SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร
                    เรื่อง
           การนับและความนาจะเปน
               (เนือหาตอนที่ 7)
                   ้
               ความนาจะเปน 2

                      โดย
      ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี

      สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง
   คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
               กระทรวงศึกษาธิการ
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                          สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน

         สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย

 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน
                          - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ
                                                  ่
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด)
 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด)
                          - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม
 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู
                          - วิธีจัดหมู
 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบททวินาม
                          - ทฤษฎีบทอเนกนาม
 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม
                          - การทดลองสุม
                          - ปริภูมิตัวอยาง
                          - เหตุการณและความนาจะเปน
 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1
                          - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน
                          - การหาความนาจะเปนแบบงาย
 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2
                          - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                          - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร
 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1)
10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2)
11. แบบฝกหัด (ขันสูง)
                   ้
12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ
13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน
                                                    1
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม
15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน
16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง

         คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ
 ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ
 ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได
 ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด
 ในตอนทายของคูมือฉบับนี้




                                                   2
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


เรื่อง            การนับและความนาจะเปน (ความนาจะเปน 2)
หมวด              เนื้อหา
ตอนที่            7 (7/7)

หัวขอยอย       1. การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
                 2. การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร

จุดประสงคการเรียนรู
    เพื่อใหผูเรียน
    1. สามารถหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชกฎการนับได
    2. สามารถหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอรได

ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
             
   ผูเรียนสามารถ
   1. อธิบายวิธีการหาและหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชกฎการนับได
   2. อธิบายวิธีการหาและหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอรได




                                                   3
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             เนื้อหาในสื่อการสอน




                             เนื้อหาทั้งหมด




                                      4
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




   1. การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ




                                      5
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                              1. การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ

          ในหัวขอนี้เริ่มดวยการทบทวนการหาความนาจะเปนของเหตุการณในกรณีที่ปริภูมิตวอยางประกอบ
                                                                                     ั
ดวยสมาชิกทีมีโอกาสเกิดขึนไดเทา ๆ กัน ซึ่งในการหาความนาจะเปนของเหตุการณดังกลาว เราตองทราบ
              ่                 ้
จํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางและจํานวนสมาชิกของเหตุการณทเี่ ราสนใจ ดังนั้นในสื่อการสอนตอนนี้ เราจะ
                              ั
เนนที่การหาจํานวนสมาชิกดังกลาว โดยใช
              1. กฎการนับ
              2. แผนภาพเวนน-ออยเลอร
          สําหรับในหัวขอนี้ เราจะศึกษาการหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับควบคูกับสมบัติของความนาจะ
เปน ซึ่งจะทําใหเราสามารถหาความนาจะเปนไดสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น




                                                        6
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




          เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับจากสื่อการสอนแลว                   ผูสอนควรให
ผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้เพิมเติมเพื่อเปนการฝกทักษะ
                               ่

ตัวอยาง สุมหยิบเสื้อ 3 ตัวจากตูเสื้อผาซึ่งมีเสื้อสีแดง 3 ตัว สีขาว 2 ตัว และสีน้ําเงิน 5 ตัว จงหาความนาจะเปนที่
สุมไดเสื้อครบทุกสี
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทสุมไดเสื้อครบทุกสี
                                                                ี่
           ดังนั้น
                                                 3  2   5
                                                   
                                       n( E )  1   1   1  30 1
                              P( E ) =        =                 =    =
                                       n( S )       10          120 4
                                                     
                                                    3




                                                            7
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง พจนานุกรมครบชุดมี 10 เลม มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบหนังสือทีละเลมเรียงไวบนชั้นยาว
ตามลําดับที่หยิบได จนครบทั้งสิบเลม จงหาความนาจะเปนที่หนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูติดกัน
                                                                                           
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทหนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูตดกัน
                                                     ี่                                  ิ
        ดังนั้น                               หมายเลขจากนอยไปมาก และ
                                                     หมายเลขจากมากไปนอย
                                        n( E ) 2
                             P( E ) =         =
                                        n( S ) 10!


ตัวอยาง จัดคน 8 คน ซึ่งมีสายชล นทีและวารีรวมอยูดวย นั่งรับประทานอาหารรอบโตะกลม 8 ทีนั่ง จงหา
                                                                                     ่
ความนาจะเปนที่ทั้งสามคนไดนั่งติดกัน
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณที่สายชล นทีและวารีไดนั่งติดกัน
        ดังนั้น
                                            n( E ) (6 − 1)!3! 1
                                 P( E ) =          =         =
                                            n( S )   (8 − 1)! 7


ตัวอยาง ในการเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรจากคําวา “MODEL” จงหาความนาจะเปนทีจะไดคาที่ข้นตนดวยสระ
                                                                            ่   ํ ึ
วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทไดคําที่ขึ้นตนดวยสระ
                                                     ี่
                                            2   ×      4!

                              O หรือ E               จัด 4 ตัวที่เหลือ

        ดังนัน
             ้
                                          n( E ) 2!4! 2
                               P( E ) =          =    =
                                          n( S )   5!   5




       สําหรับตัวอยางตอไปนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งผูสอนควรสอดแทรกใหผูเรียนเห็นโทษของ
ยาเสพติดและแนะนําผูเรียนใหอยูหางจากยาเสพติด
                                




                                                          8
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




        หลังจากผูเรียนไดชม “ปญหาชวนคิด” ในสื่อการสอนแลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันคิดหาคําตอบ
จากนั้นผูสอนจึงแสดงใหผูเรียนดู

ปญหาชวนคิด นักทองเที่ยวคนหนึ่งไดนายาเสพติด 4 เม็ด ใสไวในขวดที่มวิตามินอยู 20 เม็ด ถาเจาหนาทีดาน
                                           ํ                                  ี                      ่
ศุลกากรสุมหยิบมาตรวจ 3 เม็ด แลวนําไปวิเคราะห จงหาความนาจะเปนที่นักทองเที่ยวคนนี้จะถูกจับดวยขอหามี
ยาเสพติดไวในครอบครอง
วิธีทํา แบบที่ 1
        P(ถูกจับขอหามียาเสพติด)
        = P(สุมไดยาเสพติด 1 เม็ด หรือ สุมไดยาเสพติด 2 เม็ด หรือ สุมไดยาเสพติด 3 เม็ด)
        = P(สุมไดยาเสพติด 1 เม็ด) + P( สุมไดยาเสพติด 2 เม็ด) + P( สุมไดยาเสพติด 3 เม็ด)




                                                         9
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

       4   20   4  20   4   20 
                
        1 2          2 1         3 0
    =     +    +    
          24         24        24 
                               
         3          3         3
        760 120            4     884 221
    =          +      +       =         =
       2024 2024 2024 2024 506


    แบบที่ 2
    P(ถูกจับขอหามียาเสพติด)    = 1−    P(ไมถูกจับขอหามียาเสพติด)
                                =   1 − P(สุมไดวิตามินทังหมด)
                                                          ้
                                      4   20 
                                       
                                       0 3
                                = 1−    
                                         24 
                                         
                                        3
                                     1140 884 221
                                = 1−         =    =
                                     2024 2024 506
ขอสังเกต จากปญหาชวนคิดขางตน จะพบวาเมื่อเรานําสมบัติของความนาจะเปนทีวา สําหรับเหตุการณ E ใด ๆ
                                                                          ่

                                      P( E ′) = 1 − P( E )


มาชวยในการหาคําตอบ ทําใหการคํานวณมีความสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น




                                                        10
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                   แบบฝกหัดเพิ่มเติม
                       เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ

1. ในการเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรจากคําวา “GEOMETRY” จงหาความนาจะเปนที่ “E” ไมอยูตดกัน          ิ
2. สุมนักเรียน 3 คนจากนักเรียนทั้งหมด 8 คนที่มีสวนสูงตาง ๆ กัน จงหาความนาจะเปนที่จะสุมได
   นักเรียนที่มสวนสูงมากที่สุดรวมอยูดวย
               ี                      
3. ในการประกวดรองเพลงรอบสุดทาย มีผูเขารอบ 5 คน ผูเขารอบแตละคนตองรองเพลงเพียง 1 เพลง
   โดยเลือกจากเพลงทั้งหมด 8 เพลงที่กองประกวดจัดไว จงหาความนาจะเปนทีมีผูเขารอบอยางนอย 2 คน
                                                                                 ่
   เลือกรองเพลงเดียวกัน
4. สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 1 – 10 จงหาความนาจะเปนทีจะ    ่
   หยิบสลากพรอมกัน 3 ใบ โดยใหมแตมรวมกันเปน 9 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5
                                     ี
5. เรือนรับรองหลังหนึ่งมี 3 หอง หองแรกพักได 3 คน สวนอีก 2 หอง พักไดหองละ 2 คน ถามีแขก 7 คน
   เปนหญิง 3 คน ชาย 4 คน จะเดินทางมาพักโดยไมแจงเพศใหทราบลวงหนา จงหาความนาจะเปนที่
   เจาภาพจะจัดใหหญิง 3 คนไดพกอยูหองเดียวกัน
                                  ั 
6. นักทองเที่ยวคนหนึ่งไดนํายาเสพติด 4 เม็ด ใสไวในขวดทีมีวิตามินอยู 8 เม็ด ถาเจาหนาที่ดานศุลกากร
                                                           ่
   สุมหยิบมาตรวจ 5 เม็ด แลวนําไปวิเคราะห จงหาความนาจะเปนที่นกทองเที่ยวคนนี้จะถูกจับดวยขอหา
                                                                     ั
   มียาเสพติดไวในครอบครอง
7. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 0 – 9 สุมสลาก 3 ใบจากกลอง
   ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนทีจะไดสลากทั้งหมายเลขคูและสลากหมายเลขคี่
                                         ่
8. นักเรียนกลุมหนึ่งประกอบดวยนักเรียนชาย 5 คนและนักเรียนหญิง 6 คน สุมนักเรียนกลุมนี้ 3 คนเพื่อ
   ตอบคําถามในชั้นเรียน จงหาความนาจะเปนทีจะสุมไดนักเรียนชายเพียง 1 คน
                                                ่




                                                     11
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




2. การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร




                                        12
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                        2. การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร

         ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง “การหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร” โดยในสื่อ
                                   ึ
การสอน จะเริมดวยการทบทวนการหาจํานวนสมาชิกของเซตโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร ซึ่งเอกภพสัมพัทธ
             ่
ในเรื่องของเซตก็เปรียบไดกบปริภูมิตวอยางในเรื่องความนาจะเปนนันเอง และเซตใด ๆ ซึ่งเปนสับเซตของ
                               ั     ั                           ่
เอกภพสัมพัทธก็เปรียบไดกบเหตุการณซึ่งเปนสับเซตของปริภูมิตัวอยางในเรื่องความนาจะเปนไดเชนกัน ดังนัน
                             ั                                                                          ้
ในหัวขอนี้ เราจะนําแผนภาพเวนน-ออยเลอรมาชวยในการหาจํานวนสมาชิกของเหตุการณที่สนใจ เพื่อนําไปสู
การหาความนาจะเปนของเหตุการณนน ๆ     ั้




                                                        13
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                    สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




          เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องการหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอรไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรให
                                                                                      ี
ผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนีเ้ พิ่มเติม

ตัวอยาง นักเรียนกลุมหนึ่งมี 150 คน ในจํานวนนี้พบวา มีนกเรียนที่ชอบเลนดนตรี 60 คน มีนกเรียนที่ชอบเลน
                                                         ั                              ั
กีฬา 70 คน และมีนักเรียนทีชอบเลนดนตรีและชอบเลนกีฬา 25 คน ถาสุมเลือกนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน แลว
                            ่
จงหาความนาจะเปนทีนกเรียนคนที่เลือกมาจะ
                      ่ ั
        1. ชอบเลนดนตรีหรือชอบเลนกีฬา
        2. ไมชอบเลนทั้งดนตรีและกีฬา
        3. ชอบเลนดนตรีแตไมชอบเลนกีฬา
วิธีทํา นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร ไดดังนี้


                                   ดนตรี                                 กีฬา

                                            35         25           45


                                                               45
        ดังนั้น
            1. P(ชอบเลนกีฬา หรือ ชอบเลนดนตรี) = 35 + 25 + 45 = 105 =                  7
                                                                 150            150    10


                                                         14
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

                                                   45    3
              2. P(ไมชอบเลนทั้งดนตรีและกีฬา)         =
                                                       =
                                                  150 10
              3.   P(ชอบเลนดนตรีแตไมชอบเลนกีฬา) = 35 = 7
                                                      150 30


ตัวอยาง จากการสํารวจผูฟงเพลงของรายการวิทยุสถานีหนึ่งจํานวน 80 คน ปรากฏวา มีผูชอบฟงเพลงลูกทุง
                           
30 คน มีผูชอบฟงเพลงไทยสากล 45 คน และมีผูชอบฟงเพลงลูกทุงหรือเพลงไทยสากล 60 คน
        1. ถาสุมผูฟงเพลงกลุมนี้มาหนึงคน จงหาความนาจะเปนที่ผฟงที่สุมมา
                                         ่                        ู
             1.1 ชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล
             1.2 ไมชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล
        2. ถาสุมผูฟงเพลงกลุมนี้ซึ่งชอบฟงเพลงลูกทุงมา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่ผูฟงที่สุมมาไมชอบฟง
                                                       
             เพลงไทยสากล
วิธีทา ให x แทนจํานวนผูฟงเพลงที่ชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล
     ํ

                                        เพลงลูกทุง               เพลงไทยสากล

                                          30 − x         x         45 − x




                                                                              20

        1. เนื่องจากมีผูชอบฟงเพลงลูกทุงหรือเพลงไทยสากลจํานวน 60 คน ดังนั้น
                                      (30 − x) + x + (45 − x) = 60
                                                     x = 15
        1.1   P(ชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล) = 15 = 3
                                                       80 16
        1.2   P(ไมชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล) = 20 = 1
                                                          80 4




                                                             15
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                   สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                                จํานวนคนที่ชอบฟงเพลง
                                                ลูกทุงแตไมชอบฟงเพลง
                                                ไทยสากล

       2. P(ไมชอบฟงเพลงไทยสากล) = 15 = 1
                                               30    2
                              จํานวนคนที่ชอบ
                              ฟงเพลงลูกทุง

       จากนั้น ในสื่อการสอนไดยกตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร ซึ่งมีความ
ซับซอนยิ่งขึ้น ดังนี้




       จากนั้นผูสอนอาจใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม


                                                         16
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ตัวอยาง จากการสํารวจผูชมการถายทอดการแขงขันกีฬาซีเกมสจานวน 200 คน ปรากฏวา มี 120 คนชอบชม
                                                                 ํ
ฟุตบอล มี 80 คนชอบชมวายน้ํา มี 70 คนชอบชมมวยสากล มี 30 คนที่ชอบชมกีฬาทั้งสามประเภท มี 50 คนที่
ชอบชมฟุตบอลและวายน้ํา มี 40 คนที่ชอบชมวายน้ําและมวยสากล และมี 40 คนที่ไมชมกีฬาทั้งสามประเภทนี้
ถาสุมผูชมกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่ผูชมทีสุมไดชอบชมฟุตบอลและมวยสากล
                                                       ่
วิธีทํา นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอร ไดดังนี้



                            ฟุตบอล                                             วายน้ํา
                                                         20
                                   120-(20+30+x)                         20
                                                         30
                                               x                   10

                                                   70 – (x+30+10)
                                      มวยสากล                                             40



เนื่องจากมี 40 คนที่ไมชมกีฬาทั้งสามประเภท ทําใหไดวา มี 160 คนที่ชมฟุตบอลหรือวายน้ําหรือมวยสากล
                                                     
ดังนั้น
               120 − (20 + 30 + x) + 20 + 20 + x + 30 + 10 + 70 − (x + 30 + 10) = 160
                                                                            x = 20
ทําใหไดวา
                                     P(ผูชมที่สุมไดชอบชมฟุตบอลและมวยสากล) = 20 = 1
                                                                                200 10


       สําหรับการหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร นอกจากเราจะใสจํานวนสมาชิกลงใน
อาณาบริเวณตาง ๆ ของแผนภาพเวนน-ออยเลอรดังที่ผูเรียนไดเห็นตัวอยางในสื่อการสอนแลวนั้น สมบัติของ
ความนาจะเปนที่วา
                 

                             ถา   A∩ B = ∅     แลว P( A ∪ B) = P( A) + P( B)

เมื่อ   A   และ B คือ เหตุการณใด ๆ

                                                              17
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                         สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


ทําใหเราสามารถใสคาความนาจะเปนลงในแผนภาพเวนน-ออยเลอรไดเชนกัน ซึ่งผูเรียนไดศึกษามาแลวในสื่อ
การสอนเรื่องการนับและความนาจะเปน เนื้อหาตอนที่ 6




ตัวอยาง ให   A   และ   B   แทนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 0.5, P( B) = 0.3 และ P( A ∪ B) = 0.6 จงหา
P( A ∩ B)
วิธีทํา นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร ไดดังนี้



                                           A                                   B


                                               0.5 − x      x        0.3 − x




ดังนั้น                                          P( A ∪ B) = 0.6
                                 (0.5 − x) + x + (0.3 − x) = 0.6

                                                            x = 0.2
นั่นคือ                                           P( A ∩ B) = 0.2




                                                                18
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                               แบบฝกหัดเพิ่มเติม
               เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร

1. สอบถามครอบครัว 500 ครอบครัว พบวา 280 ครอบครัวมีรถจักรยานยนต 320 ครอบครัวมีโทรทัศน
   และ 150 ครอบครัวมีทั้งสองอยางนี้ สุมครอบครัวมา 1 ครอบครัวจากทั้งหมดนี้ จงหาความนาจะเปน
   ที่ครอบครัวที่สุมไดไมมทั้งสองอยางนี้
                            ี
2. จากการสํารวจนักเรียนจํานวน 200 คนเกียวกับกีฬาที่นกเรียนชอบ ปรากฏผลดังนี้
                                            ่        ั

                                  กีฬา                      จํานวนนักเรียน(คน)
                   ฟุตบอล                                          50
                   วายน้ํา                                        60
                   ปงปอง                                          75
                   ฟุตบอลและวายน้ํา                               15
                   ฟุตบอลและปงปอง                                 20
                   วายน้ําและปงปอง                               15
                   ฟุตบอล วายน้าและปงปอง
                                 ํ                                 10

   2.1 ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนที่สุมไดชอบกีฬาวายน้ําและ
         ปงปองแตไมชอบฟุตบอล
   2.2 ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนที่สุมไดไมชอบกีฬาทั้งสาม
         ประเภทนี้เลย
   2.3 ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้ซึ่งชอบวายน้ํามา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นกเรียนที่สมไดไมชอบทัง
                                                                              ั         ุ           ้
         ฟุตบอลและไมชอบทั้งปงปอง
3. ในการสอบถามนักเรียนจํานวน 50 คน ปรากฏวามีนักเรียนที่
                  ชอบวิชาเคมี 25 คน                 ชอบวิชาฟสิกส 20 คน
                  ชอบวิชาภาษาอังกฤษ 20 คน ชอบทั้งสามวิชา 10 คน
                  ชอบวิชาฟสิกสและภาษาอังกฤษ 12 คน
                  ชอบวิชาเคมีและฟสิกสแตไมชอบวิชาภาษาอังกฤษ 5 คน และ
                  ไมมีนักเรียนคนใดชอบวิชาเคมีและภาษาอังกฤษโดยไมชอบวิชาฟสิกส
   ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนที่สมไดไมชอบวิชาใดวิชาหนึ่งเลยใน
                                                                      ุ
   สามวิชานี้
                                                     19
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
              สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


4. ให A และ B แทนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A − B) = 0.2, P( B − A) = 0.3 และ P( A′ ∩ B′) = 0.3
   จงหา
   4.1 P( A ∩ B)
   4.2 P( A)
   4.3 P( B′)
5. ให A และ B แทนเหตุการณไมเกิดรวมกัน โดยที่ P( A′) = 0.7 และ P( A ∪ B) = 0.5 จงหา
   5.1 P( A′ ∪ B′)
   5.2 P( A′ ∪ B)
   5.3 P( A′ ∩ B)




                                                   20
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




             สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     21
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                   สรุปสาระสําคัญประจําตอน




                                     22
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                                               เอกสารอางอิง

1.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร
     เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.

2.   สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร
     เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
     พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ.




                                                       23
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                    ภาคผนวกที่ 1
               แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม




                                     24
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                       สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                       แบบฝกหัดระคน

1. กลองใบหนึ่งมีบัตร n ใบ ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 1 จนถึง n (n ≥ 5) สุมหยิบบัตร 3 ใบ
   จากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่ไดบัตรใบหนึ่งเปนบัตรหมายเลข 5 และอีกสองใบเปนบัตร
   หมายเลขต่ากวา 5 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
            ํ          
                         6                                                         12
        1.                                                        2.
                  n(n − 1)(n − 2)                                            n(n − 1)(n − 2)
                        18                                                         36
        3.                                                        4.
                  n(n − 1)(n − 2)                                            n(n − 1)(n − 2)


2. มีลูกแกวสีแดง สีขาว สีเหลือง สีน้ําเงินและสีดําอยางละ 1 ลูก ถานําลูกแกวทั้ง 5 ลูกนี้มาเรียงอยางสุมเปน
   วงกลม ความนาจะเปนทีจะไดลูกแกวสีขาวอยูระหวางลูกแกวสีแดงและลูกแกวสีเหลืองมีคาเทากับขอใด
                           ่
   ตอไปนี้
                  1                                                          1
        1.                                                        2.
                  24                                                        12
                  1                                                         1
        3.                                                        4.
                  6                                                         3


3. กําหนดใหเซต A มีสมาชิก 4 ตัว และเซต B มีสมาชิก 5 ตัว ถาสรางฟงกชันจาก                    A   ไป   B   แลวความนาจะ
   เปนที่จะไดฟงกชนหนึ่งตอหนึ่งเทากับขอใดตอไปนี้
                     ั
                   24                                                       120
        1.                                                        2.
                  625                                                       625
                  24                                                        120
        3.                                                        4.
                 196                                                        196


4. กลองใบหนึ่งมีลูกบอลอยู 5 สี สีละ 4 ลูก สุมหยิบลูกบอล 3 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่จะได
   ลูกบอลสีเหมือนกัน 2 ลูกเทานั้นเทากับขอใดตอไปนี้
                  8                                                          9
        1.                                                        2.
                 19                                                         19
                 10                                                         11
        3.                                                        4.
                 19                                                         19




                                                            25
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                      สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


5. เรือนรับรองหลังหนึ่งซึ่งมี 4 หอง ถามี 1 หองที่พักได 3 คน มี 2 หองที่พักไดหองละ 2 คน และมี 1 หองที่พก
                                                                                                              ั
   ได 1 คน ในการจัดหญิง 8 คน ซึ่งมีเอและออยรวมอยูดวย ใหพักที่เรือนรับรองหลังนี้ ความนาจะเปนทีเ่ อและ
                                                        
   ออยไดพกหองเดียวกันโดยไมมีผูอื่นพักดวยเทากับขอใดตอไปนี้
           ั
                 1                                                          1
        1.                                                       2.
                 28                                                        14
                 5                                                          1
        3.                                                       4.
                 28                                                         4


6. สลาก 20 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 1 – 20 สลากหมายเลข 1, 2, 3 และ 4 มีรางวัล 1000,
  500, 300 และ 200 บาท ตามลําดับ ชายคนหนึ่งสุมหยิบสลาก 2 ใบจากสลากทั้งหมด ความนาจะเปนที่เขาจะ
  ไดรับรางวัล 500 บาท มีคาเทากับขอใดตอไปนี้
                 17                                                        16
        1.                                                       2.
                 190                                                       190
                  2                                                         1
        3.                                                       4.
                 190                                                       190


7. สุมจํานวนเต็มซึ่งหารดวย 3 ลงตัวซึ่งมีคาอยูระหวาง 10 ถึง 200 มาหนึ่งจํานวน ความนาจะเปนทีจํานวนที่สุม
                                                                                                 ่
   มานี้จะหารดวย 7 ลงตัว เทากับขอใดตอไปนี้
                 1                                                          2
        1.                                                       2.
                 7                                                          7
                 3                                                          4
        3.                                                       4.
                 7                                                          7


8. ถาเขียนพจนทุกพจนของการกระจาย (a + b)10 เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริง ซึง a ≠ b ลงบนสลากขนาด
                                                                                ่
   เทากัน สลากละหนึ่งพจน ใสสลากทั้งหมดนี้ลงในกลอง แลวสุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ ความนาจะ
  เปนที่จะไดสลากที่มีพจนซ่งมีสัมประสิทธิ์ทวินามเปน 252 เทากับขอใดตอไปนี้
                             ึ
                                                                           1
        1.       0                                               2.
                                                                           11
                  1                                                         2
        3.                                                       4.
                 10                                                        11




                                                           26
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                     สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


9. จากการสํารวจนักเรียนหองหนึ่ง ซึ่งแตละคนตองเรียนพิมพดด วายน้ํา หรือดนตรีอยางนอย 1 วิชา ปรากฏผล
                                                           ี
   ดังนี้
                                    วิชา                จํานวนนักเรียน(คน)
                      พิมพดีด                                   30
                      วายน้ํา                                   25
                      ดนตรี                                      20
                      พิมพดีดและวายน้ํา                        12
                      พิมพดีดและดนตรี                            8
                      วายน้ําและดนตรี                           10
                      พิมพดีด วายน้าและดนตรี
                                     ํ                            5

  ถาสุมเลือกนักเรียน 1 คนจากนักเรียนหองนี้ ความนาจะเปนทีนักเรียนที่สุมไดจะเรียนวายน้ําหรือดนตรีแตไม
                                                             ่
  เรียนพิมพดดมีคาเทากับขอใดตอไปนี้
              ี
                 1                                                         2
       1.                                                       2.
                11                                                        11
                1                                                          2
       3.                                                       4.
                5                                                          5


10. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A′ ∪ B) = 0.4, P( A ∩ B) = 0.2 และ P( B − A) = 0.1
    ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
        1.     P ( A − B) = 0.9                      2.       P ( B′) = 0.3
        3.     P ( A′) = P( B) − P( A ∩ B)           4.       6 P(( A ∪ B)′) = P( A − B)




                                                          27
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




                         ภาคผนวกที่ 2
                        เฉลยแบบฝกหัด




                                     28
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                                                   เฉลยแบบฝกหัด
                               เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ
     3                                       3                                407
1.                                      2.                               3.
     4                                       8                                512
     1                                        1                               92
4.                                      5.                               6.
     60                                      35                               99
     5                                         5
7.                                      8.
     6                                        11



                                                   เฉลยแบบฝกหัด
                  เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร
      1
1.
     10
          1                      11                      2
2. 2.1                   2.2                    2.3
          40                     40                      3
     6
3.
     25
4. 4.1    0.2           4.2      0.4               4.3   0.5
5. 5.1    1             5.2     0.7                5.3   0.2


                                             เฉลยแบบฝกหัดระคน
 1. 4                          2. 3                   3. 2                     4. 1
 5. 2                          6. 1                   7. 1                     8. 2
9. 4                       10. 4




                                                         29
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย




       รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร
                  จํานวน 92 ตอน




                                     30
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                          สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                             รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน
                 เรื่อง                                                              ตอน
เซต                                      บทนํา เรื่อง เซต
                                         ความหมายของเซต
                                         เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต
                                         เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร                บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
                                         การใหเหตุผล
                                         ประพจนและการสมมูล
                                         สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
                                         ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง
จํานวนจริง                               บทนํา เรื่อง จํานวนจริง
                                         สมบัติของจํานวนจริง
                                         การแยกตัวประกอบ
                                         ทฤษฏีบทตัวประกอบ
                                         สมการพหุนาม
                                         อสมการ
                                         เทคนิคการแกอสมการ
                                         คาสัมบูรณ
                                         การแกอสมการคาสัมบูรณ
                                         กราฟคาสัมบูรณ
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม
                                         สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ
ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน                     บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
                                         การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
                                         ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
ความสัมพันธและฟงกชัน                  บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน  ั
                                         ความสัมพันธ




                                                                   31
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                            สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย


                  เรื่อง                                                              ตอน
ความสัมพันธและฟงกชัน                       โดเมนและเรนจ
                                              อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน
                                              ฟงกชันเบื้องตน
                                              พีชคณิตของฟงกชน   ั
                                              อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส
                                              ฟงกชันประกอบ
ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม         บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม
                                                                                     ั       ึ
                                              เลขยกกําลัง
                                              ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
                                              ลอการิทึม
                                              อสมการเลขชี้กําลัง
                                              อสมการลอการิทึม
ตรีโกณมิติ                                    บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ
                                              อัตราสวนตรีโกณมิติ
                                              เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
                                              กฎของไซนและโคไซน
                                              กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
                                              สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน
กําหนดการเชิงเสน                             บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน
                                              การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
                                              การหาคาสุดขีด
ลําดับและอนุกรม                               บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม
                                              ลําดับ
                                              การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต
                                              ลิมิตของลําดับ
                                              ผลบวกยอย
                                              อนุกรม
                                              ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม




                                                                 32
คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง
                             สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย



                 เรื่อง                                                                  ตอน
การนับและความนาจะเปน                         บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน
                     .                         การนับเบื้องตน
                                               การเรียงสับเปลี่ยน
                                               การจัดหมู
                                               ทฤษฎีบททวินาม
                                               การทดลองสุม
                                               ความนาจะเปน 1
                                               ความนาจะเปน 2
สถิติและการวิเคราะหขอมูล                     บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล
                                               บทนํา เนื้อหา
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
                                               แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
                                               การกระจายของขอมูล
                                               การกระจายสัมบูรณ 1
                                               การกระจายสัมบูรณ 2
                                               การกระจายสัมบูรณ 3
                                               การกระจายสัมพัทธ
                                               คะแนนมาตรฐาน
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
                                               ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
                                               โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
โครงงานคณิตศาสตร                              การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
                                               ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
                                               การถอดรากที่สาม
                                               เสนตรงลอมเสนโคง
                                               กระเบื้องที่ยืดหดได




                                                                    33

Contenu connexe

Tendances

สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
krutew Sudarat
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
กก กอล์ฟ
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
Inmylove Nupad
 

Tendances (20)

09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
โครงงานเอ็นโอการ์ด (Number and Operation Card)
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยโครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
โครงงานเรื่องการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ต้น
 

Similaire à 72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2

Similaire à 72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2 (20)

68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
68 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่3_การจัดหมู่
 
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
70 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่5_การทดลองสุ่ม
 
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
67 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่2_การเรียงสับเปลี่ยน
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
08 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่2_ประพจน์และกาสมมูล
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ13 จำนวนจริง บทนำ
13 จำนวนจริง บทนำ
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
20 จำนวนจริง ตอนที่7_ค่าสัมบูรณ์
 
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
10 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่4_ประโยคเปิดและวลีบ่งปริมาณ
 
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
63 ลำดับและอนุกรม ตอนที่5_อนุกรม
 
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3 กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
กระบวนการแก้โจทย์ปัญหาสมการของนักเรียนระดับชั้นม.3
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
27 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่1_การหารลงตัวและจำนวนเฉพาะ
 
01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ01 เซต บทนำ
01 เซต บทนำ
 
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
91 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่4_เส้นตรงล้อมเส้นโค้ง
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

Plus de กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2

  • 1. คูมือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและความนาจะเปน (เนือหาตอนที่ 7) ้ ความนาจะเปน 2 โดย ผูชวยศาสตราจารย ดร.ณัฐกาญจน ใจดี สื่อการสอนชุดนี้ เปนความรวมมือระหวาง คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย กับ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน สื่อการสอน เรื่อง การนับและความนาจะเปน มีจํานวนตอนทั้งหมดรวม 16 ตอน ซึ่งประกอบดวย 1. บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน 2. เนื้อหาตอนที่ 1 การนับเบื้องตน - กฎเกณฑเบื้องตนเกียวกับการนับ ่ - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน(สิ่งของแตกตางกันทั้งหมด) 3. เนื้อหาตอนที่ 2 การเรียงสับเปลี่ยน - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงเสน (สิ่งของไมแตกตางกันทั้งหมด) - วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม 4. เนื้อหาตอนที่ 3 การจัดหมู - วิธีจัดหมู 5. เนื้อหาตอนที่ 4 ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบททวินาม - ทฤษฎีบทอเนกนาม 6. เนื้อหาตอนที่ 5 การทดลองสุม - การทดลองสุม - ปริภูมิตัวอยาง - เหตุการณและความนาจะเปน 7. เนื้อหาตอนที่ 6 ความนาจะเปน 1 - สมบัติพื้นฐานของความนาจะเปน - การหาความนาจะเปนแบบงาย 8. เนื้อหาตอนที่ 7 ความนาจะเปน 2 - การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ - การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 9. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 1) 10. แบบฝกหัด (พื้นฐาน 2) 11. แบบฝกหัด (ขันสูง) ้ 12. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง หลักการบวกและหลักการคูณสําหรับการนับ 13. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การเรียงสับเปลี่ยน 1
  • 3. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 14. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ทฤษฎีบททวินาม 15. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง ความนาจะเปน 16. สื่อปฏิสัมพันธ เรื่อง การใสบอลลงกลอง คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา สื่อการสอนชุดนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนสําหรับ ครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใชสื่อชุดนี้รวมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร เรื่อง การนับและ ความนาจะเปน นอกจากนี้หากทานสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรในเรื่องอื่นๆที่คณะผูจัดทําได ดําเนินการไปแลว ทานสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนไดจากรายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตรทั้งหมด ในตอนทายของคูมือฉบับนี้ 2
  • 4. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง การนับและความนาจะเปน (ความนาจะเปน 2) หมวด เนื้อหา ตอนที่ 7 (7/7) หัวขอยอย 1. การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ 2. การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร จุดประสงคการเรียนรู เพื่อใหผูเรียน 1. สามารถหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชกฎการนับได 2. สามารถหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอรได ผลการเรียนรูที่คาดหวัง  ผูเรียนสามารถ 1. อธิบายวิธีการหาและหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชกฎการนับได 2. อธิบายวิธีการหาและหาความนาจะเปนของเหตุการณโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอรได 3
  • 5. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เนื้อหาในสื่อการสอน เนื้อหาทั้งหมด 4
  • 6. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ 5
  • 7. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 1. การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ ในหัวขอนี้เริ่มดวยการทบทวนการหาความนาจะเปนของเหตุการณในกรณีที่ปริภูมิตวอยางประกอบ ั ดวยสมาชิกทีมีโอกาสเกิดขึนไดเทา ๆ กัน ซึ่งในการหาความนาจะเปนของเหตุการณดังกลาว เราตองทราบ ่ ้ จํานวนสมาชิกของปริภูมิตวอยางและจํานวนสมาชิกของเหตุการณทเี่ ราสนใจ ดังนั้นในสื่อการสอนตอนนี้ เราจะ ั เนนที่การหาจํานวนสมาชิกดังกลาว โดยใช 1. กฎการนับ 2. แผนภาพเวนน-ออยเลอร สําหรับในหัวขอนี้ เราจะศึกษาการหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับควบคูกับสมบัติของความนาจะ เปน ซึ่งจะทําใหเราสามารถหาความนาจะเปนไดสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น 6
  • 8. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อผูเรียนไดชมตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับจากสื่อการสอนแลว ผูสอนควรให ผูเรียนทําตัวอยางตอไปนี้เพิมเติมเพื่อเปนการฝกทักษะ ่ ตัวอยาง สุมหยิบเสื้อ 3 ตัวจากตูเสื้อผาซึ่งมีเสื้อสีแดง 3 ตัว สีขาว 2 ตัว และสีน้ําเงิน 5 ตัว จงหาความนาจะเปนที่ สุมไดเสื้อครบทุกสี วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทสุมไดเสื้อครบทุกสี ี่ ดังนั้น  3  2   5     n( E )  1   1   1  30 1 P( E ) = = = = n( S ) 10  120 4   3 7
  • 9. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง พจนานุกรมครบชุดมี 10 เลม มีหมายเลข 1 – 10 กํากับไว สุมหยิบหนังสือทีละเลมเรียงไวบนชั้นยาว ตามลําดับที่หยิบได จนครบทั้งสิบเลม จงหาความนาจะเปนที่หนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูติดกัน  วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทหนังสือหมายเลขตอเนื่องกันจะอยูตดกัน ี่ ิ ดังนั้น หมายเลขจากนอยไปมาก และ หมายเลขจากมากไปนอย n( E ) 2 P( E ) = = n( S ) 10! ตัวอยาง จัดคน 8 คน ซึ่งมีสายชล นทีและวารีรวมอยูดวย นั่งรับประทานอาหารรอบโตะกลม 8 ทีนั่ง จงหา  ่ ความนาจะเปนที่ทั้งสามคนไดนั่งติดกัน วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณที่สายชล นทีและวารีไดนั่งติดกัน ดังนั้น n( E ) (6 − 1)!3! 1 P( E ) = = = n( S ) (8 − 1)! 7 ตัวอยาง ในการเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรจากคําวา “MODEL” จงหาความนาจะเปนทีจะไดคาที่ข้นตนดวยสระ ่ ํ ึ วิธีทํา ให S แทนปริภูมิตัวอยาง และ E แทนเหตุการณทไดคําที่ขึ้นตนดวยสระ ี่ 2 × 4! O หรือ E จัด 4 ตัวที่เหลือ ดังนัน ้ n( E ) 2!4! 2 P( E ) = = = n( S ) 5! 5 สําหรับตัวอยางตอไปนี้เปนเรื่องเกี่ยวกับยาเสพติด ซึ่งผูสอนควรสอดแทรกใหผูเรียนเห็นโทษของ ยาเสพติดและแนะนําผูเรียนใหอยูหางจากยาเสพติด  8
  • 10. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลังจากผูเรียนไดชม “ปญหาชวนคิด” ในสื่อการสอนแลว ผูสอนอาจใหผูเรียนชวยกันคิดหาคําตอบ จากนั้นผูสอนจึงแสดงใหผูเรียนดู ปญหาชวนคิด นักทองเที่ยวคนหนึ่งไดนายาเสพติด 4 เม็ด ใสไวในขวดที่มวิตามินอยู 20 เม็ด ถาเจาหนาทีดาน ํ ี ่ ศุลกากรสุมหยิบมาตรวจ 3 เม็ด แลวนําไปวิเคราะห จงหาความนาจะเปนที่นักทองเที่ยวคนนี้จะถูกจับดวยขอหามี ยาเสพติดไวในครอบครอง วิธีทํา แบบที่ 1 P(ถูกจับขอหามียาเสพติด) = P(สุมไดยาเสพติด 1 เม็ด หรือ สุมไดยาเสพติด 2 เม็ด หรือ สุมไดยาเสพติด 3 เม็ด) = P(สุมไดยาเสพติด 1 เม็ด) + P( สุมไดยาเสพติด 2 เม็ด) + P( สุมไดยาเสพติด 3 เม็ด) 9
  • 11. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  4   20   4  20   4   20             1 2 2 1 3 0 =     +    +      24   24   24        3 3 3 760 120 4 884 221 = + + = = 2024 2024 2024 2024 506 แบบที่ 2 P(ถูกจับขอหามียาเสพติด) = 1− P(ไมถูกจับขอหามียาเสพติด) = 1 − P(สุมไดวิตามินทังหมด) ้  4   20     0 3 = 1−      24    3 1140 884 221 = 1− = = 2024 2024 506 ขอสังเกต จากปญหาชวนคิดขางตน จะพบวาเมื่อเรานําสมบัติของความนาจะเปนทีวา สําหรับเหตุการณ E ใด ๆ ่ P( E ′) = 1 − P( E ) มาชวยในการหาคําตอบ ทําใหการคํานวณมีความสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น 10
  • 12. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ 1. ในการเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรจากคําวา “GEOMETRY” จงหาความนาจะเปนที่ “E” ไมอยูตดกัน ิ 2. สุมนักเรียน 3 คนจากนักเรียนทั้งหมด 8 คนที่มีสวนสูงตาง ๆ กัน จงหาความนาจะเปนที่จะสุมได นักเรียนที่มสวนสูงมากที่สุดรวมอยูดวย ี   3. ในการประกวดรองเพลงรอบสุดทาย มีผูเขารอบ 5 คน ผูเขารอบแตละคนตองรองเพลงเพียง 1 เพลง โดยเลือกจากเพลงทั้งหมด 8 เพลงที่กองประกวดจัดไว จงหาความนาจะเปนทีมีผูเขารอบอยางนอย 2 คน ่ เลือกรองเพลงเดียวกัน 4. สลากชุดหนึ่งมี 10 ใบ ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 1 – 10 จงหาความนาจะเปนทีจะ ่ หยิบสลากพรอมกัน 3 ใบ โดยใหมแตมรวมกันเปน 9 และไมมีสลากใบใดมีหมายเลขสูงกวา 5 ี 5. เรือนรับรองหลังหนึ่งมี 3 หอง หองแรกพักได 3 คน สวนอีก 2 หอง พักไดหองละ 2 คน ถามีแขก 7 คน เปนหญิง 3 คน ชาย 4 คน จะเดินทางมาพักโดยไมแจงเพศใหทราบลวงหนา จงหาความนาจะเปนที่ เจาภาพจะจัดใหหญิง 3 คนไดพกอยูหองเดียวกัน ั  6. นักทองเที่ยวคนหนึ่งไดนํายาเสพติด 4 เม็ด ใสไวในขวดทีมีวิตามินอยู 8 เม็ด ถาเจาหนาที่ดานศุลกากร ่ สุมหยิบมาตรวจ 5 เม็ด แลวนําไปวิเคราะห จงหาความนาจะเปนที่นกทองเที่ยวคนนี้จะถูกจับดวยขอหา ั มียาเสพติดไวในครอบครอง 7. กลองใบหนึ่งบรรจุสลาก 10 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 0 – 9 สุมสลาก 3 ใบจากกลอง ใบนี้พรอมกัน จงหาความนาจะเปนทีจะไดสลากทั้งหมายเลขคูและสลากหมายเลขคี่ ่ 8. นักเรียนกลุมหนึ่งประกอบดวยนักเรียนชาย 5 คนและนักเรียนหญิง 6 คน สุมนักเรียนกลุมนี้ 3 คนเพื่อ ตอบคําถามในชั้นเรียน จงหาความนาจะเปนทีจะสุมไดนักเรียนชายเพียง 1 คน ่ 11
  • 13. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 12
  • 14. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2. การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร ในหัวขอนี้ ผูเรียนจะไดศกษาเรื่อง “การหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร” โดยในสื่อ ึ การสอน จะเริมดวยการทบทวนการหาจํานวนสมาชิกของเซตโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร ซึ่งเอกภพสัมพัทธ ่ ในเรื่องของเซตก็เปรียบไดกบปริภูมิตวอยางในเรื่องความนาจะเปนนันเอง และเซตใด ๆ ซึ่งเปนสับเซตของ ั ั ่ เอกภพสัมพัทธก็เปรียบไดกบเหตุการณซึ่งเปนสับเซตของปริภูมิตัวอยางในเรื่องความนาจะเปนไดเชนกัน ดังนัน ั ้ ในหัวขอนี้ เราจะนําแผนภาพเวนน-ออยเลอรมาชวยในการหาจํานวนสมาชิกของเหตุการณที่สนใจ เพื่อนําไปสู การหาความนาจะเปนของเหตุการณนน ๆ ั้ 13
  • 15. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เพื่อใหผูเรียนเขาใจเรื่องการหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอรไดดยิ่งขึ้น ผูสอนควรให ี ผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนีเ้ พิ่มเติม ตัวอยาง นักเรียนกลุมหนึ่งมี 150 คน ในจํานวนนี้พบวา มีนกเรียนที่ชอบเลนดนตรี 60 คน มีนกเรียนที่ชอบเลน ั ั กีฬา 70 คน และมีนักเรียนทีชอบเลนดนตรีและชอบเลนกีฬา 25 คน ถาสุมเลือกนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน แลว ่ จงหาความนาจะเปนทีนกเรียนคนที่เลือกมาจะ ่ ั 1. ชอบเลนดนตรีหรือชอบเลนกีฬา 2. ไมชอบเลนทั้งดนตรีและกีฬา 3. ชอบเลนดนตรีแตไมชอบเลนกีฬา วิธีทํา นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร ไดดังนี้ ดนตรี กีฬา 35 25 45 45 ดังนั้น 1. P(ชอบเลนกีฬา หรือ ชอบเลนดนตรี) = 35 + 25 + 45 = 105 = 7 150 150 10 14
  • 16. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 45 3 2. P(ไมชอบเลนทั้งดนตรีและกีฬา) = = 150 10 3. P(ชอบเลนดนตรีแตไมชอบเลนกีฬา) = 35 = 7 150 30 ตัวอยาง จากการสํารวจผูฟงเพลงของรายการวิทยุสถานีหนึ่งจํานวน 80 คน ปรากฏวา มีผูชอบฟงเพลงลูกทุง  30 คน มีผูชอบฟงเพลงไทยสากล 45 คน และมีผูชอบฟงเพลงลูกทุงหรือเพลงไทยสากล 60 คน 1. ถาสุมผูฟงเพลงกลุมนี้มาหนึงคน จงหาความนาจะเปนที่ผฟงที่สุมมา  ่ ู 1.1 ชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล 1.2 ไมชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล 2. ถาสุมผูฟงเพลงกลุมนี้ซึ่งชอบฟงเพลงลูกทุงมา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่ผูฟงที่สุมมาไมชอบฟง  เพลงไทยสากล วิธีทา ให x แทนจํานวนผูฟงเพลงที่ชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล ํ เพลงลูกทุง เพลงไทยสากล 30 − x x 45 − x 20 1. เนื่องจากมีผูชอบฟงเพลงลูกทุงหรือเพลงไทยสากลจํานวน 60 คน ดังนั้น (30 − x) + x + (45 − x) = 60 x = 15 1.1 P(ชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล) = 15 = 3 80 16 1.2 P(ไมชอบฟงทั้งเพลงลูกทุงและเพลงไทยสากล) = 20 = 1 80 4 15
  • 17. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จํานวนคนที่ชอบฟงเพลง ลูกทุงแตไมชอบฟงเพลง ไทยสากล 2. P(ไมชอบฟงเพลงไทยสากล) = 15 = 1 30 2 จํานวนคนที่ชอบ ฟงเพลงลูกทุง จากนั้น ในสื่อการสอนไดยกตัวอยางการหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร ซึ่งมีความ ซับซอนยิ่งขึ้น ดังนี้ จากนั้นผูสอนอาจใหผูเรียนฝกทําตัวอยางตอไปนี้เพิ่มเติม 16
  • 18. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตัวอยาง จากการสํารวจผูชมการถายทอดการแขงขันกีฬาซีเกมสจานวน 200 คน ปรากฏวา มี 120 คนชอบชม ํ ฟุตบอล มี 80 คนชอบชมวายน้ํา มี 70 คนชอบชมมวยสากล มี 30 คนที่ชอบชมกีฬาทั้งสามประเภท มี 50 คนที่ ชอบชมฟุตบอลและวายน้ํา มี 40 คนที่ชอบชมวายน้ําและมวยสากล และมี 40 คนที่ไมชมกีฬาทั้งสามประเภทนี้ ถาสุมผูชมกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่ผูชมทีสุมไดชอบชมฟุตบอลและมวยสากล ่ วิธีทํา นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพเวนน – ออยเลอร ไดดังนี้ ฟุตบอล วายน้ํา 20 120-(20+30+x) 20 30 x 10 70 – (x+30+10) มวยสากล 40 เนื่องจากมี 40 คนที่ไมชมกีฬาทั้งสามประเภท ทําใหไดวา มี 160 คนที่ชมฟุตบอลหรือวายน้ําหรือมวยสากล  ดังนั้น 120 − (20 + 30 + x) + 20 + 20 + x + 30 + 10 + 70 − (x + 30 + 10) = 160 x = 20 ทําใหไดวา  P(ผูชมที่สุมไดชอบชมฟุตบอลและมวยสากล) = 20 = 1 200 10 สําหรับการหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร นอกจากเราจะใสจํานวนสมาชิกลงใน อาณาบริเวณตาง ๆ ของแผนภาพเวนน-ออยเลอรดังที่ผูเรียนไดเห็นตัวอยางในสื่อการสอนแลวนั้น สมบัติของ ความนาจะเปนที่วา  ถา A∩ B = ∅ แลว P( A ∪ B) = P( A) + P( B) เมื่อ A และ B คือ เหตุการณใด ๆ 17
  • 19. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ทําใหเราสามารถใสคาความนาจะเปนลงในแผนภาพเวนน-ออยเลอรไดเชนกัน ซึ่งผูเรียนไดศึกษามาแลวในสื่อ การสอนเรื่องการนับและความนาจะเปน เนื้อหาตอนที่ 6 ตัวอยาง ให A และ B แทนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A) = 0.5, P( B) = 0.3 และ P( A ∪ B) = 0.6 จงหา P( A ∩ B) วิธีทํา นําขอมูลที่โจทยกําหนดใหมาเขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอร ไดดังนี้ A B 0.5 − x x 0.3 − x ดังนั้น P( A ∪ B) = 0.6 (0.5 − x) + x + (0.3 − x) = 0.6 x = 0.2 นั่นคือ P( A ∩ B) = 0.2 18
  • 20. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดเพิ่มเติม เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยแผนภาพเวนน-ออยเลอร 1. สอบถามครอบครัว 500 ครอบครัว พบวา 280 ครอบครัวมีรถจักรยานยนต 320 ครอบครัวมีโทรทัศน และ 150 ครอบครัวมีทั้งสองอยางนี้ สุมครอบครัวมา 1 ครอบครัวจากทั้งหมดนี้ จงหาความนาจะเปน ที่ครอบครัวที่สุมไดไมมทั้งสองอยางนี้ ี 2. จากการสํารวจนักเรียนจํานวน 200 คนเกียวกับกีฬาที่นกเรียนชอบ ปรากฏผลดังนี้ ่ ั กีฬา จํานวนนักเรียน(คน) ฟุตบอล 50 วายน้ํา 60 ปงปอง 75 ฟุตบอลและวายน้ํา 15 ฟุตบอลและปงปอง 20 วายน้ําและปงปอง 15 ฟุตบอล วายน้าและปงปอง ํ 10 2.1 ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนที่สุมไดชอบกีฬาวายน้ําและ ปงปองแตไมชอบฟุตบอล 2.2 ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนที่สุมไดไมชอบกีฬาทั้งสาม ประเภทนี้เลย 2.3 ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้ซึ่งชอบวายน้ํามา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นกเรียนที่สมไดไมชอบทัง ั ุ ้ ฟุตบอลและไมชอบทั้งปงปอง 3. ในการสอบถามนักเรียนจํานวน 50 คน ปรากฏวามีนักเรียนที่ ชอบวิชาเคมี 25 คน ชอบวิชาฟสิกส 20 คน ชอบวิชาภาษาอังกฤษ 20 คน ชอบทั้งสามวิชา 10 คน ชอบวิชาฟสิกสและภาษาอังกฤษ 12 คน ชอบวิชาเคมีและฟสิกสแตไมชอบวิชาภาษาอังกฤษ 5 คน และ ไมมีนักเรียนคนใดชอบวิชาเคมีและภาษาอังกฤษโดยไมชอบวิชาฟสิกส ถาสุมนักเรียนจากกลุมนี้มา 1 คน จงหาความนาจะเปนที่นักเรียนที่สมไดไมชอบวิชาใดวิชาหนึ่งเลยใน ุ สามวิชานี้ 19
  • 21. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 4. ให A และ B แทนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A − B) = 0.2, P( B − A) = 0.3 และ P( A′ ∩ B′) = 0.3 จงหา 4.1 P( A ∩ B) 4.2 P( A) 4.3 P( B′) 5. ให A และ B แทนเหตุการณไมเกิดรวมกัน โดยที่ P( A′) = 0.7 และ P( A ∪ B) = 0.5 จงหา 5.1 P( A′ ∪ B′) 5.2 P( A′ ∪ B) 5.3 P( A′ ∩ B) 20
  • 24. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เอกสารอางอิง 1. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 2. สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2552). หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 – 6 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันฯ. 23
  • 25. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 1 แบบฝกหัด/เนื้อหาเพิ่มเติม 24
  • 26. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แบบฝกหัดระคน 1. กลองใบหนึ่งมีบัตร n ใบ ซึ่งมีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 1 จนถึง n (n ≥ 5) สุมหยิบบัตร 3 ใบ จากกลองใบนี้พรอมกัน ความนาจะเปนที่ไดบัตรใบหนึ่งเปนบัตรหมายเลข 5 และอีกสองใบเปนบัตร หมายเลขต่ากวา 5 มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ํ  6 12 1. 2. n(n − 1)(n − 2) n(n − 1)(n − 2) 18 36 3. 4. n(n − 1)(n − 2) n(n − 1)(n − 2) 2. มีลูกแกวสีแดง สีขาว สีเหลือง สีน้ําเงินและสีดําอยางละ 1 ลูก ถานําลูกแกวทั้ง 5 ลูกนี้มาเรียงอยางสุมเปน วงกลม ความนาจะเปนทีจะไดลูกแกวสีขาวอยูระหวางลูกแกวสีแดงและลูกแกวสีเหลืองมีคาเทากับขอใด ่ ตอไปนี้ 1 1 1. 2. 24 12 1 1 3. 4. 6 3 3. กําหนดใหเซต A มีสมาชิก 4 ตัว และเซต B มีสมาชิก 5 ตัว ถาสรางฟงกชันจาก A ไป B แลวความนาจะ เปนที่จะไดฟงกชนหนึ่งตอหนึ่งเทากับขอใดตอไปนี้ ั 24 120 1. 2. 625 625 24 120 3. 4. 196 196 4. กลองใบหนึ่งมีลูกบอลอยู 5 สี สีละ 4 ลูก สุมหยิบลูกบอล 3 ลูกพรอมกัน จงหาความนาจะเปนที่จะได ลูกบอลสีเหมือนกัน 2 ลูกเทานั้นเทากับขอใดตอไปนี้ 8 9 1. 2. 19 19 10 11 3. 4. 19 19 25
  • 27. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 5. เรือนรับรองหลังหนึ่งซึ่งมี 4 หอง ถามี 1 หองที่พักได 3 คน มี 2 หองที่พักไดหองละ 2 คน และมี 1 หองที่พก ั ได 1 คน ในการจัดหญิง 8 คน ซึ่งมีเอและออยรวมอยูดวย ใหพักที่เรือนรับรองหลังนี้ ความนาจะเปนทีเ่ อและ  ออยไดพกหองเดียวกันโดยไมมีผูอื่นพักดวยเทากับขอใดตอไปนี้ ั 1 1 1. 2. 28 14 5 1 3. 4. 28 4 6. สลาก 20 ใบ มีหมายเลขกํากับไวโดยไมซ้ํากัน เริ่มจาก 1 – 20 สลากหมายเลข 1, 2, 3 และ 4 มีรางวัล 1000, 500, 300 และ 200 บาท ตามลําดับ ชายคนหนึ่งสุมหยิบสลาก 2 ใบจากสลากทั้งหมด ความนาจะเปนที่เขาจะ ไดรับรางวัล 500 บาท มีคาเทากับขอใดตอไปนี้ 17 16 1. 2. 190 190 2 1 3. 4. 190 190 7. สุมจํานวนเต็มซึ่งหารดวย 3 ลงตัวซึ่งมีคาอยูระหวาง 10 ถึง 200 มาหนึ่งจํานวน ความนาจะเปนทีจํานวนที่สุม ่ มานี้จะหารดวย 7 ลงตัว เทากับขอใดตอไปนี้ 1 2 1. 2. 7 7 3 4 3. 4. 7 7 8. ถาเขียนพจนทุกพจนของการกระจาย (a + b)10 เมื่อ a และ b เปนจํานวนจริง ซึง a ≠ b ลงบนสลากขนาด ่ เทากัน สลากละหนึ่งพจน ใสสลากทั้งหมดนี้ลงในกลอง แลวสุมหยิบสลาก 1 ใบจากกลองใบนี้ ความนาจะ เปนที่จะไดสลากที่มีพจนซ่งมีสัมประสิทธิ์ทวินามเปน 252 เทากับขอใดตอไปนี้ ึ 1 1. 0 2. 11 1 2 3. 4. 10 11 26
  • 28. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 9. จากการสํารวจนักเรียนหองหนึ่ง ซึ่งแตละคนตองเรียนพิมพดด วายน้ํา หรือดนตรีอยางนอย 1 วิชา ปรากฏผล ี ดังนี้ วิชา จํานวนนักเรียน(คน) พิมพดีด 30 วายน้ํา 25 ดนตรี 20 พิมพดีดและวายน้ํา 12 พิมพดีดและดนตรี 8 วายน้ําและดนตรี 10 พิมพดีด วายน้าและดนตรี ํ 5 ถาสุมเลือกนักเรียน 1 คนจากนักเรียนหองนี้ ความนาจะเปนทีนักเรียนที่สุมไดจะเรียนวายน้ําหรือดนตรีแตไม ่ เรียนพิมพดดมีคาเทากับขอใดตอไปนี้ ี 1 2 1. 2. 11 11 1 2 3. 4. 5 5 10. ให A และ B เปนเหตุการณใด ๆ โดยที่ P( A′ ∪ B) = 0.4, P( A ∩ B) = 0.2 และ P( B − A) = 0.1 ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. P ( A − B) = 0.9 2. P ( B′) = 0.3 3. P ( A′) = P( B) − P( A ∩ B) 4. 6 P(( A ∪ B)′) = P( A − B) 27
  • 29. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ภาคผนวกที่ 2 เฉลยแบบฝกหัด 28
  • 30. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยใชกฎการนับ 3 3 407 1. 2. 3. 4 8 512 1 1 92 4. 5. 6. 60 35 99 5 5 7. 8. 6 11 เฉลยแบบฝกหัด เรื่อง การหาความนาจะเปนโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร 1 1. 10 1 11 2 2. 2.1 2.2 2.3 40 40 3 6 3. 25 4. 4.1 0.2 4.2 0.4 4.3 0.5 5. 5.1 1 5.2 0.7 5.3 0.2 เฉลยแบบฝกหัดระคน 1. 4 2. 3 3. 2 4. 1 5. 2 6. 1 7. 1 8. 2 9. 4 10. 4 29
  • 31. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน 30
  • 32. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 92 ตอน เรื่อง ตอน เซต บทนํา เรื่อง เซต ความหมายของเซต เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและแผนภาพเวนน-ออยเลอร สื่อปฏิสัมพันธเรื่องแผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร บทนํา เรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร การใหเหตุผล ประพจนและการสมมูล สัจนิรันดรและการอางเหตุผล ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องหอคอยฮานอย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องตารางคาความจริง จํานวนจริง บทนํา เรื่อง จํานวนจริง สมบัติของจํานวนจริง การแยกตัวประกอบ ทฤษฏีบทตัวประกอบ สมการพหุนาม อสมการ เทคนิคการแกอสมการ คาสัมบูรณ การแกอสมการคาสัมบูรณ กราฟคาสัมบูรณ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องชวงบนเสนจํานวน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องสมการและอสมการพหุนาม สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟคาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน บทนํา เรื่อง ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา เรื่อง ความสัมพันธและฟงกชน ั ความสัมพันธ 31
  • 33. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน ความสัมพันธและฟงกชัน โดเมนและเรนจ อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของฟงกชัน ฟงกชันเบื้องตน พีชคณิตของฟงกชน ั อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ฟงกชันประกอบ ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม บทนํา เรื่อง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชนลอการิทม ั ึ เลขยกกําลัง ฟงกชันชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม ลอการิทึม อสมการเลขชี้กําลัง อสมการลอการิทึม ตรีโกณมิติ บทนํา เรื่อง ตรีโกณมิติ อัตราสวนตรีโกณมิติ เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ และวงกลมหนึ่งหนวย ฟงกชันตรีโกณมิติ 1 ฟงกชันตรีโกณมิติ 2 ฟงกชันตรีโกณมิติ 3 กฎของไซนและโคไซน กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน สื่อปฏิสัมพันธเรื่องมุมบนวงกลมหนึ่งหนวย สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ สื่อปฏิสัมพันธเรื่องกฎของไซนและกฎของโคไซน กําหนดการเชิงเสน บทนํา เรื่อง กําหนดการเชิงเสน การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร การหาคาสุดขีด ลําดับและอนุกรม บทนํา เรื่อง ลําดับและอนุกรม ลําดับ การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต ลิมิตของลําดับ ผลบวกยอย อนุกรม ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม 32
  • 34. คูมือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร โดยความรวมมือระหวาง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เรื่อง ตอน การนับและความนาจะเปน บทนํา เรื่อง การนับและความนาจะเปน . การนับเบื้องตน การเรียงสับเปลี่ยน การจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม การทดลองสุม ความนาจะเปน 1 ความนาจะเปน 2 สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เรื่อง สถิติและการวิเคราะหขอมูล บทนํา เนื้อหา แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2 แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3 การกระจายของขอมูล การกระจายสัมบูรณ 1 การกระจายสัมบูรณ 2 การกระจายสัมบูรณ 3 การกระจายสัมพัทธ คะแนนมาตรฐาน ความสัมพันธระหวางขอมูล 1 ความสัมพันธระหวางขอมูล 2 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1 โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2 โครงงานคณิตศาสตร การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส การถอดรากที่สาม เสนตรงลอมเสนโคง กระเบื้องที่ยืดหดได 33