อการสอน จะเริ่มดวยการ
                                   ึ
ใหความหมายของคําวา “เหตุการณ” และ “เหตุการณไมเกิดรวมกัน” พรอมยกตัวอยาง จากนั้นจึงใหความหมาย
พรอมทั้งสมบัติของ “ความนาจะเปนของเหตุการณ”




          เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจเนนย้าวาการหาเหตุการณตองขึ้นอยูกบปริภูมิตวอยาง
                                                               ํ                              ั        ั
ที่เรากําลังสนใจ ดังตัวอยางขางตน ถาผลลัพธที่ไดจากการทดลองสุมตางกัน เหตุการณที่ไดกอาจตางกันดวย
                                                                                            ็
จากนั้นผูสอนยกตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม

ตัวอยาง ทําการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน จะไดวา

                                                สนใจหนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น                         สนใจจํานวนหัว
                                                                                                            ที่ขึ้น
 1. ปริภูมิตัวอยาง              S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } S = {0,1, 2,3}
                                                                                        2




 2. เหตุการณที่เหรียญขึ้น        A1 = {HTT , THT , TTH }                                               A2 = {1}
    หัว 1 เหรียญ
 3. เหตุการณที่เหรียญขึ้น       B1 = {HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT }                        B2 = {0,1, 2}
    กอยอยางนอย 1 เหรียญ
 4. เหตุการณที่เหรียญขึ้น       C1 = ∅                                                                 C2 = ∅
    หัวมากกวา 3 เหรียญ
                                                           12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่อง “เหตุการณ” ไดดย่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้
                                                    ีิ

ตัวอยาง โยนลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาทั้งสองที่ข้น จงหา   ึ
         1. A ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูก
         2. B ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากัน
         3. C ซึ่งแทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว
         4. เหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากันและผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว
         5. เหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูกและผลรวมของแตมหารดวย 6 ไมลงตัว
ตอบ 1. A = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1,5), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (5,1), (6,1)}
         2. B = {(1,1), (2, 2), (3,3), (4, 4), (5,5), (6, 6) }
         3. C = {(1,5), (2, 4), (3,3), (4, 2), (5,1), (6, 6)}
         4. B ∩ C = {(3,3), (6, 6)}
         5. A ∩ C ′ = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (6,1)}




                                                         13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




ตัวอยาง ทดลองโยนลูกเตา 1 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาที่ข้นึ
          ให A แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่ และ
               B แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคู
ดังนั้น ปริภูมตวอยาง S = {1, 2,3, 4,5, 6} , A = {1,3,5} และ B = {2, 4, 6}
              ิั
จะไดวา A ∩ B = ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน
                          ้

ตัวอยาง ทดลองโยนเหรียญ 2 เหรียญ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญทั้งสองเหรียญที่ขึ้น
          ให A แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นหัว 1 เหรียญ และ
                B แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นกอยอยางนอย 1 เหรียญ
ดังนั้น ปริภูมตัวอยาง S = {HH , HT , TH , TT } , A = {HT , TH } และ B = {HT , TH , TT }
              ิ
จะไดวา A ∩ B = {HT , TH } ≠ ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B ไมเปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน
                                       ้




                                                       14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนควรเนนใหผูเรียนเห็นความสําคัญในการเลือกปริภูมิ
ตัวอยางทีจะนํามาชวยในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ จากที่ผูเรียนไดทราบแลววา สําหรับการทดลอง
          ่
สุมใด ๆ ปริภูมิตัวอยาง S อาจมีไดมากกวาหนึ่งแบบขึนอยูกับผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองที่เรา
                                                      ้
สนใจ
        ดังนั้นในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ใด ๆ โดย

                                                               n( E )
                                                    P( E ) =
                                                               n( S )


สิ่งสําคัญ คือ ปริภูมิตัวอยาง S นั้นตองมีสมบัติที่วา สมาชิกทุกตัวในปริภมิตัวอยางตองมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ
                                                                          ู
กัน



                                                          15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                        สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


            เพื่อใหผูเรียนหา “ความนาจะเปนของเหตุการณ” ไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้
เพิ่มเติม

ตัวอยาง ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่
             1. ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7
             2. ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง
            A แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 และ
            B แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว


                       แตม
              แตม ลูกที่ 1          1         2            3           4            5            6
              ลูกที่ 2
                    1               2          3           4            5           6             7

                    2               3          4           5            6           7             8

                    3               4          5           6           7            8             9

                    4               5          6           7           8            9            10

                    5               6          7           8           9          10             11

                    6               7          8           9          10          11             12


            1. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 = P( A) = n( A) = 15 =                   5
                                                                                  n( S )    36    12
            2. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว
                              n( B ) 7
                = P( B) =           =
                              n( S ) 36




                                                               16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งมีสลากอยู 100 ใบ หมายเลข 00 ถึง 99 สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จงหาความ
นาจะเปนที่ไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ
           E แทนเหตุการณทไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน
                             ่ี
ดังนั้น
                        S = {00, 01, 02,… ,99}
และ
                        E = {01,12, 23,34, 45,56, 67, 78,89,10, 21,32, 43,54, 65, 76,87,98}
ทําใหไดวา
          
ความนาจะเปนที่ไดสลากทีมีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน = P( E ) = n( E ) =
                         ่                                                                            18
                                                                                                         =
                                                                                                           9
                                                                                          n( S )     100 50


                                                                                         n( E )
หมายเหตุ ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ                A   ใด ๆ โดย         P( E ) =             เราไมจําเปนตองเขียน
                                                                                         n( S )
เหตุการณ E แบบแจกแจงสมาชิก เพราะสิ่งที่เราตองการทราบคือจํานวนสมาชิกของ E เทานั้น ซึ่งเราสามารถ
ใชความรูเรื่องการนับที่ไดศกษาไปกอนหนานี้มาชวยได
                             ึ
       สําหรับตัวอยางขางตน เราสามารถใชความรูเรื่องการนับชวยในการหาสมาชิกของเหตุการณ E ดังนี้
                                      หลักสิบ หลักหนวย

                                0, 1, 2, 3,                       1 วิธี
                               4, 5, 6, 7, 8           (คาเพิ่มจากตัวหนาอีก 1)


        ดังนั้น จํานวนสมาชิกของเหตุการณ E เทากับ 9 ×1× 2! = 18 ตัว

                                                         สลับตําแหนง
                                                          หลักหนวย
                                                         และหลักสิบ




                                                        17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสีดํา 4 ลูก สุม หยิบลูกแกว 2 ลูกจากกลองใบ
นี้ จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก เมื่อ
         1. หยิบทีละลูกและใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป
         2. หยิบทีละลูกและไมใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป
         3. หยิบสองลูกพรอมกัน
วิธีทํา 1. ให S1 แทนปริภูมิตวอยาง และ E1 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
                              ั
            ดังนั้น
                                                        n( E1 ) 3 × 3 1
                                           P ( E1 ) =          =     =
                                                        n( S1 ) 9 × 9 9
       2. ให S2 แทนปริภูมิตวอยาง และ E2 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
                            ั
          ดังนั้น
                                                        n( E2 ) 3 × 2 1
                                          P ( E2 ) =            =     =
                                                        n( S 2 ) 9 × 8 12
        3. ให S3 แทนปริภูมิตัวอยาง และ      E3   แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
            ดังนั้น
                                                            3 6
                                                             
                                                 n( E3 )  2   0  3    1
                                      P ( E3 ) =         =          =   =
                                                 n( S3 )     9      36 12
                                                              
                                                              2


ขอสังเกต จากตัวอยางขางตน ความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกทั้งแบบที่หยิบทีละลูกและไมใส
กลับคืน กับแบบที่หยิบสองลูกพรอมกัน มีคาเทากัน เพราะวา
                                                             3
                                                          2! 
                                              3 × 2 P3,2      2
                                   P ( E2 ) =      =     =   = P( E3 )
                                              9 × 8 P9,2    9
                                                          2! 
                                                             2
จากขอสังเกตนี้ และความสัมพันธที่วา
                                                               n
                                                    Pn ,r = r ! 
                                                               r
เมื่อ 0 ≤ r ≤ n สามารถนําไปสูขอสรุปในกรณีทวไปไดวา ความนาจะเปนของเหตุการณที่เราสนใจจากการ
                                                 ั่
ทดลองสุมหยิบสิ่งของ r สิ่งจากสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด n สิ่ง ทั้งแบบหยิบพรอมกันและแบบหยิบทีละลูก
และไมใสกลับคืน จะมีคาเทากัน



                                                           18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง 10 สุมหยิบสลาก 3 ใบ จงหาความ
นาจะเปนที่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ
                             ั
                E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5
                                 ี
         ดังนั้น
                                        E = {{1, 4,5},{2,3,5}}
        ทําใหไดวา
                                                     n( E )    2    2   1
                                          P( E ) =          =     =   =
                                                     n( S ) 10  120 60
                                                               
                                                              3


ขอตกลง สัญลักษณ {a1 , a2 ,… , ar } หมายถึง หยิบไดสิ่งของ a1, a2 ,… , ar โดยไมคานึงถึงลําดับกอนหลังที่ได
                                                                                  ํ

ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กํากับไว สุมหยิบสลาก 3 ใบจากกลอง
ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมนอยกวา 9
วิธีทา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ
     ํ                      ั
                E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมนอยกวา 9
                                ี
         ดังนั้น
                                  E = {{1, 2,3},{1, 2, 4},{1, 2,5},{1,3, 4}}
        ทําใหไดวา
                                          n( E )     4   4 2
                               P( E ) =          =      = =
                                          n( S )  5  10 5
                                                    
                                                    3


ตัวอยาง โยนเหรียญ 1 เหรียญ และทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่เหรียญขึนหัวและลูกเตาขึ้นแตม
                                                                            ้
มากกวา 4
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ
                            ั
                E แทนเหตุการณท่เหรียญขึ้นหัวและลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4
                                ี
         ดังนั้น
                                                n( S ) = 2 × 6 = 12

                                                     H, T        1,2,…,6

                                                            19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


        และ
                                                       n( E ) = 1× 2 = 2

                                                        H             5, 6
        ทําใหไดวา
                                                               n( E ) 2 1
                                                    P( E ) =         = =
                                                               n( S ) 12 6


ตัวอยาง นําสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A และเครื่องจักร B มาตรวจสภาพ ไดผลดังตาราง

                                                                    จํานวนสินคา(ชิ้น)
                                  เครื่องจักร
                                                               A                         B
                     สภาพสินคา
                              ดี                               37                        55
                            ชํารุด                              3                         5

       1.      สุมหยิบสินคามา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด
       2.      สุมหยิบสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A มา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสนคาชํารุด
                                                                                             ิ
วิธทํา 1.
   ี
                                 เครื่องจักร A           เครื่องจักร B


                                             ชํารุด
                                37              3       5
                                                                 55

            เนื่องจากสินคามีทั้งหมด 100 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 8 ชิ้น ดังนั้น
                                                                              8   2
                           ความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด =              =
                                                                             100 25




                                                               20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


2.                      เครื่องจักร A


                                     ชํารุด
                                        3        5




     เนื่องจากสินคาทีผลิตโดยเครื่องจักร A มีทั้งหมด 40 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 3 ชิ้น ดังนัน
                      ่                                                                   ้
                                                                                          3
     ความนาจะเปนทีจะหยิบไดสินคาชํารุดเมื่อสุมหยิบสินคาจากเครื่องจักร A =
                    ่
                                                                                         40




                                                     21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                      แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                             เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน

1. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว 2 ลูกและสีแดง 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน
   จงหา
   1.1 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือสีของลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล
                ั
        สีแดง 1 ลูก
   1.2 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก
                  ั
   1.3 ปริภูมิตัวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนลูกบอลสีแดงที่ได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล
        สีขาว 1 ลูก
2. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลอง
   ใบนี้พรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได จงหา
   2.1 ปริภูมิตัวอยาง
   2.2 A ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีเดียวกัน
   2.3 B ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดงอยางนอย 1 ลูก
   2.4 เหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก
   2.5 A′
   2.6 A ∪ B
   2.7 A ∩ B
3. นักเรียนคนหนึ่งมีหนังสือ 5 เลมที่แตกตางกันทั้งหมด โดยเปนหนังสือวิชาคณิตศาสตร 2 เลม วิชา
   ชีววิทยา 2 เลม และวิชาฟสิกส 1 เลม ถานักเรียนคนนี้สุมหยิบหนังสือ 3 เลม จงหาความนาจะเปนที่
    หยิบได
   3.1 วิชาคณิตศาสตรอยางนอย 1 เลม
   3.2 วิชาคณิตศาสตรและวิชาชีววิทยาอยางละ 2 เลม
   3.3 ไดครบทุกวิชา
4. ทอดลูกเตา 1 ลูกจํานวน 3 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่
   4.1 ลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 ทุกลูก
   4.2 ลูกเตาขึ้นแตมเทากันทุกลูก
   4.3 ผลรวมของแตมที่ขึ้นของลูกเตาทั้ง 3 ลูกมีคาไมเกิน 16




                                                    22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่
   5.1 เหรียญขึ้นกอยและลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่
   5.2 เหรียญขึ้นหัวหรือลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4
   5.3 ลูกเตาขึ้นแตมไมเกิน 3
6. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จากนั้น
   ทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่
   6.1 หมายเลขสลากที่หยิบไดและแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาเทากัน
   6.2 หมายเลขสลากที่หยิบไดเปนจํานวนคูแตแตมของลูกเตาที่ข้นเปนจํานวนคี่
                                                               ึ
   6.3 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 ลงตัว
   6.4 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว
   6.5 ผลรวมของหมายเลขสลากที่หยิบไดกับแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาไมเกิน 5
                                                                  
7. นักเรียนหองหนึ่งมีทั้งหมด 40 คน ปรากฏขอมูลดังตาราง

                                                         จํานวนนักเรียน(คน)
                         ดานที่ถนัด
                                                 ถนัดขวา                     ถนัดซาย
            เพศ
                      ชาย                           16                           5
                      หญิง                          15                           4

   7.1 สุมนักเรียนหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนทีนักเรียนที่สมไดจะถนัดซาย
                                                     ่            ุ
   7.2 สุมนักเรียนชายหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นกเรียนที่สมไดจะถนัดขวา
                                                           ั         ุ




                                                    23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                   สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                               เอกสารอางอิง

1.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
     เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

2.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
     เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.




                                                       26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
               แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                      แบบฝกหัดระคน

1. ในการขนสงโทรทัศนจํานวน 50 เครื่อง จากโรงงานไปยังรานคาแหงหนึ่ง ทําใหโทรทัศนชํารุด 3 เครื่อง
    เจาของรานคาสุมโทรทัศน 10 เครื่องเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ปริภมิตัวอยางคือขอใดตอไปนี้ เมื่อผลลัพธที่
                                                                ู
    สนใจคือจํานวนโทรทัศนที่ชํารุด
         1.       {0,1, 2,3}                             2.       {3, 4,… ,10}
         3.       {1, 2,… ,10}                           4.       {1, 2,… ,50}


2. สําหรับการทดลองสุมใด ๆ ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
        1.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0
        2.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 1
        3.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0.5
        4.     มีเหตุการณ A ที่ P( A) > 0.3

3. กลองใบหนึ่งมีสลาก n ใบ (n ≥ 3) ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง n ถาสุมหยิบสลาก
   จากกลองใบนี้ 2 ใบ แลวความนาจะเปนที่ไดใบหนึงเปนสลากหมายเลข 3 และอีกใบหนึ่งเปนสลาก
                                                     ่
   หมายเลขต่ํากวา 3 เทากับขอใดตอไปนี้
                 2                                                             1
        1.                                                       2.
                 n2                                                         n(n − 1)
                    2                                                          4
        3.                                                       4.
                 n(n − 1)                                                   n(n − 1)


4. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 9 ใบ มีหมายเลข 1 – 9 กํากับไว ถาสุมหยิบสลาก 2 ใบจากกลองใบนี้ โดยหยิบทีละ
   1 ใบและไมใสกลับคืนกอนหยิบใบถัดไป ความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขบนสลากทั้งสองใบนั้นหาร
   ดวย 5 ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้
                  1                                                         1
        1.                                                       2.
                 12                                                         6
                 1                                                          2
        3.                                                       4.
                 9                                                          9




                                                           28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 8 ลูก(แตกตางกันทั้งหมด) โดยเปนลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีแดง 3 ลูก และสีดํา
   3 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีเดียวกันตรงกับ
   ขอใดตอไปนี้
                 3                                                         5
        1.                                                      2.
                28                                                         28
                 3                                                         1
        3.                                                      4.
                14                                                         4


6. ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมของลูกเตาที่ขึ้นจะหารดวย 5 ไมลงตัวตรงกับ
   ขอใดตอไปนี้
                 2                                                         7
        1.                                                      2.
                11                                                        36
                29                                                        9
        3.                                                      4.
                36                                                        11


7. ไพสารับหนึ่งซึ่งมีทั้งหมด 52 ใบ ประกอบดวยไพหนาโพดํา โพแดง ขาวหลามตัดและดอกจิก อยางละ 13 ใบ
        ํ
    สุมหยิบไพ 3 ใบจากสํารับนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่ไพทั้งสามที่หยิบไดมีแตมมากกวา 2 แตนอยกวา 8
   เปนเทาใด
                 5                                                        7
                                                                           
        1.        3                                           2.           3
                 52                                                       52 
                                                                          
                3                                                        3
                 20                                                       28 
                                                                          
        3.      3                                             4.         3
                 52                                                       52 
                                                                          
                3                                                        3


8. กลองใบหนึ่งบรรจุปากกา 10 ดามที่แตกตางกัน โดยเปนปากกาสีแดง 3 ดาม สีนาเงิน 3 ดามและสีดํา 4 ดาม
                                                                           ้ํ
   สุมหยิบปากกา 3 ดามจากกลองใบนี้ ความนาจะเปนที่หยิบไดปากกาครบทุกสีเปนเทาใด
                 2                                                         3
        1.                                                      2.
                10                                                        10
                1                                                         7
        3.                                                      4.
                3                                                         9




                                                          29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


9. หนังสือสารานุกรมชุดหนึ่งมีทั้งหมด 8 เลม มีหมายเลข 1 – 8 กํากับ สุมหยิบหนังสือทีละ 1 เลมเรียงบนชั้น
   หนังสือจนครบ 8 เลม ความนาจะเปนที่หนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูติดกันเปนเทาใด
                  1                                                         2
        1.                                                        2.
                  8!                                                        8!
                   1                                                         2
        3.                                                        4.
                  72                                                        72
10. ตารางแสดงความสัมพันธของสุขภาพผูสูบบุหรี่ทั้งหมด 300 คน เปนดังนี้

                                                                 จํานวนผูสูบบุหรี่(คน)
                จํานวนบุหรี่ที่สูบตอวัน
                                  (มวน)          0-4                      5-20                  มากกวา 20
             สุขภาพ
             เปนมะเร็ง                           8                         7                        25
             ไมเปนมะเร็ง                       150                       70                        40

  สําหรับผูสูบบุหรี่มากกวา 20 มวนใน 1 วัน มีความนาจะเปนที่จะไมเปนมะเร็งเทากับขอใดตอไปนี้
                   8                                                         2
        1.                                                        2.
                  13                                                        13
                   2                                                        13
        3.                                                        4.
                  15                                                        15




                                                            30
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     31
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                            เฉลยแบบฝกหัด
                            เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง
1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {H 1, H 2, H 3, H 4, H 5, H 6, T1, T 2, T 3, T 4, T 5, T 6 }
   1.2 ปริภูมตัวอยาง S = { NN , ND, DN } เมื่อ N แทน หลอดไฟดี และ D แทน หลอดไฟเสีย
              ิ
   1.3 ปริภูมตัวอยาง S = {0, 2, 4, 6,8,10}
                    ิ
   1.4 ปริภูมตัวอยาง S = {YYY , YYN , YNY , YNN , NYY , NYN , NNY , NNN }
                  ิ
       เมื่อ Y แทน ใชยาสีฟนยีหอนี้ และ N แทน ไมใชยาสีฟนยี่หอนี้
                               ่                                
   1.5 ปริภูมิตัวอยาง S = {t ∈ | t ≥ 0 } = [0, ∞)
   1.6 ปริภูมตัวอยาง S = {2,3, 4,5,…}
                ิ
2. 2.1 225              2.2 16           2.3 135           2.4 120


                                            เฉลยแบบฝกหัด
                              เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน

1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว}, {สีขาว, สีขาว}}
          เหตุการณ     E={{สีแดง, สีขาว}}
    1.2 ปริภูมิตวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว1}, {สีแดง, สีขาว2}, {สีขาว1, สีขาว2}}
                ั
        เหตุการณ E = {{สีขาว1, สีขาว2}}
    1.3 ปริภมิตัวอยาง S = {0,1}
             ู
         เหตุการณ E = {1}
2. ให Ri แทน ลูกบอลสีแดงลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2,3
       Wi แทน ลูกบอลสีขาวลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2
       B แทน ลูกบอลสีน้ําเงิน
   2.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1,W1},{R1,W2 },
                               {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 , W2 },{R1 , B},
                                {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , W2 }, {W1 , B}, {W2 , B}}
    2.2   A = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{W1 , W2 }}



                                                 32
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
               สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


    2.3   B = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{R1 , W1},{R1 , W2 }, {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 , W1},
                  {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B}}
    2.4 เหตุการณ E = ∅
    2.5 A′ = {{R1,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 ,W2 },{R1, B},
               {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , B}, {W2 , B}}
    2.6 A ∪ B = {{R1 , R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1 ,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},
                  {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B},{W1 , W2 }}
    2.7 A ∩ B = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3}}
           9                                               2
3. 3.1                        3.2     0              3.3
          10                                               5
           1                           1                   53
4. 4.1                        4.2                   4.3
          27                          36                   54
          1                           2                    1
5. 5.1                        5.2                   5.3
          4                           3                    2
           1                          1                     3
6. 6.1                        6.2                   6.3
          10                          4                    10
           1                         1
   6.4                        6.5
           2                         6
           9                         16
7. 7.1                        7.2
          40                         21


                                           เฉลยแบบฝกหัดระคน
 1. 1                      2. 4                    3. 4                       4. 4
 5. 4                      6. 3                    7. 3                       8. 2
9. 2                      10. 1




                                                    33
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     34
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   35
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                                 ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                  36
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์Wann Rattiya
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายInmylove Nupad
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 

Tendances (20)

ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
แบบฝึกหัดที่ 2 เซลล์พืช และเซลล์สัตว์
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ปลาย
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 

Similaire à 70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยPiyarerk Bunkoson
 

Similaire à 70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม (20)

68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
60 ลำดับและอนุกรม ตอนที่2_การประยุกต์ลำดับเลขคณิตและเรขาคณิต
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
06 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ บทนำ
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทยเค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
เค้าโครงการเขียนโครงงานวิชาภาษาไทย
 
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
21 จำนวนจริง ตอนที่8_การแก้อสมการค่าสัมบูรณ์
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและความนาจะเปน (เนือหาตอนที่ 5) ้ การทดลองสุม โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด) - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู - วิธีจัดหมู 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบทอเนกนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม - การทดลองสุม - ปริภูมิตัวอยาง - เหตุการณและความนาจะเปน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1 - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน - การหาความนาจะเปนแบบงาย 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2 - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ 13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน 16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การนับและความนาจะเปน (การทดลองสุม) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 5 (5/7) หัวขอยอย 1. การทดลองสุมและปริภูมตัวอยาง ิ 2. เหตุการณและความนาจะเปน จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. เขาใจความหมายของการทดลองสุม 2. เขาใจความหมายและสามารถหาปริภูมิตัวอยางของการทดลองสุมได 3. เขาใจความหมายของเหตุการณและหาความนาจะเปนของเหตุการณได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายความหมายของการทดลองสุม ปริภูมิตัวอยางและเหตุการณได 2. หาปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมได ั 3. หาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางและเหตุการณ โดยใชกฎการนับได ู ิ 4. อธิบายความหมายและวิธีการหาความนาจะเปนของเหตุการณได 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. การทดลองสุมและปริภมิตัวอยาง ู 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง ในหัวขอนี้ เราจะศึกษาเรื่อง “การทดลองสุม” และ “ปริภูมิตัวอยาง” เพื่อนําไปสูเรื่อง “เหตุการณและ ความนาจะเปน” ซึ่งจะไดศึกษาในหัวขอถัดไป โดยในสื่อการสอนเริ่มดวยการยกตัวอยางการทดลอง จากนั้นจึง ใหความหมายของการทดลองสุม เมื่อผูเรียนดูสอการสอนขางตนจบแลว ผูสอนอาจอธิบายผูเรียนเพิ่มเติมวา ผลลัพธที่เปนไปไดของการ ื่  ทดลองสุมอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับวาการทดลองนัน ๆ ผลลัพธที่สนใจคืออะไร ยกตัวอยางเชน ทดลองทอด ้ ลูกเตา 1 ลูก ถาเราสนใจแตมของลูกเตาที่ขึ้น ผลลัพธที่เปนไปได คือ ลูกเตาขึ้นแตม 1, 2, 3, 4, 5 หรือ 6 แตถา เราสนใจวาลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคูหรือจํานวนคี่ ผลลัพธที่เปนไปได คือ จํานวนคู หรือ จํานวนคี่ เพื่อใหผูเรียนเขาใจคําวา “การทดลองสุม” ไดดยิ่งขึ้น ผูสอนอาจยกตัวอยางการทดลองสุมตอไปนี้ ี เพิ่มเติม 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง 1. สุมจํานวน 1 จํานวนที่มีคาอยูระหวาง 0 กับ 1 และสนใจคาของจํานวนที่หยิบได 2. สุมหยิบลูกแกว 2 ลูกพรอมกัน จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสนใจสีของ ลูกแกวที่หยิบได 3. การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่ง และสนใจผลการสอบของนักเรียนคนนี้ 4. การตรวจปริมาณแอลกอฮอลของคนขับรถยนตคนหนึ่ง และสนใจปริมาณแอลกอฮอลที่วัดได จากนั้น ผูเรียนจะไดศึกษาเรื่อง “ปริภูมิตวอยาง” ซึ่งเปนเรื่องที่ตอเนืองจากเรื่อง “การทดลองสุม” โดย ั ่ ปริภูมิตัวอยาง คือ เซตของผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองสุม นั่นเอง จากตัวอยางขางตน ทําใหทราบวา ในการทดลองครั้งหนึ่ง ๆ ปริภูมิตัวอยางอาจมีไดหลายแบบ ขึ้นอยูกับ ผลลัพธที่เราสนใจของการทดลองนั้น ๆ เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องปริภมิตัวอยางไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้ ู ี 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน เมื่อผลลัพธที่สนใจ คือ ั 1. หนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น 2. จํานวนหัวที่ขน ึ้ ตอบ 1. ปริภูมิตัวอยาง S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } 2. ปริภูมตัวอยาง S2 = {0,1, 2,3} ิ หมายเหตุ ในเรื่องการนับและความนาจะเปน ถาโจทยไมไดกําหนดเพิมเติมวาสิ่งของ n สิ่งที่เราสนใจ ่ เหมือนกัน หมายความวา สิ่งของ n สิ่งนั้นแตกตางกันทั้งหมด จากตัวอยางขางตน ทําใหไดวา เหรียญ 3 เหรียญ แตกตางกันทั้งหมด ดังนั้น ผลลัพธ HHT กับ HTH จึงแตกตางกัน ตัวอยาง จงเขียนปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้ ั 1. สุมหยิบหลอดไฟ 5 หลอด จากกลองซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 40 หลอดและหลอดไฟเสีย 4 หลอด เมื่อผลลัพธท่สนใจคือจํานวนหลอดไฟเสียที่ได ี 2. ทดลองหยิบมะมวงครั้งละ 1 ผลไปเรื่อย ๆ จนกวาจะหยิบไดมะมวงมันจากตะกราใบหนึ่งซึ่งบรรจุ มะมวงมัน 8 ผลและมะมวงเปรี้ยว 2 ผล เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนครั้งที่ตองหยิบมะมวง 3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ ลูกแกวที่หยิบได ตอบ 1. ปริภูมตัวอยาง ิ S1 = {0,1, 2,3, 4} 2. ปริภูมิตัวอยาง S 2 = {1, 2,3} 3. ปริภูมิตัวอยาง S3 = {สีแดง, สีขาว} 8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจย้ําผูเรียนอีกครั้งวา ปริภูมิตัวอยางอาจเปนไดทั้งเซต จํากัดและเซตอนันต สําหรับการทดลองสุมใด ๆ บางครั้งเราไมสนใจวาสมาชิกในปริภูมิตัวอยางเปนอะไรบาง แตเราอยาก ทราบจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางนัน ๆ ดังนั้น ผูสอนอาจยกตัวอยางตอไปนี้ เพื่อใหผูเรียนฝกหาจํานวน ั ้  สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง เพื่อเปนพื้นฐานในการเรียนเรื่องความนาจะเปนในหัวขอถัดไป ตัวอยาง จงหาจํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้ ั 1. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและแตม ของลูกเตาที่ขึ้น 2. จัดหนังสือ 8 เลมที่แตกตางกันทั้งหมดวางบนชั้นหนังสือ ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดเรียง หนังสือ 3. สุมหยิบลูกแกว 1 ลูก จากกลองซึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือสีของ ลูกแกวที่หยิบได 4. จัดนักเรียน 6 คนนั่งรอบโตะกลม ถาผลลัพธที่สนใจคือวิธีการจัดทีนั่ง ่ ตอบ 1. 2 × 6 = 12 2. 8! = 40,320 3. 2 4. (6 − 1)! = 5! = 120 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง 1. จงเขียนปริภูมตัวอยางของการทดลองตอไปนี้ ิ 1.1 โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญและ แตมของลูกเตาที่ขึ้น 1.2 สุมหยิบหลอดไฟ 2 หลอดจากกลองใบหนึงซึ่งบรรจุหลอดไฟดี 5 หลอดและหลอดไฟเสีย 1 หลอด ่ โดยหยิบทีละครั้งและไมใสกลับคืนกอนหยิบครั้งถัดไป ถาผลลัพธที่สนใจคือสภาพของหลอดไฟ ทั้ง 2 หลอดที่หยิบได 1.3 การสอบวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนคนหนึ่งซึ่งขอสอบชุดนี้เปนขอสอบแบบปรนัยมีทั้งหมด 5 ขอ คะแนนเต็มขอละ 2 คะแนน ถาผลลัพธที่สนใจคือคะแนนทีนกเรียนคนนี้ได ่ ั 1.4 สอบถามแมบาน 3 คนวาใชยาสีฟนยีหอ “สดชื่น” หรือไม ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของแมบาน  ่ ทั้ง 3 คน 1.5 นําแบตเตอรี่ 1 อันมาทดสอบ ถาผลลัพธที่สนใจคืออายุการใชงานของแบตเตอรี่ 1.6 ทอดลูกเตา 1 ลูกไปเรื่อย ๆ จนกวาลูกเตาจะขึ้นแตม 6 เปนครั้งที่สอง ถาผลลัพธที่สนใจคือจํานวน ครั้งที่ตองทอดลูกเตา  2. จงหาจํานวนสมาชิกของปริภมตัวอยางของการทดลองสุมตอไปนี้ ู ิ 2.1 การสอบวิชาสังคมศึกษาของนักเรียนคนหนึ่ง ซึ่งขอสอบแบงเปนสองสวน สวนแรกเปนขอสอบ แบบถูก-ผิด จํานวน 5 ขอ และสวนที่สองเปนขอสอบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จํานวน 10 ขอ สมมติให นักเรียนคนนี้ทําขอสอบครบทุกขอ ถาผลลัพธที่สนใจคือคําตอบของนักเรียนคนนี้ 2.2 สุมหยิบไพ 2 ใบจากสํารับซึ่งมีไพ 52 ใบ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาไพทั้งสองใบที่หยิบได 2.3 เลือกอาหารคาว 2 อยางและขนมหวาน 1 อยาง จากรานอาหารซึ่งขายอาหารคาว 10 อยางและขนม หวาน 3 อยาง ถาผลลัพธที่สนใจคืออาหารคาวและขนมหวานทีได ่ 2.4 เลือกคณะกรรมการ 3 คนจากผูสมัครทั้งหมด 10 คน ถาผลลัพธที่สนใจคือผูที่ไดรับคัดเลือกเปน กรรมการ 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. เหตุการณและความนาจะเปน 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. เหตุการณและความนาจะเปน ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง “เหตุการณและความนาจะเปน” โดยในสื่อการสอน จะเริ่มดวยการ ึ ใหความหมายของคําวา “เหตุการณ” และ “เหตุการณไมเกิดรวมกัน” พรอมยกตัวอยาง จากนั้นจึงใหความหมาย พรอมทั้งสมบัติของ “ความนาจะเปนของเหตุการณ” เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนแลว ผูสอนอาจเนนย้าวาการหาเหตุการณตองขึ้นอยูกบปริภูมิตวอยาง  ํ ั ั ที่เรากําลังสนใจ ดังตัวอยางขางตน ถาผลลัพธที่ไดจากการทดลองสุมตางกัน เหตุการณที่ไดกอาจตางกันดวย ็ จากนั้นผูสอนยกตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม ตัวอยาง ทําการทดลองโยนเหรียญ 3 เหรียญพรอมกัน จะไดวา สนใจหนาของเหรียญทั้งสามที่ขึ้น สนใจจํานวนหัว ที่ขึ้น 1. ปริภูมิตัวอยาง S1 = {HHH , HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } S = {0,1, 2,3} 2 2. เหตุการณที่เหรียญขึ้น A1 = {HTT , THT , TTH } A2 = {1} หัว 1 เหรียญ 3. เหตุการณที่เหรียญขึ้น B1 = {HHT , HTH , HTT , THH , THT , TTH , TTT } B2 = {0,1, 2} กอยอยางนอย 1 เหรียญ 4. เหตุการณที่เหรียญขึ้น C1 = ∅ C2 = ∅ หัวมากกวา 3 เหรียญ 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่อง “เหตุการณ” ไดดย่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้ ีิ ตัวอยาง โยนลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาทั้งสองที่ข้น จงหา ึ 1. A ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูก 2. B ซึ่งแทนเหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากัน 3. C ซึ่งแทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว 4. เหตุการณที่ลูกเตาทั้ง 2 ลูกขึ้นแตมเทากันและผลรวมของแตมหารดวย 6 ลงตัว 5. เหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตม 1 อยางนอย 1 ลูกและผลรวมของแตมหารดวย 6 ไมลงตัว ตอบ 1. A = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1,5), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (5,1), (6,1)} 2. B = {(1,1), (2, 2), (3,3), (4, 4), (5,5), (6, 6) } 3. C = {(1,5), (2, 4), (3,3), (4, 2), (5,1), (6, 6)} 4. B ∩ C = {(3,3), (6, 6)} 5. A ∩ C ′ = {(1,1), (1, 2), (1,3), (1, 4), (1, 6), (2,1), (3,1), (4,1), (6,1)} 13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง ทดลองโยนลูกเตา 1 ลูก ถาผลลัพธที่สนใจคือแตมของลูกเตาที่ข้นึ ให A แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่ และ B แทนเหตุการณที่ลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคู ดังนั้น ปริภูมตวอยาง S = {1, 2,3, 4,5, 6} , A = {1,3,5} และ B = {2, 4, 6} ิั จะไดวา A ∩ B = ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B เปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน  ้ ตัวอยาง ทดลองโยนเหรียญ 2 เหรียญ ถาผลลัพธที่สนใจคือหนาของเหรียญทั้งสองเหรียญที่ขึ้น ให A แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นหัว 1 เหรียญ และ B แทนเหตุการณที่เหรียญขึ้นกอยอยางนอย 1 เหรียญ ดังนั้น ปริภูมตัวอยาง S = {HH , HT , TH , TT } , A = {HT , TH } และ B = {HT , TH , TT } ิ จะไดวา A ∩ B = {HT , TH } ≠ ∅ ดังนัน เหตุการณ A และเหตุการณ B ไมเปนเหตุการณไมเกิดรวมกัน  ้ 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมสื่อการสอนขางตนจบแลว ผูสอนควรเนนใหผูเรียนเห็นความสําคัญในการเลือกปริภูมิ ตัวอยางทีจะนํามาชวยในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ จากที่ผูเรียนไดทราบแลววา สําหรับการทดลอง ่ สุมใด ๆ ปริภูมิตัวอยาง S อาจมีไดมากกวาหนึ่งแบบขึนอยูกับผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดของการทดลองที่เรา ้ สนใจ ดังนั้นในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ใด ๆ โดย n( E ) P( E ) = n( S ) สิ่งสําคัญ คือ ปริภูมิตัวอยาง S นั้นตองมีสมบัติที่วา สมาชิกทุกตัวในปริภมิตัวอยางตองมีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ ู กัน 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนหา “ความนาจะเปนของเหตุการณ” ไดคลองยิ่งขึ้น ผูสอนควรใหผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้ เพิ่มเติม ตัวอยาง ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ 1. ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 2. ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง A แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 และ B แทนเหตุการณที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว แตม แตม ลูกที่ 1 1 2 3 4 5 6 ลูกที่ 2 1 2 3 4 5 6 7 2 3 4 5 6 7 8 3 4 5 6 7 8 9 4 5 6 7 8 9 10 5 6 7 8 9 10 11 6 7 8 9 10 11 12 1. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคามากกวา 7 = P( A) = n( A) = 15 = 5 n( S ) 36 12 2. ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมมีคานอยกวา 7 และหารดวย 3 ลงตัว n( B ) 7 = P( B) = = n( S ) 36 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งมีสลากอยู 100 ใบ หมายเลข 00 ถึง 99 สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จงหาความ นาจะเปนที่ไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทไดสลากที่มีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน ่ี ดังนั้น S = {00, 01, 02,… ,99} และ E = {01,12, 23,34, 45,56, 67, 78,89,10, 21,32, 43,54, 65, 76,87,98} ทําใหไดวา  ความนาจะเปนที่ไดสลากทีมีหมายเลขประกอบดวยเลขโดดที่เรียงถัดกัน = P( E ) = n( E ) = ่ 18 = 9 n( S ) 100 50 n( E ) หมายเหตุ ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ A ใด ๆ โดย P( E ) = เราไมจําเปนตองเขียน n( S ) เหตุการณ E แบบแจกแจงสมาชิก เพราะสิ่งที่เราตองการทราบคือจํานวนสมาชิกของ E เทานั้น ซึ่งเราสามารถ ใชความรูเรื่องการนับที่ไดศกษาไปกอนหนานี้มาชวยได ึ สําหรับตัวอยางขางตน เราสามารถใชความรูเรื่องการนับชวยในการหาสมาชิกของเหตุการณ E ดังนี้ หลักสิบ หลักหนวย 0, 1, 2, 3, 1 วิธี 4, 5, 6, 7, 8 (คาเพิ่มจากตัวหนาอีก 1) ดังนั้น จํานวนสมาชิกของเหตุการณ E เทากับ 9 ×1× 2! = 18 ตัว สลับตําแหนง หลักหนวย และหลักสิบ 17
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูก และสีดํา 4 ลูก สุม หยิบลูกแกว 2 ลูกจากกลองใบ นี้ จงหาความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก เมื่อ 1. หยิบทีละลูกและใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป 2. หยิบทีละลูกและไมใสกลับคืนกอนหยิบลูกถัดไป 3. หยิบสองลูกพรอมกัน วิธีทํา 1. ให S1 แทนปริภูมิตวอยาง และ E1 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก ั ดังนั้น n( E1 ) 3 × 3 1 P ( E1 ) = = = n( S1 ) 9 × 9 9 2. ให S2 แทนปริภูมิตวอยาง และ E2 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก ั ดังนั้น n( E2 ) 3 × 2 1 P ( E2 ) = = = n( S 2 ) 9 × 8 12 3. ให S3 แทนปริภูมิตัวอยาง และ E3 แทนเหตุการณที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก ดังนั้น  3 6    n( E3 )  2   0  3 1 P ( E3 ) = = = = n( S3 ) 9 36 12    2 ขอสังเกต จากตัวอยางขางตน ความนาจะเปนที่ไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกทั้งแบบที่หยิบทีละลูกและไมใส กลับคืน กับแบบที่หยิบสองลูกพรอมกัน มีคาเทากัน เพราะวา  3 2!  3 × 2 P3,2 2 P ( E2 ) = = =   = P( E3 ) 9 × 8 P9,2 9 2!   2 จากขอสังเกตนี้ และความสัมพันธที่วา n Pn ,r = r !  r เมื่อ 0 ≤ r ≤ n สามารถนําไปสูขอสรุปในกรณีทวไปไดวา ความนาจะเปนของเหตุการณที่เราสนใจจากการ ั่ ทดลองสุมหยิบสิ่งของ r สิ่งจากสิ่งของที่แตกตางกันทั้งหมด n สิ่ง ทั้งแบบหยิบพรอมกันและแบบหยิบทีละลูก และไมใสกลับคืน จะมีคาเทากัน 18
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง 10 สุมหยิบสลาก 3 ใบ จงหาความ นาจะเปนที่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5 วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ ั E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมเปน 10 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5 ี ดังนั้น E = {{1, 4,5},{2,3,5}} ทําใหไดวา n( E ) 2 2 1 P( E ) = = = = n( S ) 10  120 60   3 ขอตกลง สัญลักษณ {a1 , a2 ,… , ar } หมายถึง หยิบไดสิ่งของ a1, a2 ,… , ar โดยไมคานึงถึงลําดับกอนหลังที่ได ํ ตัวอยาง กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 5 ใบ โดยมีหมายเลข 1, 2, 3, 4 และ 5 กํากับไว สุมหยิบสลาก 3 ใบจากกลอง ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมนอยกวา 9 วิธีทา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ ํ ั E แทนเหตุการณท่ผลรวมของแตมนอยกวา 9 ี ดังนั้น E = {{1, 2,3},{1, 2, 4},{1, 2,5},{1,3, 4}} ทําใหไดวา n( E ) 4 4 2 P( E ) = = = = n( S )  5  10 5    3 ตัวอยาง โยนเหรียญ 1 เหรียญ และทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่เหรียญขึนหัวและลูกเตาขึ้นแตม ้ มากกวา 4 วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตวอยาง และ ั E แทนเหตุการณท่เหรียญขึ้นหัวและลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 ี ดังนั้น n( S ) = 2 × 6 = 12 H, T 1,2,…,6 19
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ n( E ) = 1× 2 = 2 H 5, 6 ทําใหไดวา n( E ) 2 1 P( E ) = = = n( S ) 12 6 ตัวอยาง นําสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A และเครื่องจักร B มาตรวจสภาพ ไดผลดังตาราง จํานวนสินคา(ชิ้น) เครื่องจักร A B สภาพสินคา ดี 37 55 ชํารุด 3 5 1. สุมหยิบสินคามา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด 2. สุมหยิบสินคาที่ผลิตโดยเครื่องจักร A มา 1 ชิ้น จงหาความนาจะเปนที่จะหยิบไดสนคาชํารุด ิ วิธทํา 1. ี เครื่องจักร A เครื่องจักร B ชํารุด 37 3 5 55 เนื่องจากสินคามีทั้งหมด 100 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 8 ชิ้น ดังนั้น 8 2 ความนาจะเปนที่จะหยิบไดสินคาชํารุด = = 100 25 20
  • 22. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. เครื่องจักร A ชํารุด 3 5 เนื่องจากสินคาทีผลิตโดยเครื่องจักร A มีทั้งหมด 40 ชิ้น เปนสินคาชํารุด 3 ชิ้น ดังนัน ่ ้ 3 ความนาจะเปนทีจะหยิบไดสินคาชํารุดเมื่อสุมหยิบสินคาจากเครื่องจักร A = ่ 40 21
  • 23. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน 1. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีขาว 2 ลูกและสีแดง 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน จงหา 1.1 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือสีของลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล ั สีแดง 1 ลูก 1.2 ปริภูมิตวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีขาว 2 ลูก ั 1.3 ปริภูมิตัวอยาง เมื่อผลลัพธที่สนใจคือจํานวนลูกบอลสีแดงที่ได และเหตุการณที่หยิบไดลูกบอล สีขาว 1 ลูก 2. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอลสีแดง 3 ลูก สีขาว 2 ลูกและสีน้ําเงิน 1 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลอง ใบนี้พรอมกัน ถาผลลัพธที่สนใจคือลูกบอลที่หยิบได จงหา 2.1 ปริภูมิตัวอยาง 2.2 A ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีเดียวกัน 2.3 B ซึ่งแทนเหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดงอยางนอย 1 ลูก 2.4 เหตุการณที่หยิบไดลูกบอลสีแดง 3 ลูก 2.5 A′ 2.6 A ∪ B 2.7 A ∩ B 3. นักเรียนคนหนึ่งมีหนังสือ 5 เลมที่แตกตางกันทั้งหมด โดยเปนหนังสือวิชาคณิตศาสตร 2 เลม วิชา ชีววิทยา 2 เลม และวิชาฟสิกส 1 เลม ถานักเรียนคนนี้สุมหยิบหนังสือ 3 เลม จงหาความนาจะเปนที่ หยิบได 3.1 วิชาคณิตศาสตรอยางนอย 1 เลม 3.2 วิชาคณิตศาสตรและวิชาชีววิทยาอยางละ 2 เลม 3.3 ไดครบทุกวิชา 4. ทอดลูกเตา 1 ลูกจํานวน 3 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่ 4.1 ลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 ทุกลูก 4.2 ลูกเตาขึ้นแตมเทากันทุกลูก 4.3 ผลรวมของแตมที่ขึ้นของลูกเตาทั้ง 3 ลูกมีคาไมเกิน 16 22
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. โยนเหรียญ 1 เหรียญและทอดลูกเตา 1 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่ 5.1 เหรียญขึ้นกอยและลูกเตาขึ้นแตมเปนจํานวนคี่ 5.2 เหรียญขึ้นหัวหรือลูกเตาขึ้นแตมมากกวา 4 5.3 ลูกเตาขึ้นแตมไมเกิน 3 6. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ จากนั้น ทอดลูกเตา 1 ลูก จงหาความนาจะเปนที่ 6.1 หมายเลขสลากที่หยิบไดและแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาเทากัน 6.2 หมายเลขสลากที่หยิบไดเปนจํานวนคูแตแตมของลูกเตาที่ข้นเปนจํานวนคี่ ึ 6.3 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 ลงตัว 6.4 หมายเลขสลากที่หยิบไดหารดวย 3 หรือ 5 ลงตัว 6.5 ผลรวมของหมายเลขสลากที่หยิบไดกับแตมของลูกเตาที่ขึ้นมีคาไมเกิน 5  7. นักเรียนหองหนึ่งมีทั้งหมด 40 คน ปรากฏขอมูลดังตาราง จํานวนนักเรียน(คน) ดานที่ถนัด ถนัดขวา ถนัดซาย เพศ ชาย 16 5 หญิง 15 4 7.1 สุมนักเรียนหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนทีนักเรียนที่สมไดจะถนัดซาย ่ ุ 7.2 สุมนักเรียนชายหองนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นกเรียนที่สมไดจะถนัดขวา ั ุ 23
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดระคน 1. ในการขนสงโทรทัศนจํานวน 50 เครื่อง จากโรงงานไปยังรานคาแหงหนึ่ง ทําใหโทรทัศนชํารุด 3 เครื่อง เจาของรานคาสุมโทรทัศน 10 เครื่องเพื่อตรวจสอบคุณภาพ ปริภมิตัวอยางคือขอใดตอไปนี้ เมื่อผลลัพธที่ ู สนใจคือจํานวนโทรทัศนที่ชํารุด 1. {0,1, 2,3} 2. {3, 4,… ,10} 3. {1, 2,… ,10} 4. {1, 2,… ,50} 2. สําหรับการทดลองสุมใด ๆ ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง 1. มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0 2. มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 1 3. มีเหตุการณ A ที่ P( A) = 0.5 4. มีเหตุการณ A ที่ P( A) > 0.3 3. กลองใบหนึ่งมีสลาก n ใบ (n ≥ 3) ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากันเริ่มจาก 1 ถึง n ถาสุมหยิบสลาก จากกลองใบนี้ 2 ใบ แลวความนาจะเปนที่ไดใบหนึงเปนสลากหมายเลข 3 และอีกใบหนึ่งเปนสลาก ่ หมายเลขต่ํากวา 3 เทากับขอใดตอไปนี้ 2 1 1. 2. n2 n(n − 1) 2 4 3. 4. n(n − 1) n(n − 1) 4. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 9 ใบ มีหมายเลข 1 – 9 กํากับไว ถาสุมหยิบสลาก 2 ใบจากกลองใบนี้ โดยหยิบทีละ 1 ใบและไมใสกลับคืนกอนหยิบใบถัดไป ความนาจะเปนที่ผลรวมของหมายเลขบนสลากทั้งสองใบนั้นหาร ดวย 5 ลงตัวเทากับขอใดตอไปนี้ 1 1 1. 2. 12 6 1 2 3. 4. 9 9 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. กลองใบหนึ่งบรรจุลูกบอล 8 ลูก(แตกตางกันทั้งหมด) โดยเปนลูกบอลสีขาว 2 ลูก สีแดง 3 ลูก และสีดํา 3 ลูก สุมหยิบลูกบอล 2 ลูกจากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่จะหยิบไดลูกบอลสีเดียวกันตรงกับ ขอใดตอไปนี้ 3 5 1. 2. 28 28 3 1 3. 4. 14 4 6. ทอดลูกเตา 2 ลูกพรอมกัน ความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมของลูกเตาที่ขึ้นจะหารดวย 5 ไมลงตัวตรงกับ ขอใดตอไปนี้ 2 7 1. 2. 11 36 29 9 3. 4. 36 11 7. ไพสารับหนึ่งซึ่งมีทั้งหมด 52 ใบ ประกอบดวยไพหนาโพดํา โพแดง ขาวหลามตัดและดอกจิก อยางละ 13 ใบ ํ สุมหยิบไพ 3 ใบจากสํารับนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่ไพทั้งสามที่หยิบไดมีแตมมากกวา 2 แตนอยกวา 8 เปนเทาใด 5 7     1.  3 2.  3  52   52      3 3  20   28      3. 3 4. 3  52   52      3 3 8. กลองใบหนึ่งบรรจุปากกา 10 ดามที่แตกตางกัน โดยเปนปากกาสีแดง 3 ดาม สีนาเงิน 3 ดามและสีดํา 4 ดาม ้ํ สุมหยิบปากกา 3 ดามจากกลองใบนี้ ความนาจะเปนที่หยิบไดปากกาครบทุกสีเปนเทาใด 2 3 1. 2. 10 10 1 7 3. 4. 3 9 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. หนังสือสารานุกรมชุดหนึ่งมีทั้งหมด 8 เลม มีหมายเลข 1 – 8 กํากับ สุมหยิบหนังสือทีละ 1 เลมเรียงบนชั้น หนังสือจนครบ 8 เลม ความนาจะเปนที่หนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูติดกันเปนเทาใด 1 2 1. 2. 8! 8! 1 2 3. 4. 72 72 10. ตารางแสดงความสัมพันธของสุขภาพผูสูบบุหรี่ทั้งหมด 300 คน เปนดังนี้ จํานวนผูสูบบุหรี่(คน) จํานวนบุหรี่ที่สูบตอวัน (มวน) 0-4 5-20 มากกวา 20 สุขภาพ เปนมะเร็ง 8 7 25 ไมเปนมะเร็ง 150 70 40 สําหรับผูสูบบุหรี่มากกวา 20 มวนใน 1 วัน มีความนาจะเปนที่จะไมเปนมะเร็งเทากับขอใดตอไปนี้ 8 2 1. 2. 13 13 2 13 3. 4. 15 15 30
  • 32. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝกหัด 31
  • 33. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การทดลองสุมและปริภูมิตัวอยาง 1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {H 1, H 2, H 3, H 4, H 5, H 6, T1, T 2, T 3, T 4, T 5, T 6 } 1.2 ปริภูมตัวอยาง S = { NN , ND, DN } เมื่อ N แทน หลอดไฟดี และ D แทน หลอดไฟเสีย ิ 1.3 ปริภูมตัวอยาง S = {0, 2, 4, 6,8,10} ิ 1.4 ปริภูมตัวอยาง S = {YYY , YYN , YNY , YNN , NYY , NYN , NNY , NNN } ิ เมื่อ Y แทน ใชยาสีฟนยีหอนี้ และ N แทน ไมใชยาสีฟนยี่หอนี้  ่  1.5 ปริภูมิตัวอยาง S = {t ∈ | t ≥ 0 } = [0, ∞) 1.6 ปริภูมตัวอยาง S = {2,3, 4,5,…} ิ 2. 2.1 225 2.2 16 2.3 135 2.4 120 เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง เหตุการณและความนาจะเปน 1. 1.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว}, {สีขาว, สีขาว}} เหตุการณ E={{สีแดง, สีขาว}} 1.2 ปริภูมิตวอยาง S = {{สีแดง, สีขาว1}, {สีแดง, สีขาว2}, {สีขาว1, สีขาว2}} ั เหตุการณ E = {{สีขาว1, สีขาว2}} 1.3 ปริภมิตัวอยาง S = {0,1} ู เหตุการณ E = {1} 2. ให Ri แทน ลูกบอลสีแดงลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2,3 Wi แทน ลูกบอลสีขาวลูกที่ i เมื่อ i = 1, 2 B แทน ลูกบอลสีน้ําเงิน 2.1 ปริภูมิตัวอยาง S = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1,W1},{R1,W2 }, {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 , W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , W2 }, {W1 , B}, {W2 , B}} 2.2 A = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{W1 , W2 }} 32
  • 34. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2.3 B = {{R1 , R2 },{R1 , R3},{R2 , R3},{R1 , W1},{R1 , W2 }, {R2 , W1},{R2 ,W2 },{R3 , W1}, {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B}} 2.4 เหตุการณ E = ∅ 2.5 A′ = {{R1,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1},{R3 ,W2 },{R1, B}, {R2 , B}, {R3 , B}, {W1 , B}, {W2 , B}} 2.6 A ∪ B = {{R1 , R2 },{R1, R3},{R2 , R3},{R1 ,W1},{R1,W2 }, {R2 ,W1},{R2 ,W2 },{R3 ,W1}, {R3 ,W2 },{R1 , B}, {R2 , B}, {R3 , B},{W1 , W2 }} 2.7 A ∩ B = {{R1, R2 },{R1, R3},{R2 , R3}} 9 2 3. 3.1 3.2 0 3.3 10 5 1 1 53 4. 4.1 4.2 4.3 27 36 54 1 2 1 5. 5.1 5.2 5.3 4 3 2 1 1 3 6. 6.1 6.2 6.3 10 4 10 1 1 6.4 6.5 2 6 9 16 7. 7.1 7.2 40 21 เฉลยแบบฝกหัดระคน 1. 1 2. 4 3. 4 4. 4 5. 4 6. 3 7. 3 8. 2 9. 2 10. 1 33
  • 35. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 34
  • 36. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 35
  • 37. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 36