SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  34
Télécharger pour lire hors ligne
รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน
แปลจาก
The Basic Law of the Federal Republic of Germany
(revised edition : 31 December 1961)
by
German Information Center
410 Park Avenue, New York 22, New York
สารบาญ
หน้า
คาปรารภ

๑๙

หมวด ๑ สิทธิมูลฐาน

๒๐

หมวด ๒ สหพันธรัฐและมลรัฐ

๒๓

หมวด ๓ สภาบุนเดสตัก

๒๖

หมวด ๔ สภาบุนเดสรัต

๒๘

หมวด ๕ ประธานาธิบดีสหพันธ์

๒๙

หมวด ๖ รัฐบาลสหพันธ์

๓๑

หมวด ๗ อานาจนิติบัญญัติของสหพันธ์

๓๒

หมวด ๘ การรักษากฎหมายสหพันธ์และการบริหารสหพันธ์

๓๖

หมวด ๙ การบริหารงานตุลาการ

๓๙

หมวด ๑๐ การคลัง

๔๒

หมวด ๑๑ บทเฉพาะกาลและบทสุดท้าย

๔๕
รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธาณรัฐเยอรมัน
คาปรารภ
ชนชาวเยอรมันในมลรัฐบาเดน บาวาเรีย เบรเมน ฮัมบวก โลเวอร์ – แซกโซนี นอร์ธไรน์ – เวสต์ฟาเลีย
ไรน์ลันด์ – พาลาตินาเต ชเลสวิก – โฮลสไตน์ วูร์ตเตมแบรก์ – บาเดน และวูร์ตเตมแบร์ก – โฮ – เฮ็นซอลเลิน
ด้วยความสานึกในความรับผิดชอบของตนต่อพระเจ้าและมนุษยชน
ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะพิทักษ์เอกภาพแห่งชาติ และเอกภาพทางการเมือง และเพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลกใน
ฐานะเป็นสมาชิกที่มีความเสมอภาคกับรัฐอื่นในยุโรปที่รวมกัน
ด้วยความมุ่งมาดปรารถนาที่จะให้แนวทางใหม่แก่ชีวิตการเมืองภายในระยะเวลาชั่วคราว โดยอาศัยอานาจของ
อานาจร่างรัฐธรรมนูญ จึงได้ประกาศใช้กฎหมายหลักของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันฉบับนี้
ชนชาวเยอรมันได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ในนามของชนชาวเยอรมันผู้ที่ไม่สามารถร่วมร่างรัฐธรรมนูญได้
ชนชาวเยอรมันทั้งมวลร่วมแรงร่วมใจเพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งเอกภาพและเสรีภาพของเยอรมัน โดยการตัดสินใจของ
ตนเองอย่างเสรี
หมวด ๑
สิทธิมลฐาน
ู
มาตรา ๑ ๑) เกียรติภูมิของมนุษย์จะละเมิดมิได้ เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ทั้งมวลของรัฐที่จะต้องเคารพ
และปกป้องเกียรติของมนุษย์
๒) ชนชาวเยอรมันยอมรับว่า สิทธิมนุษยชนที่จะละเมิดไม่ได้และที่จะโอนไม่ได้นั้น เป็นพื้นฐาน
ของทุกประชาคมของสันติภาพและของความยุติธรรมในโลก
๓) ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการพึงเคารพสิทธิมูลฐานทั้งมวลดังต่อไปนี้ เสมือน
หนึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับได้
มาตรา ๒ ๑) บุคคลมีสิทธิที่จะพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองได้โดยเสรี ตราบใดที่ไม่เป็นการละเมิดสิทธิของ
บุคคลอื่นหรือละเมิดระบอบรัฐธรรมนูญ หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
๒) บุคคลมีสิ ทธิในชีวิตและสิ ทธิ ในร่างกายของตนที่จะละเมิดมิได้ เสรีภาพของบุคคลจะถูก
ละเมิดมิได้ การกาจัดสิทธิดังกล่าวจะกระทาได้ก็แต่โดยอาศัยอานาจแห่งกฎหมาย
มาตรา ๓ ๑) บุคคลย่อมเสมอภาคกันในกฎหมาย
๒) ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
๓) บุค คลจะถูก รอนสิท ธิ หรือ มีอ ภิสิท ธิ์ โ ดยเหตุข องเพศ บิด ามารดา เชื้อ ชาติ ภาษา
บ้านเกิดเมืองนอน และแหล่งกาเนิด ศาสนา หรือความเห็นในเรื่องศาสนาหรือความเห็นทางการเมืองไม่ได้
มาตรา ๔ ๑) เสรีภาพในการนับถือศาสนาและมโนธรรม และเสรีภาพในการนับถือนิกายศาสนา หรือหลัก
ปรัชญาจะถูกละเมิดมิได้
๒) การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาโดยไม่ถูกรบกวนย่อมได้รับความคุ้มครอง
๓) จะมีการบังคับให้บุคคลเป็นทหารกองกาลังรบที่ขัดต่อมโนธรรมของเขาไม่ได้ รายละเอียดใน
เรื่องนี้ให้บัญญัติไว้ในกฎหมายของสหพันธรัฐ
มาตรา ๕ ๑) บุคคลมีสิทธิที่จะแสดงออกและโฆษณาโดยเสรี ซึ่งความเห็นของตนโดยการพูด การเขียน
และรูปภาพ และมีสิทธิโดยเสรีที่จะแสวงหาข่าวสารให้แก่ตนเองจากแหล่งข่าวสาธารณะ เสรีภาพในการพิมพ์ และเสรีภาพใน
การรายงานข่าวโดยวิทยุกระจายเสียง และโดยสิทธิในเกียรติยศส่วนตัวจะละเมิดมิได้
๒) สิทธิดังกล่าวย่อมถูกจากัดโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายทั่วไป โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
เพื่อคุ้มครองเยาวชน และโดยสิทธิในเกียรติยศส่วนตัวจะละเมิดมิได้
๓) ศิลปะและวิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสอนมีความเป็นอิสระ เสรีภาพในการสอนไม่ทาให้
บุคคลพ้นจากการเคารพรัฐธรรมนูญ
มาตรา ๖ ๑) การแต่งงานและครอบครัวได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษจากรัฐ
๒) การอบรมและเลี้ยงดูบุตรเป็นสิทธิตามธรรมชาติของบิดามารดา และเป็นภาระหน้าที่ของ
บิดามารดา รัฐพึงให้ความสนใจแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่นี้
๓) การแยกเด็กออกจากครอบครัวโดยปราศจากการยินยอมของบุ คคลผู้มีสิทธิเลี้ยงดูเด็กจะ
กระทาได้ก็โดยอาศัยอานาจแห่งกฎหมาย และในกรณีที่ มีสิทธิไม่ปฏิบัติภาระหน้าที่ของตนหรือในกรณีที่เด็กอาจถูกทอดทิ้ง
หากรัฐไม่แยกเด็กออกจากครอบครัว
- ๒๑ -

๔) มารดาทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองและความดูแลจากประชาคม
๕) บุตรนอกกฎหมายพึงได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายเพื่อที่จะให้มีโอกาศเท่าเทียมกับบุตร
ชอบด้วยกฎหมายในการพัฒนาร่างกายและจิตใจ และในการมีฐานะทางสังคม
มาตรา ๗ ๑) ระบบการศึกษาทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ
๒) บุคคลผู้มีหน้าที่เลี้ยงดูเด็กมีสิทธิที่จะตัดสินใจว่าเด็กควรจะรับการอบรมทางศาสนาหรือไม่
๓) การอบรมทางศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรปกติในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเทศบาล
ยกเว้นโรงเรียนที่ไม่ใช่โรงเรียนศาสนา โดยที่ไม่เป็นการโอนสิทธิของรัฐในการควบคุมให้การอบรมทางศาสนาดาเนินไปตามความ
ประสงค์ของประชาคมทางศาสนา การให้ครูคนใดคนหนึ่งฝึกอบรมทางศาสนาโดยไม่สมัครใจจะกระทาไม่ได้
๔) สิ ทธิที่จะตั้งโรงเรียนราษฎร์ได้ รับการคุ้มครอง โรงเรียนราษฎร์ในฐานะที่เป็นสถาบันให้
การศึกษาแทนโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเทศบาล จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐ และจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายของมลรัฐ การ
ไม่อนุ ญาตให้จัดตั้งจะกระทาไม่ได้ หากโรงเรียนราษฎร์ไม่ต่ากว่าโรงเรียนรัฐบาลหรื อโรงเรียนเทศบาลในจุดมุ่ งหมายของ
การศึกษา สิ่งอานวยความสะดวก และคุณวุฒิของครู และไม่มีการส่งเสริมการแยกนักเรียนตามฐานะของบิดามารดา การไม่
อนุญาตให้กระทาได้เมื่อฐานะทางเศรษฐกิจและกฎหมายของครูไม่ได้รับการค้าประกันเพียงพอ
๕) การอนุ ญาตให้ จั ดตั้ งโรงเรี ยนราษฏร์ ชั้นประถมจะกระทาได้ก็ แต่ ก รณีที่ จัดตั้งเจ้ าหน้าที่
ศึกษาธิการเห็นว่า การอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนดังกล่าวเป็นประโยชน์พิเศษต่อการศึกษา หรือตามคาร้องขอของผู้ที่มีหน้าที่
เลี้ยงดูเด็ก ขอให้ตั้งโรงเรียนดังกล่าวขึ้นเป็นโรงเรียนหลายนิกาย หรือนิกายเดียว หรือสอนศาสนาและไม่มีโรงเรียนรัฐบาลหรือ
โรงเรียนเทศบาลประเภทนี้ตั้งอยู่ในประชาคมนั้น
๖) ให้ยุบโรงเรียนเตรียมอุดม
มาตรา ๘ ๑) ชนชาวเยอรมันมีสิทธิในการชุมนุมกันโดยสงบ และปราศจากอาวุธโดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า
หรือได้รับอนุญาต
๒) การกาจัดสิทธิดังกล่าวจะกระทาได้ก็แต่โดยอาศัยอานาจแห่งกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับการ
ชุมนุม
มาตรา ๙ ๑) ชนชาวเยอรมันมีสิทธิที่จะรวมกันเป็นสมาคมและสโมสร
๒) ห้ ามมิให้ ตั้ งสมาคมที่มีวั ตถุ ประสงค์ หรือกิจกรรมที่ ขัดต่อกฎหมายอาญา หรื อที่ มุ่งเป็ น
ปฏิปักษ์ต่อระบอบรัฐธรรมนูญ หรือหลักการแห่งความเข้าใจระหว่างประเทศ
๓) สิทธิของบุคคลที่จะรวมกันจัดตั้งสมาคมเพื่อพิทักษ์
และปรับปรุงสภาพการทางาน และ
สภาวเศรษฐกิจย่อมได้รับการคุ้มครองข้อตกลงที่จากัดหรือขัดขวางสิทธินี้ย่อมเป็นโมฆะใช้บังคับไม่ได้ มาตรการใด ๆ เพื่อให้มี
ข้อตกลงดังกล่าว ย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมาย
มาตรา ๑๐ ความลับของจดหมาย และความลับของไปรษณีย์ และโทรคมนาคมเป็นสิ่งที่จะละเมิดมิได้ การ
จากัดจะกระทาได้ก็แต่โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
มาตรา ๑๑ ๑) ชนชาวเยอรมันมีเสรีภาพที่จะมีภูมิลาเนาภายในอาณาเขตของสหพันธรัฐ
๒) การจากัดสิทธิดังกล่าวจะกระทาได้ก็แต่โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และเฉพาะกรณีที่มีการ
ขาดแคลนสิ่งจาเป็นเพื่อมีชีวิตอยู่ได้ และด้วยเหตุดังกล่าวจะเป็นภาระหนักแก่ประชาคม หรือการจากัดมีความจาเป็นเพื่อ
คุ้มครองเยาวชนให้พ้นจากการทอดทิ้ง เพื่อปราบปรามโรคระบาดหรือเพื่อป้องกันอาชญากรรม
มาตรา ๑๒ ๑) ชนชาวเยอรมัน มีสิท ธิโ ดยเสรีที่จ ะเลือ กอาชีพ หรือ วิช าชีพ ที่ทางาน และที่รับ ก าร
ฝึกอบรม การควบคุมวิชาชีพให้กระทาได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
- ๒๒ -

๒) บุค คลจะไม่ถูกบัง คับ ให้ทางานอย่า งใดอย่า งหนึ่ง เว้น แต่ภ ายในขอบเขตของบริก าร
สาธารณะที่เป็นการบังคับตามประเพณีที่ใช้สาหรับทุกคนโดยทั่วไปและโดยเสมอภาค บุคคลที่ไม่อาจปฏิบัติการรบที่
ใช้อ าวุธ ต้องทาหน้า ที่บ ริก ารอื่น แทน การทาหน้าที่อื่นแทนนี้จะมีระยะเวลายาวกว่าระยะที่ต้อ งเป็นทหารไม่ได้ ให้
กาหนดรายละเอีย ดไว้ในกฎหมายซึ่งจะต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิในมโนธรรม และจะต้องมีบทบัญญัติที่ให้โ อกาส
ปฏิบัติภายในหน่วยอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยใดของกองทัพได้ด้วย
๓) สตรีไ ม่ต้อ งรับ ราชการทหารตามกฎหมายไม่ว่า จะเป็น หน่ว ยทหารใด ไม่ว่า จะโดย
เหตุผลใดก็ตามจะให้สตรีทางานในหน่วยงานใดที่ต้องใช้อาวุธไม่ได้
๔) การเกณฑ์แรงงานจะกระทาได้ก็แต่ในกรณีที่บุคคลถูกลิดรอนเสรีภาพโดยคาพิพากษาของศาล
มาตรา ๑๓ ๑) เคหสถานจะถูกละเมิดมิได้
๒) การค้น เคหสถานจะกระทาได้ก็แ ต่โ ดยคาสั่ง ของผู้พิพากษา หรือหากมีก ารล่า ช้า ใน
การค้นอาจจะเกิดอันตรายขึ้นได้ จะกระทาได้ก็แต่โดยองค์กรอื่นที่กาหนดไว้ในกฎหมายและการค้นจะต้องกระทาใน
ลักษณะที่กฎหมายบัญญัติไว้เท่านั้น
๓) นอกจากนี ้ การละเมิด มิไ ด้อ าจถูก เลิก หรือ ถูก จากัด เฉพาะเพื่อ หลีก เลี ่ย งภัย พิบัติ
สาธารณะ หรือภัยที่เป็น อัน ตรายต่อชีวิตของบุคคล หรือโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายเพื่อป้องกันภยันอันตรายอันมี
มาเป็นการฉุกเฉินต่อความมั่นคงสาธารณะ และความสงบเรียบร้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อบรรเทาการขาดแคลนที่
อยู่อาศัย เพื่อการปราบปรามโรคติดต่อหรือ คุ้มครองเยาวชนที่ตกอยู่ในภยันอันตราย
มาตรา ๑๔ ๑) สิท ธิใ นทรัพ ย์ส ิน และสิท ธิใ นการรับ มรดก ย่อ มได้ร ับ ความคุ ้ม ครอง สภาพและ
ขอบเขตของสิทธิให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
๒) การมีทรัพย์สินย่อมมีหน้าที่ด้วย การใช้ทรัพย์สินควรจะกระทาในลักษณะเพื่อส่วนรวม
๓) การเวนคืน จะกระทาได้ก็แต่เพื่อส่ว นรวม การเวนคืนจะกระทาได้ก็แต่โ ดยกฎหมาย
ใช้อานาจกระทาได้ หรืออาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ซึ่งบัญญัติถึงลักษณะ และขอบเขตค่าชดเชยด้ว ย
การกาหนดค่าชดเชยนั้น ให้คานึงถึงผลประโยชน์ส าธารณะ และผลประโยชน์ของผู้เสียหาย ในกรณีที่ไม่อาจตกลง
กันในเรื่องค่าชดเชยให้ฟ้องร้องต่อศาลยุติธรรมได้
มาตรา ๑๕ เพื่อประโยชน์ร่วมกันของสังคม การโอนที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และปัจจัยในการผลิต
ของเอกชนมาเป็น ของรัฐ หรือ ในลัก ษณะอื่น ที่เ ป็น เศรษฐกิจ ที่รัฐ ควบคุม จะกระทาได้ก็แ ต่โ ดยบทบัญ ญัติแ ห่ง
กฎหมายที่บัญญัติถึงประเภท และขอบเขตของค่าทาขวัญไว้ สาหรับค่าทาขวัญนั้นให้นาบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรค
๓ ประโยคที่ ๓ และ ๔ มาใช้โดยอนุโลม
มาตรา ๑๖ ๑) บุค คลจะถูก ถอดถอนสัญ ชาติเ ยอรมัน ไม่ไ ด้ การสูญ เสีย สัญ ชาติต้อ งเป็น ไปตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมาย และหากผู้ที่ถูกกระทบกระเทือนไม่ยินยอมแล้ว จะกระทาได้ ก็แต่ในกรณีที่บุคคลนั้นจะไม่
เป็นคนไร้สัญชาติเท่านั้น
๒) การเนรเทศผู้มีสัญ ชาติเ ยอรมันจะทาไม่ไ ด้ บุคคลผู้ต้อ งโทษโดยเหตุท างการเมือ งมี
สิทธิลี้ภัย
มาตรา ๑๗ บุค คลคนเดีย วหรือ หลายคนรวมกัน มีสิท ธิเ สนอคาร้อ งเรีย นเป็น ลายลัก ษณ์อัก ษร หรือ
เรื่องราวร้องทุกข์ต่อพนักงานเจ้ าหน้าที่และต่อสภาผู้แทน
มาตรา ๑๗ ก. ๑) กฎหมายว่า ด้ว ยการรับ ราชการทหารและการรับ ราชการอื่น แทนราชการทหาร
เฉพาะบทบัญญัติที่ใช้บัง คับ แก่ผู้รับ ราชการทหารและผู้รับราชการอื่น แทนราชการทหาร ในระหว่า งที่รับ ราชการ
ทหารหรือ รับ ราชการอื ่น แทนราชการทหารอาจบัญ ญัต ิจ ากัด สิท ธิม ู ล ฐานในการแสดงออกหรือ การโฆษณา
ความเห็นโดยการพูด การเขีย น และรูป ภาพ ( มาตรา ๕ วรรค (๑) ครึ่งประโยคที่ห นึ่ง ) สิทธิมูล ฐานในการชุมนุม
- ๒๓ -

( มาตรา ๘ ) และสิทธิในการยื่น เรื่อ งราวร้องทุก ข์ ( มาตรา ๑๗ ) เฉพาะส่ว นที่อ นุญ าตให้ยื่น คาร้อ งขอหรือ เสนอ
เรื่องราวร้องทุกข์ร่วมกับ บุคคลอื่นเท่านั้น
๒) กฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันประเทศรวมทั้งการคุ้มครองประชาชนพลเรือน อาจมีบัญญัติ
กาจัดสิทธิมูลฐานในการมีภูมิลาเนา ( มาตรา ๑๑ ) และการละเมิดมิได้ของเคหสถาน ( มาตรา ๑๓ ) ได้
มาตรา ๑๘ บุคคลผู้ที่ใช้อย่างเกินขอบเขตซึ่งเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับเสรีภาพใน
การพิมพ์ ( มาตรา ๕ วรรค ๒ ) เสรีภาพในการสอน ( มาตรา ๕ วรรค ๓ ) เสรีภาพในการชุมชุม ( มาตรา ๘ ) เสรีภาพในการ
รวมกันเป็นสมาคม ( มาตรา ๙ ) ความลับของจดหมายไปรษณีย์ และโทรเลข ( มาตรา ๑๐ ) สิทธิทรัพย์สิน ( มาตรา ๑๔ ) หรือ
สิทธิในการลี้ภัย ( มาตรา ๑๖ วรรค ๒ ) เพื่อที่จะโจมตีระบอบประชาธิปไตยเสรีแล้วจะต้องถูกรอนสิทธิเสรีภาพทั้งหมด การรอน
สิทธิเสรีภาพ และขอบเขตของการรอนให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐ
มาตรา ๑๙ ๑) ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ การจากัดสิทธิมูลฐานจะกระทาได้ก็แต่โดยบทบัญญัติของกฎหมาย
อาศัยอานาจตามกฎหมายเฉพาะกฎหมายนั้นจะต้องใช้ได้กับทุกคนเป็นการทั่วไป และจะใช้กับกรณีใดกรณีหนึ่งโดยเฉพาะไม่ได้
เพื่อประโยชน์ดังกล่าวกฎหมายจะต้องบัญญัติถึงสิทธิมูลฐานที่ถูกจากัดรวมทั้งมาตราของสิทธิมูลฐานนั้นด้วย
๒) ไม่ว่ากรณีจะเป็นอย่างไรก็ตาม ห้ามจากัดสารสาคัญของสิทธิมูลฐาน
๓) สิทธิมูลฐานย่อมมีผลบังคับถึงบรรดาองค์การที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายมหาชนเยอรมัน เท่าที่
สภาพของสิทธินั้นจะอานวย
๔) หากหน่วยราชการละเมิดสิทธิของบุคคล บุคคลย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลยุติธรรมได้
หากศาลอื่นไม่มีอานาจพิจารณาพิพากษาให้เป็นอานาจของศาลธรรมดาที่มีอยู่ตามกฎหมายที่จะพิจารณาพิพากษา

หมวด ๒
สหพันธรัฐและมลรัฐ
มาตรา ๒๐ ๑) สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันเป็นรัฐประชาธิปไตยและสหพันธรัฐสังคม
๒) บรรดาอานาจของรัฐ มาจากปวงชน ปวงชนใช้อานาจดังกล่า วโดยการเลือกตั้ง และ
การออกเสีย งเลือ กตั้ง และโดยการมีอ งค์ก รนิติบัญ ญัติ องค์ก รบริห าร และองค์ก รตุล าการ แยกเป็น สัด ส่ว นออก
ต่างหากจากกัน
๓) กฎหมายย่อ มอยู่ภ ายใต้ระบอบรัฐ ธรรมนูญ ฝ่า ยบริห ารและฝ่ายตุล าการอยู่ภ ายใต้
กฎหมาย
มาตรา ๒๑ ๑) พรรคการเมือ งมีส่ว นในการก่อ ตัว ของเจตนารมณ์ทางการเมือ งของปวงชน การตั้ง
พรรคการเมืองย่อมกระทาได้โดยเสรี องค์การของพรรคต้องสอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย พรรคต้องเปิดเผย
แหล่งที่มาของเงินของพรรคให้ประชาชนทราบ
๒) ไม่ว่าจะด้ว ยเหตุผ ลทางวัตถุประสงค์ห รือความประพฤติของสมาชิกของพรรคก็ตาม
พรรคการเมือ งที ่มุ ่ง ขัด ขวางหรือ ทาลายระบอบประชาธิป ไตยเสรี ห รือ เป็น ภัย ต่อ การด ารงคงอยู ่ข องสหพัน ธ์
สาธารณรัฐเยอรมันเป็นพรรคการเมืองที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์มีอานาจพิจารณาพิพากษาปัญหา
การขัดต่อรัฐธรรมนูญ
๓) รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้บัญญัติไว้ในกฎหมายสหพันธ์
มาตรา ๒๒ ธงชาติของสหพันธรัฐมีสีดา สีแดง สีทอง
- ๒๔ -

มาตรา ๒๓ ในขณะนี้กฎหมายหลักฉบับนี้ใช้ บังคั บได้แต่เฉพาะในเขตของมลรัฐบาเดน บาวาเรีย เบรเมน
มารตเตอร์ เบอร์ลิน ฮัมบวก เฮล โลเวอร์ – แซกโซนี นอร์ธไรน์ – เวสฟาเลีย ไรน์ลันด์ – พาลาตินาเต ชเลสวิก – โฮลสไตน์
วูร์ตเตมแบร์ก – บาเดน และวูร์ตเตมแบร์ก – โฮเฮ็น – ซอลเลิน ในส่วนอื่นของเยอรมัน กฎหมายหลักจะใช้บังคับเมื่อกลายเป็น
ส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐ
มาตรา ๒๔ ๑) สหพั นธ์ อาจมอบอ านาจอธิ ปไตยให้ แก่ องค์ การระหว่ างประเทศได้ โดยบทบั ญญั ติ แห่ ง
กฎหมาย
๒) เพื่อประโยชน์ ในการดารงรักษาไว้ซึ่งสั นติภาพ สหพันธ์อาจเข้าร่วมในระบบความมั่นคง
ร่วมกันได้ ในการเข้าร่วมนั้น สหพันธ์ยอมรับข้อจากัดอานาจอธิปไตยของตนเท่าที่จะเป็นผลให้บังเกิด และให้ได้มาซึ่งความ
มั่นคงโดยสันติและถาวรในยุโรป และระหว่างนานาชาติของโลก
๓) เพื่อระงับข้ อพิ พาทระหว่ างนานาชาติ สหพันธ์อาจเป็นภาคี แห่ งข้ อตกลงเกี่ ยวกั บ ระบบ
อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศที่มีลักษณ์ทั่วไป กว้างขวาง และมีผลผูกพัน
มาตรา ๒๕ หลักทั่วไปของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดี เมืองเป็นส่วนหนึ่ งของกฎหมายของสหพันธ์
กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับสูงกว่ากฎหมายของสหพันธ์และก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่สาหรับพลเมืองในเขตแดนของสหพันธ์
มาตรา ๒๖ ๑) กิจกรรมที่กาลั งดาเนินอยู่ได้ดาเนินแล้วด้วยความตั้งใจที่จะก่อกวนสัมพันธภาพโดยสันติ
ระหว่างนานาชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อเตรียมการทาสงครามรุกราน เป็นกิจกรรมที่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ กิจกรรมดังกล่าวพึง
มีโทษอาญาตามกฎหมาย
๒) การผลิต การขนส่งหรือการซื้อขายอาวุธที่สร้างขึ้นเพื่อสงครามจะกระทาได้ก็แต่โดยการ
อนุญาตของรัฐบาลสหพันธ์ รายละเอียดให้เป็นไปตามกฎหมาย
มาตรา ๒๗ เรือเดินสมุทรพาณิชย์ทั้งมวลของเยอรมันเป็นกองเรือเดียวกัน
มาตรา ๒๘ ๑) ระบอบรัฐธรรมนูญในมลรัฐพึงสอดคล้องกับหลักสาธารณรัฐ รัฐบาลประชาธิปไตย และสังคม
บนรากฐานของการปกครอง โดยกฎหมายตามความหมายของกฎหมายหลักนี้ในทุกมลรัฐ และประชาคมทั้งหลาย ประชาชนมี
สิทธิมีสภาผู้แทนที่ได้รับเลือก การเลือกตั้งทั่วไปโดยตรง เสรี เสมอภาค และลับ ในประชาคม สภาประชาคมทาหน้าที่เป็น
องค์การที่ได้รับเลือกตั้ง
๒) ประชาคมย่อมได้รับความคุ้มครองในสิทธิที่จะควบคุมกิจการที่อยู่ในความรับผิดชอบของ
ประชาคมท้องถิ่นภายในขอบเขตแห่งกฎหมาย สมาคมของประชาคมมีสิทธิปกครองตนเองตามบทบัญญัติของกฎหมายภายใน
ขอบเขตของอานาจอานาจหน้าที่ที่กฎหมายกาหนดไว้เป็นของการรวมกันของประชาคม
๓) สหพั น ธรั ฐพึ งประกั นว่ า ระบอบรั ฐ ธรรมนู ญของมลรั ฐสอดคล้ องกั บสิ ทธิ มู ลฐานและ
บทบัญญัติวรรค (๑) และ (๒) ของมาตรานี้
มาตรา ๒๙ ๑) การปรับปรุงดินแดนของสหพันธรัฐจะกระทาได้ก็แต่โดยการคานึงถึงความผูกพันภูมิภาค
ความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ และโครงร่ างสังคม การปรับปรุ งดินแดนพึง
ก่อให้เกิดมลรัฐที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของมลรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อคานึงถึงขนาดของดินแดน
และความสามารถ
๒) ภายหลังที่ได้มีการปรับปรุงเขตแดนของมลรัฐหลังจากวันที่ ๘ พฤษภาคม ๑๙๔๕ แล้ว
เขตแดนใดที่กลายเป็นส่วนหนึ่งของมลรัฐอื่นโดยไม่มีการออกเสียงประชาพินิจแล้ว ประชาชนอาจขอให้มีการเปลี่ยนแปลง
เส้นเขตแดนได้ภายในเวลา ๑ ปี นับตั้งแต่วันประกาศใช้กฎหมายหลักฉบับนี้ คาเสนอขอดังกล่าวต้องมีจานวนประชาชน
๑
เห็นชอบด้วยไม่ต่ากว่า ๑ / ๑๐ ของจานวนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั้งหมดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาลันด์ หากคาเสนอ
๑

สภาลันด์ คือสภามลรัฐ (Landtag)
- ๒๕ -

ได้รับความเห็นชอบด้วยจานวนคะแนนดังกล่าวแล้ว รัฐบาลสหพันธ์ต้องบัญญัติไว้ในกฎหมายปรับปรุงเขตแดนว่าเขตแดน
ใดอยู่ในอาณาเขตของมลรัฐใด
๓) เมื่อได้มีการออกกฎหมายแล้ว จะต้องเสนอบทบัญญัติ ของกฎหมายที่กาหนดให้โอน
ดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของมลรัฐหลังไปให้เป็นดินแดนของอีกมลรัฐหนึ่งให้ประชาชนในดินแดนนั้นออกเสียงประชามติ
หากมีคะแนนเสียงสนับสนุนตามที่ ๒ แล้วให้จัดให้มีการออกเสียงประชามติในดินแดนที่เกี่ยวข้องไม่ว่ากรณีจะเป็นอย่างไร
ก็ตาม
๔) เมื่ อ กฎหมายไม่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น แม้ แ ต่ เ พี ย งดิ น แดนเดี ย ว ให้ น ากฎหมายนั้ น เข้ า
พิจารณาในที่ประชุมสภาบุนเดสตักอีกครั้งหนึ่ง เมื่อสภาบุนเดสตักอนุมัติกฎหมายนั้นอีกครั้งหนึ่งแล้ว ให้นากฎหมาย
ดังกล่าวเสนอให้ประชาชนออกเสียงประชามติทั่วประเทศ
๕) ในการออกเสียงประชามติ ให้ถือเอาคะแนนเสียงส่วนมากของจานวนผู้มาลงคะแนนเสียง
เป็นเกณฑ์
๖) วิธีการให้เป็นไปตามกฎหมายสหพันธ์การปรับปรุงเขตแดนให้ดาเนินการให้เสร็จภายใน
๓ ปี นับ ตั้งแต่ป ระกาศใช้กฎหมายหลักนี้ และหากจาเป็นภายใน ๒ ปี นับตั้งแต่ได้มีการรวมเอาดินแดนส่ว นอื่นของ
เยอรมันเข้ารวมกับประเทศเยอรมันที่มีอยู่ในปัจจุบัน
๗) วิธีการเปลี่ยนเขตแดนในลักษณะอื่นของมลรัฐให้เป็นไปตามกฎหมายสหพันธ์ซึ่งสภาบุน
เดสตักให้ความเห็นชอบด้วยเสียงข้างมากของสภาบุนเดสตักเห็นชอบด้วย
มาตรา ๓๐ การใช้อานาจปกครองและการปฏิบัติหน้าที่ปกครองเป็นของมลรัฐเว้นแต่กฎหมายหลักจะ
กาหนดไว้เป็นอย่างอื่นหรืออนุญาตไว้
มาตรา ๓๑ กฎหมายของสหพันธ์สูงกว่ากฎหมายของมลรัฐ
มาตรา ๓๒ ๑) การปฏิบัติงานด้านความสัมพันธ์กับรัฐต่างประเทศเป็นอานาจหน้าที่ของสหพันธ์
๒) ก่อนที่จะลงนามในสัญญาที่กระทบกระเทือนประโยชน์พิเศษของมลรัฐใด ให้ติดต่อขอ
ความเห็นของมลรัฐที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลาพอเพียง
๓) เมื่อมลรัฐใดมีอานาจในการออกกฎหมายก็มีอานาจที่จะทาสัญญากับรัฐต่างประเทศได้
ด้วยความยินยอมของรัฐบาลสหพันธ์
มาตรา ๓๓ ๑) ชาวเยอรมันในทุกมลรัฐมีสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองเหมือนกันหมด
๒) ชาวเยอรมั น มี ค วามเสมอภาคกั น ในการที่ จ ะได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ ด ารงต าแหน่ ง ของ
บ้านเมืองตามความเหมาะสมทางร่างกายและจิตใจ คุณสมบัติ และความสาเร็จในวิชาชีพ
๓) การมีสิ ทธิ ทางแพ่ง และสิ ทธิ ของพลเมือ ง การอาจได้รั บแต่ง ตั้ง ให้ ดารงตาแหน่ง ของ
บ้านเมืองและสิทธิที่ได้มาจากการเป็นข้ารัฐการไม่เป็นผลของการนับถือนิกายศาสนา บุคคลจะเสียสิทธิอันควรมีควรได้โดย
เหตุผลที่ได้นับถือ หรือไม่นับถือนิกายศาสนาหรือนิกายทางศาสนาไม่ได้
๔) การใช้อานาจของรัฐในฐานะเป็นหน้าที่อันถาวรนั้น โดยหลักการทั่วไปแล้วให้เป็นอานาจ
หน้าที่ของข้าราชการซึ่งมีสถานภาพความรับผิดชอบและความจงรักภักดีตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายมหาชน
๕) มาตรากฎหมายว่าด้วยข้าราชการให้คานึงถึงหลักการประเพณีที่ข้าราชการพลเรือนพึงมี
ความมั่นคงในตาแหน่งหน้าที่
มาตรา ๓๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ราขการที่ได้รับมอบหมายให้เป็นหน้าที่นั้น หากบุคคลใดละเมิดพันธะทาง
ราชการต่อบุคคลที่สามโดยหลักการให้รัฐหรือหน่วยราชการที่ข้าราชการผู้นั้นสังกั ดเป็นผู้รับผิดชอบในกรณีที่มีข้าราชการ
- ๒๖ -

ปฏิบัติหน้าที่ด้วยเจตนาที่จะละเมิด หรือด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ผู้ที่ละเมิดจะฟ้องร้องหน่วยราชการที่
ข้าราชการผู้ละเมิดสังกัดอยู่ไม่ได้ ในส่วนที่เกี่ยวกับการร้องขอค่าชดเชยหรือสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลนั้น ศาลยุติ ธรรมที่
ตั้งขึ้นตามกฎหมายโดยปรกติมีอานาจพิจารณาพิพากษา
มาตรา ๓๕ หน่วยงานของสหพันธ์และของมลรัฐต้องให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านกฎหมายและ
การบริหาร
มาตรา ๓๖ ๑) ข้ า ราชการในหน่ ว ยงานระดั บ สู ง สุ ด ของรั ฐ บาลสหพั น ธ์ ต้ อ งมาจากมลรั ฐ ต่ า ง ๆ ใน
อัตราส่วนอันเหมาะสม ข้าราชการผู้ที่ทางานในหน่วยงานของรัฐบาลสหพันธ์ต้องมาจากมลรัฐที่ข้ารัฐการผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่
อยู่
๒) กฎหมายว่าด้วยการทหารพึงคานึงถึงการแบ่งสหพันธรัฐออกเป็นมลรัฐและสภาพเชื้อชาติ
ของมลรัฐด้วย
มาตรา ๓๗ ๑) หากมลรัฐหนึ่งไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีแห่งลักษณะของสหพันธรัฐที่ บัญญัติไว้ในกฎหมาย
หลักหรือกฎหมายอื่นใดของสหพันธ์ด้วยความยินยอมของสภาบุนเดสตัก รัฐบาลสหพันธ์อาจใช้มาตราการอันจาเป็น
เพื่อให้มีการปฏิบัติตามพันธกรณีโดยมลรัฐที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีการบังคับของสหพันธ์
๒) ในการดาเนินการบังคับของสหพันธ์นั้น รัฐของสหพันธ์หรือผู้ไ ด้รับมอบหมายมีสิทธิออก
คาสั่งแก่เจ้าหน้าที่มลรัฐทั้งหมด

หมวด ๓
สภาบุนเดสตัก (Bundestag)
มาตรา ๓๘ ๑) สมาชิกของสภาบุนเดสตักเยอรมันได้รั บเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งทั่ว ไป โดยตรง เสรี
เสมอภาคกัน และลับ บรรดาสมาชิกแห่งสภานี้เป็นผู้แทนของปวงชนชาวเยอรมันทั้งมวล ไม่อยู่ในอาณัติมอบหมาย
ใด ๆ และอยู่ใต้มโนธรรมของตนเองเท่านั้น
๒) ผู้ใดที่มีอายุ ๒๑ ปี มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ผู้มีอายุ ๒๕ ปี มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
๓) รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมายสหพันธ์
มาตรา ๓๙ ๑) สภาบุนเดสตักมีอายุคราวละ ๔ ปี อายุทางนิติบัญญัติของสภานี้สินสุดลง ๔ ปี ภายหลัง
การประชุมครั้งแรกหรือเมื่อมีการยุบสภา ให้จัด ให้มีการเลือกตั้งครั้งใหม่ภายในระยะเวลาสามเดือนสุดท้ายของอายุสภา
หรือภายในหกสิบวันหลังจากการยุบสภา
๒) สภาบุนเดสตักประชุมกันภายใน ๓๐ วัน ภายหลังการเลือกตั้ง แต่จะต้องไม่ประชุมกัน
ก่อนการสิ้นอายุของสภาบุนเดสตักที่ยังไม่สิ้นอายุ
๓) สภาบุน เดสตัก กาหนดการปิด สมัย ประชุม และการขยายสมัย ประชุม ของตนเอง
ประธานสภาบุน เดสตัก มีอานาจเรีย กประชุม สภาก่อ นกาหนดสมัย ประชุม ได้ ประธานสภาต้อ งเรีย กประชุม หาก
สมาชิกไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๓ ของสมาชิกทั้งหมดของสภา ประธานาธิบดีสหพั นธ์หรือนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ร้องขอ
มาตรา ๔๐ ๑) สภาบุ น เดสตักเลือกประธานสภา รองประธานสภา และเลขาธิการสภา สภาบัญญัติ
ระเบียบข้อบังคับการประชุมของสภาได้
๒) ประธานสภาใช้อานาจในฐานะเจ้าของเคหสถาน และอานาจตารวจในตึกสภาบุนเดสตัก
ได้ การค้นหรือการจับกุมในสภาบุนเดสตักจะกระทามิได้ เว้นไว้แต่ประธานสภาอนุญาต
- ๒๗ -

มาตรา ๔๑ ๑) การสอบสวนการเลือกตั้งเป็นความรับผิดชอบของสภาบุนเดสตัก สภาเป็นผู้ตัดสินการ
สิ้นสุดของสมาชิกสภาบุนเดสตักได้
๒) การอุทธรณ์มติของสภาบุนเดสตักให้กระทาได้โดยยื่นอุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์
๓) รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย
มาตรา ๔๒ ๑) การประชุมสภาบุนเดสตักให้กระทาโดยเปิดเผย การประชุมลับจะกระทาได้โดยญัตติ
สมาชิกสภาไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๓ ของสมาชิกทั้งหมด หรือโดยญัตติของรัฐบาลสหพันธ์ ซึ่งจะต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วย
ไม่ต่ากว่า ๒ ใน ๓ การลงคะแนนเสียงเกี่ยวกับญัตติให้ประชุมลับนี้ให้กระทาในที่ประชุมลับ
๒) มติของสภาบุนเดสตักจาเป็นต้องมีคะแนนเสียงเกินครึ่งหนึ่งของสมาชิกที่ออกคะแนนเสียง
เว้นไว้แต่กฎหมายหลักนี้จะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ระเบียบข้อบังคับการประชุมของสภาอาจกาหนดข้อยกเว้นไว้ที่เกี่ยวกับการ
เลือกตั้งของสภาได้
๓) รายงานการประชุมที่แท้จริงและถูกต้องของสภาในการประชุมโดยเปิดเผยของคณะเลขาธิการ
ต่าง ๆ ไม่ก่อให้เกิดการรับผิดชอบใด ๆ เลย
มาตรา ๔๓ ๑) สภาบุนเดสตักและคณะเลขาธิการอาจขอให้รัฐมนตรีผู้หนึ่งผู้ใดให้มาปรากฏตัวในที่ประชุมได้
๒) สมาชิกของสภาบุนเดสตักและรัฐมนตรีในรัฐบาลสหพันธ์ รวมทั้งบุคคลผู้ได้รับมอบอานาจ
จากสภาบุนเดสตักและรัฐบาลสหพันธ์มีสิทธิเข้าร่วมประชุมสภาบุนเดสตักและคณะกรรมาธิการของสภาบุนเดสตักได้ บุคคล
ดังกล่าวมีสิทธิอภิปรายในที่ประชุมสภาบุนเดสตักและที่ประชุมคณะกรรมาธิการของสภาบุนเดสตักเมื่อใดก็ได้
มาตรา ๔๔ ๑) สภาบุ นเดสตั กมี สิ ทธิ และในเมื่ อสมาชิ กไม่ ต่ ากว่ า ๑ ใน ๑๐ เสนอญั ตติ ร้ องขอจั ดตั้ ง
คณะกรรมาธิการสอบสวน ซึ่งจะรวบรวมหลักฐานที่ประสงค์ในการประชุมสอบสวน โดยเปิดเผยการประชุมลับอาจมีได้
๒) ในการแสวงหาหลักฐานนั้นให้นาวิธีการพิจารณาคดีอาญามาใช้โดยอนุโลม ทั้งนี้จะต้องไม่
กระทบกระเทือนสิทธิเสรีภาพในการสื่อสารทางจดหมาย ไปรษณีย์หรือโทรคมนาคม
๓) เจ้าหน้าที่ฝ่ายศาลยุติธรรมและฝ่ายบริหารมีหน้าที่ต้องให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายและ
ด้านบริหารแก่การสอบสวนของสภา
๔) ศาลยุติธรรมไม่มีอานาจตัดสินมติของคณะกรรมาธิการสอบสวน ศาลยุติธรรมมีความเป็น
อิสระที่จะประเมินและตัดสินข้อเท็จจริงที่เป็นรากฐานของการสอบสวนนั้นได้
มาตรา ๔๕ ๑) สภาบุนเดสตักแต่งตั้งคณะกรรมาธิการสามัญคณะหนึ่งทาหน้าที่พิทักษ์รักษาสิทธิของ
สภาบุน เดสตัก ในระหว่า งสภาปิด สมัย ประชุม เพื่อ มิใ ห้รัฐ บาลสหพัน ธ์ใ ช้อานาจของสภา คณะกรรมาธิก ารสามัญ
ดังกล่าวนี้ มีอานาจเป็นคณะกรรมาธิการสอบสวนด้วย
๒) อานาจที่กว้างขวางยิ่งขึ้นเช่น สิทธิที่จะออกกฎหมายการเลือกตั้งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ และ
การสอบสวนประธานาธิบดีสหพันธ์ในความผิดอย่างร้ายแรงไม่อยู่ในขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการสามัญ
มาตรา ๔๕ ก. ๑) สภาบุ นเดสตั กจะได้ แต่งตั้งกรรมาธิ การกิ จการต่างประเทศ และคณะกรรมาธิการทหาร
คณะกรรมาธิการทั้งสองคณะทาหน้าที่ในระหว่างสภาปิดสมัยประชุม
๒) คณะกรรมาธิ การทหารมี สิ ทธิ ท าหน้ าที่ คณะกรรมาธิ การสอบสวน เมื่ อกรรมาธิ การใน
คณะกรรมาธิการนี้ไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๔ ร้องขอ คณะกรรมาธิการมีหน้าที่กาหนดเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะให้เป็นเรื่องที่จะ
สอบสวน
๓) การสอบสวนเรื่องการทหาร มิให้นาบทบัญญัติมาตรา ๔๔ วรรค (๑) มาใช้บังคับ
- ๒๘ -

มาตรา ๔๕ ข. สภาบุนเดสตักต้องแต่งตั้งข้าหลวงคุ้มครอง (Defense Commissioner) ขึ้น ๑ คน เพื่อทา
หน้าที่พิทักษ์สิทธิมูลฐานและช่วยสภาบุ นเดสตักในการใช้สิทธิควบคุมรัฐบาลโดยสภา รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย
สหพันธ์
มาตรา ๔๖ ๑) สมาชิกสภาบุนเดสตักจะถูกฟ้องร้องต่อศาลเมื่อใดไม่ได้หรือจะถูกลงโทษทางวินัยได้หรือไม่
ต้องรับผิดชอบภายนอกสภาในการที่ได้ลงคะแนนเสียงหรืออภิปรายในสภาบุนเดสตัก หรือในที่ประชุมคณะกรรมาธิการของสภา
บทบัญญัติในวรรคนี้ไม่คลุมถึงการหมิ่นประมาท
๒) สมาชิกสภาบุนเดสตักจาต้องรับผิดชอบหรือถูกจับกุมในข้อหาว่าได้กระทาความผิดที่จะต้อง
ได้รับอาญาตามกฎหมายก็แต่เฉพาะเมื่อสภาบุนเดสตักอนุญาต เว้นไว้แต่จะถูกจับกุมในขณะกระทาความผิดหรือในวันถัดไป
๓) การจากัดเสรีภาพในร่างกายของสมาชิกสภาหรือการดาเนินคดีใดๆ ต่อเมื่อสมาชิกสภาตาม
มาตรา ๑๘ จะกระทามิได้ เว้นไว้แต่จะได้รับอนุญาตจากสภาบุนเดสตัก
๔) การดาเนินคดีอาญาหรือการดาเนินคดีใด ๆ ตามมาตรา ๑๘ ต่อสมาชิกสภา รวมทั้งการคุมขัง
หรือการจากัดสิทธิในร่างกายของสมาชิกสภาโดยวิธีอื่น จะต้องพักไว้ชั่วคราวเมื่อสภาบุนเดสตักร้องขอ
มาตรา ๔๗ สมาชิกสภามีสิทธิที่จะไม่ให้หลักฐานเกี่ยวกับบุคคลที่ได้ให้ข้อเท็จจริงแก่ตนในฐานะสมาชิกสภา
หรือบุคคลที่สมาชิกสภาได้ให้ข้อเท็จจริงในฐานะสมาชิกสภา รวมทั้งข้อเท็จจริงทั้งหมดด้วย เพื่อที่จะให้สิทธิที่จะไม่ให้หลักฐาน
มีอยู่อย่างแท้จริง การยึดเอาเอกสารจะกระทามิได้
มาตรา ๔๘ ๑) บุคคลผู้ประสงค์สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาบุนเดสตักมีสิทธิจะได้รับอนุญาตให้ลางาน
เพื่อทาการหาเสียงเลือกตั้งได้
๒) การกีดขวางมิให้บุคคลได้รับตาแหน่ง หรือทาหน้าที่สมาชิกสภาบุนเดสตักจะกระทามิได้ การ
ให้ออกจากงานโดยเหตุที่บุคคลนั้นเป็นสมาชิกสภาบุนเดสตัก ไม่ว่าจะได้แจ้งล่วงหน้าหรือไม่ก็ตามจะกระทามิได้
๓) สมาชิกสภามีสิทธิได้รับค่าตอบแทนพอเพียงที่จะเป็นหลักประกันความเป็นอิสระได้ สมาชิก
สภามีสิทธิใช้บริการขนส่งของรัฐได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย
มาตรา ๔๙ ในส่ วนที่ เกี่ ย วกั บ ประธานสภา รองประธานสภา เลขาธิ การสภา คณะกรรมาธิ การสามั ญ
คณะกรรมาธิการกิจการต่างประเทศ คณะกรรมาธิการสหพันธ์ รวมทั้งผู้ทาหน้าที่แทน ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๔๖,๔๗ และ
วรรค (๒) และ (๓) ของมาตรา ๔๘ มาใช้บังคับในระหว่างปิดสมัยประชุมสภาด้วย

หมวด ๔
สภาบุนเดสรัต (Bundesrat)
มาตรา ๕๐ มลรัฐมีส่วนร่วมในการออกกฎหมายและการบริหารสหพันธรัฐโดยผ่านสภาบุนเดสรัต
มาตรา ๕๑ ๑) สภาบุนเดสรัตประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นรัฐมนตรีของมลรัฐที่ได้รับแต่งตั้งและถอดถอนโดย
มลรัฐ รัฐมนตรีคนอื่นอาจเป็นผู้ทาหน้าที่สมาชิกสภาแทนผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งได้
๒) มลรัฐหนึ่งมีคะแนนเสียงอย่างน้อย ๓ คะแนน มลรัฐ ที่มีประชาชนกว่า ๒ ล้านคน มี
๔ คะแนน มลรัฐที่มีประชาชนกว่า ๖ ล้านคนมี ๔ คะแนน
๓) มลรัฐหนึ่งมีสิทธิแต่งตั้งสมาชิกบุนเดสรัตเท่ากับจานวนคะแนนเสียงที่มีการลงคะแนนเสียง
ของทุกมลรัฐ ให้กระทาโดยการลงคะแนนเสียงกลุ่มเท่านั้น และโดยสมาชิกผู้มาร่วมประชุม หรือผู้ทาหน้าที่แทนสมาชิกเท่านั้น
มาตรา ๕๒ ๑) สภาบุนเดสรัตเลือกประธานสภาซึ่งอยู่ในตาแหน่งคราวละ ๑ ปี
- ๒๙ -

๒) ประธานสภาเรียกประชุมบุนเดสรัต ประธานสภาต้องเรียกประชุมหากได้รับการร้องขอจาก
สมาชิกของสองมลรัฐเป็นอย่างน้อยหรือจากรัฐบาลสหพันธ์
๓) มติของสภาบุนเดสรัตต้องมีคะแนนเสียงเห็นด้วยเกินครึ่งหนึ่งของสมาชิกที่ ลงคะแนนเสียง
สภากาหนดระเบียบข้อบังคับการประชุมของสภาได้ การประชุมสภาให้กระทาโดยเปิดเผย การประชุมลับอาจกระทาได้
๔) รัฐมนตรีอื่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลมลรัฐ อาจเป็นกรรมาธิการในสภาบุนเดสรัตได้
มาตรา ๕๓ รัฐมนตรีของรัฐบาลสหพันธ์มีสิทธิและเป็นหน้าที่ หากได้รับการร้องขอที่จะร่วมในการอภิปราย
ของสภาบุรเดสรัต และคณะกรรมาธิการ รัฐมนตรีของรัฐบาลสหพันธ์มีสิทธิอภิปรายเมื่อใดก็ได้ รัฐบาลสหพันธ์ต้องรายงานการ
ปฏิบัติงานบริหารประเทศให้สภาบุนเดสรัตทราบเป็นประจา

หมวด ๕
ประธานาธิบดีสหพันธ์
มาตรา ๕๔ ๑) ประธานาธิบดี สหพันธ์ได้รับเลือกปราศจากการอภิปรายโดยที่ประชุมสหพันธ์ผู้มีสั ญชาติ
เยอรมันที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาบุนเดสตัก และมีอายุอย่างน้อย ๔๐ ปี มีสิทธิได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี
๒) ประธานาธิบดีสหพันธ์อยู่ในตาแหน่งคราวละ ๕ ปี การได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีสืบ
ตาแหน่งตนเองจะกระทาได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น
๓) ที่ประชุมสหพันธ์ประกอบด้วยสมาชิกสภาบุนเดสตักและผู้แทนจานวนเท่ากันจากองค์การที่
ได้รับเลือกตั้งจากผู้แทนประชาชนในมลรัฐต่างๆ ตามกฏของการเลือกตั้งตามส่วน
๔) ที่ประชุมสหพันธ์ประชุมกันภายใน ๓ วัน ก่อนการสิ้นสุดของระยะเวลาอยู่ในตาแหน่งของ
ประธานาธิบดี หรือในกรณีที่มีการสิ้นสุดลงก่อนระยะเวลาที่กาหนดไว้ ไม่ช้าไปกว่า ๓๐ วันภายหลังการสิ้นสุดลงก่อนระยะเวลา
ที่กาหนดไว้ประธานสภาบุนเดสตักเรียกประชุมที่ประชุมสหพันธ์
๕) ภายหลังการสิ้นสุดอายุของสภา ระยะเวลาที่กาหนดไว้ในวรรค ๔ ประโยคแรกนั้นให้เริ่ม
นับตั้งแต่การประชุมครั้งแรกของสภาบุนเดสตัก
๖) ผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงข้างมากของที่ประชุมสหพันธ์ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี หากไม่มี
ผู้สมัครรับเลือกคนใดได้รับคะแนนเสียงข้างมากดังกล่าวในการออกเสียงลงคะแนนสองครั้งแล้ว ให้ผู้ที่ได้รับคะแนนมากที่สุดใน
การออกเสียงลงคะแนนเสียงครั้งต่อไปอีกครั้งเดียวได้รับเลือก
๗) รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย
มาตรา ๕๕ ๑) ประธานาธิบดีสหพันธ์จะเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาลสหพันธ์หรือสภานิติบัญญัติของสหพันธ์หรือ
ของมลรัฐใดไม่ได้
๒) ประธานาธิบดีสหพันธ์จะดารงตาแหน่งอื่นที่มีเงินเดือนหรือทาการค้า หรือประกอบวิชาชีพ
หรือเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารหรือเป็นกรรมการบริหารของกิจการที่ประกอบการเพื่อค้ากาไรมิได้
มาตรา ๕๖ ในการเข้ารับตาแหน่ง ประธานาธิบดีสหพันธ์ต้องสาบานตนต่อหน้าที่ประชุมสมาชิกสภาบุนเดสตัก
และสภาบุนเดสรัตด้วยถ้อยคาต่อไปนี้
- ๓๐ -

“ข้า พเจ้า ขอสาบานว่า ข้า พเจ้า จะอุทิศ ความพยายามทั้ง หมดของข้า พเจ้า เพื่อ การอยู่ดี
กิน ดีข องชนชาวเยอรมัน ส่ง เสริม ผลประโยชน์ข องชนชาวเยอรมัน ป้อ งกัน มิใ ห้ภัย มาพ้อ งพานชนชาวเยอรมั น
ปฏิบัติต นและปกป้อ งกฎหมายหลัก และกฎหมายของสหพัน ธ์ ปฏิบัติห น้า ที่ข องข้า พเจ้า ด้ว ยความซื่อ สัต ย์สุจ ริต
และยังความยุติธรรมแก่ทุกชน ขอให้พระเจ้าช่วยข้าพเจ้าด้วย”
การสาบานตนอาจจะกระทาได้ปราศจากพิธีทางศาสนา
มาตรา ๕๗ ถ้าประธานาธิบดีสหพันธ์ไม่อาจใช้อานาจของประธานาธิบดีได้ หรือ หากตาแหน่งประธานาธิบดี
ว่างลงก่อนครบกาหนดระยะเวลาอยู่ในตาแหน่ง ให้ประธานสภาบุนเดสรัตใช้อานาจของประธานาธิบดี
มาตรา ๕๘ คาสั่งและกฤษฎีกาของประธานาธิบดีจาต้องมีการลงนามรับสนองของนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี
ที่เกี่ยวข้องจึงจะมีผลใช้บังคับได้ ข้อความดังกล่าวไม่ใช้บังคับในกรณีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ การยุบสภาบุนเดสตัก
ตามความในมาตรา ๖๓ และการร้องขอตามความในมาตรา ๖๙ วรรค ๓
มาตรา ๕๙ ๑) ประธานาธิ บ ดี ส หพั น ธ์ เ ป็ น ตั ว แทนของสหพั น ธ์ ใ นความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งประเทศ
ประธานาธิบดีทาสนธิสัญญากับต่างประเทศในนามของสหพันธรัฐ ประธานาธิบดีแต่งตั้งและรับทูตานุฑูต
๒) สนธิสัญญาที่ควบคุมความสัมพันธ์ทางการเมืองในสหพันธ์หรือเกี่ยวกับกิจการออกกฎหมาย
ของสหพันธ์ต้องได้รับความเห็นชอบหรือมีส่วนในการพิจารณาในรูปของกฎหมายสหพันธ์ โดยองค์กรที่มีอานาจหน้าที่เฉพาะ
กรณีในการออกกฎหมายเช่นนั้นของสหพันธ์สาหรับข้อตกลงของฝ่ายบริหาร ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการบริหารสหพันธ์มาใช้
โดยอนุโลม
มาตรา ๕๙ ก. ๑) สภาบุนเดสตักเป็นผู้กาหนดว่า ได้เกิดกรณีฝ่ายบริหารเข้าแทรกแซงในกิจการอันเป็น
อานาจหน้าที่ของสภา ประธานาธิบดีสหพันธ์เป็นผู้ประกาศมติของสภาบุนเดสตัก
๒) หากเกิดปัญหาอันแก้ไขไม่ได้ขัดขวางการประชุมของสภาบุนเดสตัก หากมีการชักช้าจะ
เกิดเสียหายต่อประเทศ ประธานาธิบดีสหพันธ์เป็นผู้กาหนดกรณีฝ่ายบริหารเข้าแทรกแซงในกิจการอันเป็นอานาจหน้าที่
ของสภาขึ้นแล้ว และประกาศกรณีดังกล่าวโดยมีนายกรัฐมนตรีลงนามรับสนอง ประธานาธิบดีสหพันธ์ต้องปรึกษาหารือ
กับประธานสภาบุนเดสตัก และประธานสภาบุนเดสรัตก่อน
๓) การออกถ้อยแถลงเกี่ยวกับกรณีฝ่ ายบริห ารแทรกแซงอานาจของสภาที่เกี่ยวข้องกับ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยประธานาธิบดีจะกระทาไม่ได้จนกว่าจะได้มีการประกาศว่าได้มีกรณีดังกล่าวเกิดขึ้นแล้ว
๔) มติเกี่ยวกับการลงนามในสัญญาสันติภาพให้กระทาโดยการออกกฎหมายสหพันธ์
มาตรา ๖๐ ๑) ประธานาธิบดีสหพันธ์แต่งตั้ง และถอดถอนผู้พิพากษาสหพันธ์ ข้ารัฐการพลเรือนสหพันธ์
นายทหารและนายทหารชั้นประทวน เว้นไว้แต่ที่กาหนดไว้ในกฎหมายไว้เป็นอย่างอื่น
๒) ประธานาธิบดีใช้อานาจบริหาร เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งในนามของสหพันธ์
๓) ประธานาธิบดีอาจมอบหมายอานาจดังกล่าวแก่องค์การอื่นใดก็ได้
๔) ให้นาวรรค ๒ – ๔ ของมาตรา ๕๖ มาใช้กับประธานาธิบดีสหพันธ์โดยอนุโลม
มาตรา ๖๑ ๑) สภาบุนเดสตักหรือสภาบุนเดสรัตกล่าวหาประธานาธิบดีต่อศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ใน
ข้อหาว่าได้ละเมิดกฎหมายหลักหรือกฎหมายอื่นใดของสหพัน ธ์โดยเจตนาได้ ญัต ติก ล่า วหาดัง กล่ า วจะต้อ งมีส มาชิก
สภาบุ น เดสตักไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๔ หรือสมาชิกสภาบุนเดสรัตไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๔ เป็นผู้เสนอ มติที่จะฟ้องร้องประธานนาธิบดี
จะต้องได้รับความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงไม่ต่ากว่า ๒ ใน ๓ ของจานวนสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสตัก หรือไม่ต่า
กว่า ๒ ใน ๓ ของจานวนสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสรัต บุคคลผู้ที่ได้รับมอบอานาจโดยสภาที่มีมติให้ฟ้องร้องเป็นผู้ทา
หน้าที่อัยการ
- ๓๑ -

๒) หากศาลรั ฐ ธรรมนู ญ สหพั น ธ์ ตั ด สิ น ว่ า ประธานาธิ บ ดี ส หพั น ธ์ มี ค วามผิ ด ฐานละเมิ ด
กฎหมายหลัก หรือกฎหมายอื่นใดของสหพันธ์โดยเจตนา ศาลจะมีคาสั่งให้ประธานาธิบดีพ้นตาแหน่ง ภายหลังการตัดสิน
แล้ว ศาลอาจมีคาสั่งชั่วคราวห้ามประธานาธิบดีใช้อานาจของตาแหน่งประธานาธิบดีได้

หมวด ๖
รัฐบาลสหพันธ์
มาตรา ๖๒ รัฐบาลสหพันธ์ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีสหพันธ์และรัฐมนตรีสหพันธ์
มาตรา ๖๓ ๑) นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ได้รับเลือกปราศจากการอภิปรายโดยสภาบุนเดสตักตามการเสนอชื่อ
ของประธานาธิบดีสหพันธ์
๒) ผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกสภาบุนเดสตักทั้งหมดได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี
ประธานาธิบดีสหพันธ์แต่งตั้งผู้ที่ได้รับเลือก
๓) หากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อไม่ได้รับเลือก สภาบุนเดสตักเลือกนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ภายใน
๑๔ วัน นับตั้งแต่ได้มีการลงคะแนนครั้งแรกด้วยคะแนนเสียงเกินกว่าครึ่งหนึ่งของสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสตัก
๔) หากไม่มีการเลือกภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้มีการลงคะแนนเสียงโดยไม่ชักช้าโดยให้ผู้ที่
ได้รั บคะแนนเสียงมากที่สุ ดได้รับเลื อก หากผู้ได้รับเลือกได้คะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกสภาบุนเดสตัก ประธานาธิบดี
สหพันธ์ต้องแต่งตั้งบุคคลนั้นภายในเจ็ดวันนับตั้งแต่ได้รับเลือกหากผู้ได้รับเลือกไม่ได้คะแนนเสียงดังกล่าว ประธานาธิบดีอาจ
แต่งตั้งบุคคลนั้นหรือยุบสภาบุนเดสตักภายในเจ็ดวัน
มาตรา ๖๔ ๑) รัฐมนตรีสหพันธ์ตามคาแนะนาของประธานาธิบดีสหพันธ์แต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรี
สหพันธ์
๒) นายกรัฐมนตรีสหพันธ์และรัฐมนตรีสหพันธ์สาบานตนในการเข้ารับตาแหน่งด้วยถ้อยคาที่
กาหนดไว้ในมาตรา ๕๖
มาตรา ๖๕ หากรั ฐมนตรี สหพันธ์ก าหนดและรั บผิ ดชอบนโยบายทั่วไปภายในขอบเขตของนโยบายทั่ วไป
ดังกล่าว รัฐมนตรีสหพันธ์ทุกคนบริหารกระทรวงของตนโดยอิสระและต่างรับผิดชอบในการบริหารรัฐบาลสหพันธ์ตัดสินความ
แตกต่าง ในเรื่องความเห็นของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ นายกรัฐมนตรีสหพันธ์บริหารกิจการของรัฐบาลสหพันธ์ตามระเบียบ
ข้อบังคับที่รัฐบาลสหพันธ์เห็นชอบด้วย และประธานาธิบดีสหพันธ์เห็นชอบด้วยแล้ว
มาตรา ๖๕ ก.๑) อานาจบังคับบัญชากองทัพเป็นของรัฐมนตรีกลาโหมสหพันธ์
๒) เมื่อได้มีการประกาศว่าฝ่ายบริหารแทรกแซงอานาจของสภาแล้ว ให้ประธานาธิบดีมีอานาจ
บังคับบัญชากองทัพ
มาตรา ๖๖ นายกรัฐมนตรีสหพันธ์และรัฐมนตรีสหพันธ์ต้องไม่ดารงตาแหน่งอื่นที่มีเงินเดือน ไม่ทาการค้า ไม่
ประกอบวิชาชีพ ไม่เป็นฝ่ายบริหารหรือหากไม่ได้รับความเห็นชอบจากสภาบุนเดสตัก ไม่เป็นกรรมการของวิสาหกิจที่ค้ากาไร
มาตรา ๖๗ ๑) สภาบุนเดสตักอาจแสดงความไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ได้ก็แต่โดยการเลือกผู้สืบต่อ
ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ ด้วยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกทั้งหมดของสภา และโดยการร้องขอให้ประธานาธิบดี
สหพันธ์ให้ถอดถอนนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ประธานาธิบดีสหพันธ์ต้องปฏิบัติตามคาร้องขอ และแต่งตั้งผู้ที่ได้รับเลือก
๒) ระยะเวลาระหว่างการเสนอญัตติให้มีการเลือกตั้งผู้สืบต่อตาแหน่งกับการเลือกนั้นจะต้องมี
ระยะอย่างน้อย ๔๘ ชั่วโมง
- ๓๒ -

มาตรา ๖๘ ๑) หากญัตติที่เสนอโดยนายกรัฐมนตรีให้สภาบุนเดสตักลงมัติไว้วางใจรั ฐบาลไม่ได้รับความ
สนับสนุนด้วยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสตัก ประธานาธิบดีสหพันธ์อาจยุบสภาบุนเดสตักภายใน
เวลา ๒๑ วัน ตามคาแนะนาของนายกรัฐมนตรี สิทธิในการยุบสภาสิ้นสุดลงในเมื่อสภาบุนเดสตักเลือกนายกรัฐมนตรีใหม่ด้วย
คะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกทั้งหมด
๒) เวลาระหว่างการเสนอญัตติกับการลงคะแนนเสียงต้องมีระยะอย่างน้อย ๔๘ ชั่วโมง
มาตรา ๖๙ ๑) นายกรัฐมนตรีสหพันธ์อาจแต่งตั้งรัฐมนตรีสหพันธ์นายหนึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรีได้
๒) ไม่ว่ากรณีใดก็ตามระยะเวลาในตาแหน่งของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์หรือรัฐมนตรีสหพันธ์
สิ้นสุดลงในวันที่สภายุนเดสตักที่ได้รับเลือกตั้งใหม่ประชุมกันครั้งแรก ระยะเวลาอยู่ในตาแหน่งของรัฐมนตรีสหพันธ์สิ้นสุดลง
เมื่อระยะเวลาอยู่ในตาแหน่งของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์สิ้นสุดลง
๓) ตามคาร้องขอของประธานาธิบดีสหพันธ์ของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ หรือตามคาร้องขอของ
นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ หรือของประธานาธิบดีสหพันธ์ รัฐมนตรีสหพันธ์มีความผูกพันที่จะต้องปฏิบัติงานในตาแหน่งรัฐมนตรี
ต่อไปจนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งแทน

หมวด ๗
อานาจนิติบัญญัติของสหพันธ์
มาตรา ๗๐ ๑) มลรัฐทรงอานาจนิติบัญญัติเท่าที่กฎหมายหลักไม่ได้บัญญัติให้เป็นอานาจนิติบัญญัติของ
สหพันธ์
๒) การแบ่งอานาจระหว่างสหพันธ์และมลรัฐให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายหลักนี้ที่
เกี่ยวกับอานาจนิติบัญญัติโดยเฉพาะและอานาจนิติบัญญัติร่วมกัน
มาตรา ๗๑ ในเรื่องที่อยู่ในอานาจนิติบัญญัติเฉพาะของสหพันธ์มลรัฐจะมีอานาจออกกฎหมายก็แต่เฉพาะและ
ภายในขอบเขตที่กฎหมายสหพันธ์กาหนดไว้อย่างชัดเจน
มาตรา ๗๒ ๑) ในเรื่องที่อยู่ในอานาจนิติบัญญัติร่วมกันนั้น มลรัฐจะมีอานาจออกกฎหมาย ก็แต่เฉพาะและ
ภายในขอบเขตที่สหพันธ์ไม่ใช้อานาจนิติบัญญัติของตน
๒) สหพันธ์มีสิทธิที่จะออกกฎหมายในเรื่องเหล่านี้ภายในขอบเขตที่จาเป็นจะต้องมีกฎหมายของ
สหพันธ์เพราะว่า
๑. เรื่องที่กฎหมายของแต่ละมลรัฐ ไม่อาจบัญญัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือ
๒. เกี่ย วกับเรื่องที่กฎหมายของมลรัฐ หนึ่ง อาจกระทบกระเทือนผลประโยชน์
ของมลรัฐอื่นหรือประเทศชาติเป็นส่วนรวม หรือ
๓. การธารงรักษาไว้ซึ่งเอกภาพทางการเมือง หรือเอกภาพทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งความจาเป็นที่ต้องมีการรักษาไว้ซึ่งความเหมือนกันของสภาพความเป็นอยู่
นอกเขตแดนของมลรัฐหนึ่ง
มาตรา ๗๓ สหพันธ์มีอานาจเฉพาะที่จะออกกฎหมายในเรื่องต่อไปนี้
๑. การต่า งประเทศและการป้องกัน ประเทศ รวมทั้งการรับราชการทหารของชายอายุ
๑๘ ปีขึ้นไปและการคุ้มครองประชาชนพลเรือน
๒. สัญชาติของสหพันธ์
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany
Book inter germany

Contenu connexe

Similaire à Book inter germany (8)

กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Au01
Au01Au01
Au01
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
พรบ.ข้อมูลข่าวสาร 2540
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 

Plus de Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
Nanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
Nanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
Nanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
Nanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
Nanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
Nanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
Nanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
Nanthapong Sornkaew
 

Plus de Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
V2011 4
V2011 4V2011 4
V2011 4
 
V2011 3
V2011 3V2011 3
V2011 3
 
V2011 2
V2011 2V2011 2
V2011 2
 

Book inter germany

  • 1. รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน แปลจาก The Basic Law of the Federal Republic of Germany (revised edition : 31 December 1961) by German Information Center 410 Park Avenue, New York 22, New York
  • 2. สารบาญ หน้า คาปรารภ ๑๙ หมวด ๑ สิทธิมูลฐาน ๒๐ หมวด ๒ สหพันธรัฐและมลรัฐ ๒๓ หมวด ๓ สภาบุนเดสตัก ๒๖ หมวด ๔ สภาบุนเดสรัต ๒๘ หมวด ๕ ประธานาธิบดีสหพันธ์ ๒๙ หมวด ๖ รัฐบาลสหพันธ์ ๓๑ หมวด ๗ อานาจนิติบัญญัติของสหพันธ์ ๓๒ หมวด ๘ การรักษากฎหมายสหพันธ์และการบริหารสหพันธ์ ๓๖ หมวด ๙ การบริหารงานตุลาการ ๓๙ หมวด ๑๐ การคลัง ๔๒ หมวด ๑๑ บทเฉพาะกาลและบทสุดท้าย ๔๕
  • 3. รัฐธรรมนูญสหพันธ์สาธาณรัฐเยอรมัน คาปรารภ ชนชาวเยอรมันในมลรัฐบาเดน บาวาเรีย เบรเมน ฮัมบวก โลเวอร์ – แซกโซนี นอร์ธไรน์ – เวสต์ฟาเลีย ไรน์ลันด์ – พาลาตินาเต ชเลสวิก – โฮลสไตน์ วูร์ตเตมแบรก์ – บาเดน และวูร์ตเตมแบร์ก – โฮ – เฮ็นซอลเลิน ด้วยความสานึกในความรับผิดชอบของตนต่อพระเจ้าและมนุษยชน ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะพิทักษ์เอกภาพแห่งชาติ และเอกภาพทางการเมือง และเพื่อส่งเสริมสันติภาพของโลกใน ฐานะเป็นสมาชิกที่มีความเสมอภาคกับรัฐอื่นในยุโรปที่รวมกัน ด้วยความมุ่งมาดปรารถนาที่จะให้แนวทางใหม่แก่ชีวิตการเมืองภายในระยะเวลาชั่วคราว โดยอาศัยอานาจของ อานาจร่างรัฐธรรมนูญ จึงได้ประกาศใช้กฎหมายหลักของสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมันฉบับนี้ ชนชาวเยอรมันได้ประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ในนามของชนชาวเยอรมันผู้ที่ไม่สามารถร่วมร่างรัฐธรรมนูญได้ ชนชาวเยอรมันทั้งมวลร่วมแรงร่วมใจเพื่อที่จะให้ได้มาซึ่งเอกภาพและเสรีภาพของเยอรมัน โดยการตัดสินใจของ ตนเองอย่างเสรี
  • 4. หมวด ๑ สิทธิมลฐาน ู มาตรา ๑ ๑) เกียรติภูมิของมนุษย์จะละเมิดมิได้ เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ทั้งมวลของรัฐที่จะต้องเคารพ และปกป้องเกียรติของมนุษย์ ๒) ชนชาวเยอรมันยอมรับว่า สิทธิมนุษยชนที่จะละเมิดไม่ได้และที่จะโอนไม่ได้นั้น เป็นพื้นฐาน ของทุกประชาคมของสันติภาพและของความยุติธรรมในโลก ๓) ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และฝ่ายตุลาการพึงเคารพสิทธิมูลฐานทั้งมวลดังต่อไปนี้ เสมือน หนึ่งเป็นกฎหมายที่ใช้บังคับได้ มาตรา ๒ ๑) บุคคลมีสิทธิที่จะพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองได้โดยเสรี ตราบใดที่ไม่เป็นการละเมิดสิทธิของ บุคคลอื่นหรือละเมิดระบอบรัฐธรรมนูญ หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน ๒) บุคคลมีสิ ทธิในชีวิตและสิ ทธิ ในร่างกายของตนที่จะละเมิดมิได้ เสรีภาพของบุคคลจะถูก ละเมิดมิได้ การกาจัดสิทธิดังกล่าวจะกระทาได้ก็แต่โดยอาศัยอานาจแห่งกฎหมาย มาตรา ๓ ๑) บุคคลย่อมเสมอภาคกันในกฎหมาย ๒) ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน ๓) บุค คลจะถูก รอนสิท ธิ หรือ มีอ ภิสิท ธิ์ โ ดยเหตุข องเพศ บิด ามารดา เชื้อ ชาติ ภาษา บ้านเกิดเมืองนอน และแหล่งกาเนิด ศาสนา หรือความเห็นในเรื่องศาสนาหรือความเห็นทางการเมืองไม่ได้ มาตรา ๔ ๑) เสรีภาพในการนับถือศาสนาและมโนธรรม และเสรีภาพในการนับถือนิกายศาสนา หรือหลัก ปรัชญาจะถูกละเมิดมิได้ ๒) การประกอบพิธีกรรมทางศาสนาโดยไม่ถูกรบกวนย่อมได้รับความคุ้มครอง ๓) จะมีการบังคับให้บุคคลเป็นทหารกองกาลังรบที่ขัดต่อมโนธรรมของเขาไม่ได้ รายละเอียดใน เรื่องนี้ให้บัญญัติไว้ในกฎหมายของสหพันธรัฐ มาตรา ๕ ๑) บุคคลมีสิทธิที่จะแสดงออกและโฆษณาโดยเสรี ซึ่งความเห็นของตนโดยการพูด การเขียน และรูปภาพ และมีสิทธิโดยเสรีที่จะแสวงหาข่าวสารให้แก่ตนเองจากแหล่งข่าวสาธารณะ เสรีภาพในการพิมพ์ และเสรีภาพใน การรายงานข่าวโดยวิทยุกระจายเสียง และโดยสิทธิในเกียรติยศส่วนตัวจะละเมิดมิได้ ๒) สิทธิดังกล่าวย่อมถูกจากัดโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายทั่วไป โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย เพื่อคุ้มครองเยาวชน และโดยสิทธิในเกียรติยศส่วนตัวจะละเมิดมิได้ ๓) ศิลปะและวิทยาศาสตร์ การวิจัยและการสอนมีความเป็นอิสระ เสรีภาพในการสอนไม่ทาให้ บุคคลพ้นจากการเคารพรัฐธรรมนูญ มาตรา ๖ ๑) การแต่งงานและครอบครัวได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษจากรัฐ ๒) การอบรมและเลี้ยงดูบุตรเป็นสิทธิตามธรรมชาติของบิดามารดา และเป็นภาระหน้าที่ของ บิดามารดา รัฐพึงให้ความสนใจแก่การปฏิบัติภาระหน้าที่นี้ ๓) การแยกเด็กออกจากครอบครัวโดยปราศจากการยินยอมของบุ คคลผู้มีสิทธิเลี้ยงดูเด็กจะ กระทาได้ก็โดยอาศัยอานาจแห่งกฎหมาย และในกรณีที่ มีสิทธิไม่ปฏิบัติภาระหน้าที่ของตนหรือในกรณีที่เด็กอาจถูกทอดทิ้ง หากรัฐไม่แยกเด็กออกจากครอบครัว
  • 5. - ๒๑ - ๔) มารดาทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองและความดูแลจากประชาคม ๕) บุตรนอกกฎหมายพึงได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมายเพื่อที่จะให้มีโอกาศเท่าเทียมกับบุตร ชอบด้วยกฎหมายในการพัฒนาร่างกายและจิตใจ และในการมีฐานะทางสังคม มาตรา ๗ ๑) ระบบการศึกษาทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบคุมของรัฐ ๒) บุคคลผู้มีหน้าที่เลี้ยงดูเด็กมีสิทธิที่จะตัดสินใจว่าเด็กควรจะรับการอบรมทางศาสนาหรือไม่ ๓) การอบรมทางศาสนาเป็นส่วนหนึ่งของหลักสูตรปกติในโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเทศบาล ยกเว้นโรงเรียนที่ไม่ใช่โรงเรียนศาสนา โดยที่ไม่เป็นการโอนสิทธิของรัฐในการควบคุมให้การอบรมทางศาสนาดาเนินไปตามความ ประสงค์ของประชาคมทางศาสนา การให้ครูคนใดคนหนึ่งฝึกอบรมทางศาสนาโดยไม่สมัครใจจะกระทาไม่ได้ ๔) สิ ทธิที่จะตั้งโรงเรียนราษฎร์ได้ รับการคุ้มครอง โรงเรียนราษฎร์ในฐานะที่เป็นสถาบันให้ การศึกษาแทนโรงเรียนรัฐบาลและโรงเรียนเทศบาล จะต้องได้รับอนุญาตจากรัฐ และจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายของมลรัฐ การ ไม่อนุ ญาตให้จัดตั้งจะกระทาไม่ได้ หากโรงเรียนราษฎร์ไม่ต่ากว่าโรงเรียนรัฐบาลหรื อโรงเรียนเทศบาลในจุดมุ่ งหมายของ การศึกษา สิ่งอานวยความสะดวก และคุณวุฒิของครู และไม่มีการส่งเสริมการแยกนักเรียนตามฐานะของบิดามารดา การไม่ อนุญาตให้กระทาได้เมื่อฐานะทางเศรษฐกิจและกฎหมายของครูไม่ได้รับการค้าประกันเพียงพอ ๕) การอนุ ญาตให้ จั ดตั้ งโรงเรี ยนราษฏร์ ชั้นประถมจะกระทาได้ก็ แต่ ก รณีที่ จัดตั้งเจ้ าหน้าที่ ศึกษาธิการเห็นว่า การอนุญาตให้จัดตั้งโรงเรียนดังกล่าวเป็นประโยชน์พิเศษต่อการศึกษา หรือตามคาร้องขอของผู้ที่มีหน้าที่ เลี้ยงดูเด็ก ขอให้ตั้งโรงเรียนดังกล่าวขึ้นเป็นโรงเรียนหลายนิกาย หรือนิกายเดียว หรือสอนศาสนาและไม่มีโรงเรียนรัฐบาลหรือ โรงเรียนเทศบาลประเภทนี้ตั้งอยู่ในประชาคมนั้น ๖) ให้ยุบโรงเรียนเตรียมอุดม มาตรา ๘ ๑) ชนชาวเยอรมันมีสิทธิในการชุมนุมกันโดยสงบ และปราศจากอาวุธโดยไม่ต้องแจ้งล่วงหน้า หรือได้รับอนุญาต ๒) การกาจัดสิทธิดังกล่าวจะกระทาได้ก็แต่โดยอาศัยอานาจแห่งกฎหมายเฉพาะที่เกี่ยวกับการ ชุมนุม มาตรา ๙ ๑) ชนชาวเยอรมันมีสิทธิที่จะรวมกันเป็นสมาคมและสโมสร ๒) ห้ ามมิให้ ตั้ งสมาคมที่มีวั ตถุ ประสงค์ หรือกิจกรรมที่ ขัดต่อกฎหมายอาญา หรื อที่ มุ่งเป็ น ปฏิปักษ์ต่อระบอบรัฐธรรมนูญ หรือหลักการแห่งความเข้าใจระหว่างประเทศ ๓) สิทธิของบุคคลที่จะรวมกันจัดตั้งสมาคมเพื่อพิทักษ์ และปรับปรุงสภาพการทางาน และ สภาวเศรษฐกิจย่อมได้รับการคุ้มครองข้อตกลงที่จากัดหรือขัดขวางสิทธินี้ย่อมเป็นโมฆะใช้บังคับไม่ได้ มาตรการใด ๆ เพื่อให้มี ข้อตกลงดังกล่าว ย่อมไม่ชอบด้วยกฎหมาย มาตรา ๑๐ ความลับของจดหมาย และความลับของไปรษณีย์ และโทรคมนาคมเป็นสิ่งที่จะละเมิดมิได้ การ จากัดจะกระทาได้ก็แต่โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย มาตรา ๑๑ ๑) ชนชาวเยอรมันมีเสรีภาพที่จะมีภูมิลาเนาภายในอาณาเขตของสหพันธรัฐ ๒) การจากัดสิทธิดังกล่าวจะกระทาได้ก็แต่โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และเฉพาะกรณีที่มีการ ขาดแคลนสิ่งจาเป็นเพื่อมีชีวิตอยู่ได้ และด้วยเหตุดังกล่าวจะเป็นภาระหนักแก่ประชาคม หรือการจากัดมีความจาเป็นเพื่อ คุ้มครองเยาวชนให้พ้นจากการทอดทิ้ง เพื่อปราบปรามโรคระบาดหรือเพื่อป้องกันอาชญากรรม มาตรา ๑๒ ๑) ชนชาวเยอรมัน มีสิท ธิโ ดยเสรีที่จ ะเลือ กอาชีพ หรือ วิช าชีพ ที่ทางาน และที่รับ ก าร ฝึกอบรม การควบคุมวิชาชีพให้กระทาได้โดยบทบัญญัติแห่งกฎหมาย
  • 6. - ๒๒ - ๒) บุค คลจะไม่ถูกบัง คับ ให้ทางานอย่า งใดอย่า งหนึ่ง เว้น แต่ภ ายในขอบเขตของบริก าร สาธารณะที่เป็นการบังคับตามประเพณีที่ใช้สาหรับทุกคนโดยทั่วไปและโดยเสมอภาค บุคคลที่ไม่อาจปฏิบัติการรบที่ ใช้อ าวุธ ต้องทาหน้า ที่บ ริก ารอื่น แทน การทาหน้าที่อื่นแทนนี้จะมีระยะเวลายาวกว่าระยะที่ต้อ งเป็นทหารไม่ได้ ให้ กาหนดรายละเอีย ดไว้ในกฎหมายซึ่งจะต้องไม่เป็นการละเมิดสิทธิในมโนธรรม และจะต้องมีบทบัญญัติที่ให้โ อกาส ปฏิบัติภายในหน่วยอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยใดของกองทัพได้ด้วย ๓) สตรีไ ม่ต้อ งรับ ราชการทหารตามกฎหมายไม่ว่า จะเป็น หน่ว ยทหารใด ไม่ว่า จะโดย เหตุผลใดก็ตามจะให้สตรีทางานในหน่วยงานใดที่ต้องใช้อาวุธไม่ได้ ๔) การเกณฑ์แรงงานจะกระทาได้ก็แต่ในกรณีที่บุคคลถูกลิดรอนเสรีภาพโดยคาพิพากษาของศาล มาตรา ๑๓ ๑) เคหสถานจะถูกละเมิดมิได้ ๒) การค้น เคหสถานจะกระทาได้ก็แ ต่โ ดยคาสั่ง ของผู้พิพากษา หรือหากมีก ารล่า ช้า ใน การค้นอาจจะเกิดอันตรายขึ้นได้ จะกระทาได้ก็แต่โดยองค์กรอื่นที่กาหนดไว้ในกฎหมายและการค้นจะต้องกระทาใน ลักษณะที่กฎหมายบัญญัติไว้เท่านั้น ๓) นอกจากนี ้ การละเมิด มิไ ด้อ าจถูก เลิก หรือ ถูก จากัด เฉพาะเพื่อ หลีก เลี ่ย งภัย พิบัติ สาธารณะ หรือภัยที่เป็น อัน ตรายต่อชีวิตของบุคคล หรือโดยบทบัญญัติแห่งกฎหมายเพื่อป้องกันภยันอันตรายอันมี มาเป็นการฉุกเฉินต่อความมั่นคงสาธารณะ และความสงบเรียบร้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อบรรเทาการขาดแคลนที่ อยู่อาศัย เพื่อการปราบปรามโรคติดต่อหรือ คุ้มครองเยาวชนที่ตกอยู่ในภยันอันตราย มาตรา ๑๔ ๑) สิท ธิใ นทรัพ ย์ส ิน และสิท ธิใ นการรับ มรดก ย่อ มได้ร ับ ความคุ ้ม ครอง สภาพและ ขอบเขตของสิทธิให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ๒) การมีทรัพย์สินย่อมมีหน้าที่ด้วย การใช้ทรัพย์สินควรจะกระทาในลักษณะเพื่อส่วนรวม ๓) การเวนคืน จะกระทาได้ก็แต่เพื่อส่ว นรวม การเวนคืนจะกระทาได้ก็แต่โ ดยกฎหมาย ใช้อานาจกระทาได้ หรืออาศัยอานาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ซึ่งบัญญัติถึงลักษณะ และขอบเขตค่าชดเชยด้ว ย การกาหนดค่าชดเชยนั้น ให้คานึงถึงผลประโยชน์ส าธารณะ และผลประโยชน์ของผู้เสียหาย ในกรณีที่ไม่อาจตกลง กันในเรื่องค่าชดเชยให้ฟ้องร้องต่อศาลยุติธรรมได้ มาตรา ๑๕ เพื่อประโยชน์ร่วมกันของสังคม การโอนที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติ และปัจจัยในการผลิต ของเอกชนมาเป็น ของรัฐ หรือ ในลัก ษณะอื่น ที่เ ป็น เศรษฐกิจ ที่รัฐ ควบคุม จะกระทาได้ก็แ ต่โ ดยบทบัญ ญัติแ ห่ง กฎหมายที่บัญญัติถึงประเภท และขอบเขตของค่าทาขวัญไว้ สาหรับค่าทาขวัญนั้นให้นาบทบัญญัติมาตรา ๑๔ วรรค ๓ ประโยคที่ ๓ และ ๔ มาใช้โดยอนุโลม มาตรา ๑๖ ๑) บุค คลจะถูก ถอดถอนสัญ ชาติเ ยอรมัน ไม่ไ ด้ การสูญ เสีย สัญ ชาติต้อ งเป็น ไปตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมาย และหากผู้ที่ถูกกระทบกระเทือนไม่ยินยอมแล้ว จะกระทาได้ ก็แต่ในกรณีที่บุคคลนั้นจะไม่ เป็นคนไร้สัญชาติเท่านั้น ๒) การเนรเทศผู้มีสัญ ชาติเ ยอรมันจะทาไม่ไ ด้ บุคคลผู้ต้อ งโทษโดยเหตุท างการเมือ งมี สิทธิลี้ภัย มาตรา ๑๗ บุค คลคนเดีย วหรือ หลายคนรวมกัน มีสิท ธิเ สนอคาร้อ งเรีย นเป็น ลายลัก ษณ์อัก ษร หรือ เรื่องราวร้องทุกข์ต่อพนักงานเจ้ าหน้าที่และต่อสภาผู้แทน มาตรา ๑๗ ก. ๑) กฎหมายว่า ด้ว ยการรับ ราชการทหารและการรับ ราชการอื่น แทนราชการทหาร เฉพาะบทบัญญัติที่ใช้บัง คับ แก่ผู้รับ ราชการทหารและผู้รับราชการอื่น แทนราชการทหาร ในระหว่า งที่รับ ราชการ ทหารหรือ รับ ราชการอื ่น แทนราชการทหารอาจบัญ ญัต ิจ ากัด สิท ธิม ู ล ฐานในการแสดงออกหรือ การโฆษณา ความเห็นโดยการพูด การเขีย น และรูป ภาพ ( มาตรา ๕ วรรค (๑) ครึ่งประโยคที่ห นึ่ง ) สิทธิมูล ฐานในการชุมนุม
  • 7. - ๒๓ - ( มาตรา ๘ ) และสิทธิในการยื่น เรื่อ งราวร้องทุก ข์ ( มาตรา ๑๗ ) เฉพาะส่ว นที่อ นุญ าตให้ยื่น คาร้อ งขอหรือ เสนอ เรื่องราวร้องทุกข์ร่วมกับ บุคคลอื่นเท่านั้น ๒) กฎหมายเกี่ยวกับการป้องกันประเทศรวมทั้งการคุ้มครองประชาชนพลเรือน อาจมีบัญญัติ กาจัดสิทธิมูลฐานในการมีภูมิลาเนา ( มาตรา ๑๑ ) และการละเมิดมิได้ของเคหสถาน ( มาตรา ๑๓ ) ได้ มาตรา ๑๘ บุคคลผู้ที่ใช้อย่างเกินขอบเขตซึ่งเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับเสรีภาพใน การพิมพ์ ( มาตรา ๕ วรรค ๒ ) เสรีภาพในการสอน ( มาตรา ๕ วรรค ๓ ) เสรีภาพในการชุมชุม ( มาตรา ๘ ) เสรีภาพในการ รวมกันเป็นสมาคม ( มาตรา ๙ ) ความลับของจดหมายไปรษณีย์ และโทรเลข ( มาตรา ๑๐ ) สิทธิทรัพย์สิน ( มาตรา ๑๔ ) หรือ สิทธิในการลี้ภัย ( มาตรา ๑๖ วรรค ๒ ) เพื่อที่จะโจมตีระบอบประชาธิปไตยเสรีแล้วจะต้องถูกรอนสิทธิเสรีภาพทั้งหมด การรอน สิทธิเสรีภาพ และขอบเขตของการรอนให้เป็นไปตามคาพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญสหพันธรัฐ มาตรา ๑๙ ๑) ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับนี้ การจากัดสิทธิมูลฐานจะกระทาได้ก็แต่โดยบทบัญญัติของกฎหมาย อาศัยอานาจตามกฎหมายเฉพาะกฎหมายนั้นจะต้องใช้ได้กับทุกคนเป็นการทั่วไป และจะใช้กับกรณีใดกรณีหนึ่งโดยเฉพาะไม่ได้ เพื่อประโยชน์ดังกล่าวกฎหมายจะต้องบัญญัติถึงสิทธิมูลฐานที่ถูกจากัดรวมทั้งมาตราของสิทธิมูลฐานนั้นด้วย ๒) ไม่ว่ากรณีจะเป็นอย่างไรก็ตาม ห้ามจากัดสารสาคัญของสิทธิมูลฐาน ๓) สิทธิมูลฐานย่อมมีผลบังคับถึงบรรดาองค์การที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายมหาชนเยอรมัน เท่าที่ สภาพของสิทธินั้นจะอานวย ๔) หากหน่วยราชการละเมิดสิทธิของบุคคล บุคคลย่อมมีสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลยุติธรรมได้ หากศาลอื่นไม่มีอานาจพิจารณาพิพากษาให้เป็นอานาจของศาลธรรมดาที่มีอยู่ตามกฎหมายที่จะพิจารณาพิพากษา หมวด ๒ สหพันธรัฐและมลรัฐ มาตรา ๒๐ ๑) สหพันธสาธารณรัฐเยอรมันเป็นรัฐประชาธิปไตยและสหพันธรัฐสังคม ๒) บรรดาอานาจของรัฐ มาจากปวงชน ปวงชนใช้อานาจดังกล่า วโดยการเลือกตั้ง และ การออกเสีย งเลือ กตั้ง และโดยการมีอ งค์ก รนิติบัญ ญัติ องค์ก รบริห าร และองค์ก รตุล าการ แยกเป็น สัด ส่ว นออก ต่างหากจากกัน ๓) กฎหมายย่อ มอยู่ภ ายใต้ระบอบรัฐ ธรรมนูญ ฝ่า ยบริห ารและฝ่ายตุล าการอยู่ภ ายใต้ กฎหมาย มาตรา ๒๑ ๑) พรรคการเมือ งมีส่ว นในการก่อ ตัว ของเจตนารมณ์ทางการเมือ งของปวงชน การตั้ง พรรคการเมืองย่อมกระทาได้โดยเสรี องค์การของพรรคต้องสอดคล้องกับหลักการประชาธิปไตย พรรคต้องเปิดเผย แหล่งที่มาของเงินของพรรคให้ประชาชนทราบ ๒) ไม่ว่าจะด้ว ยเหตุผ ลทางวัตถุประสงค์ห รือความประพฤติของสมาชิกของพรรคก็ตาม พรรคการเมือ งที ่มุ ่ง ขัด ขวางหรือ ทาลายระบอบประชาธิป ไตยเสรี ห รือ เป็น ภัย ต่อ การด ารงคงอยู ่ข องสหพัน ธ์ สาธารณรัฐเยอรมันเป็นพรรคการเมืองที่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์มีอานาจพิจารณาพิพากษาปัญหา การขัดต่อรัฐธรรมนูญ ๓) รายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้บัญญัติไว้ในกฎหมายสหพันธ์ มาตรา ๒๒ ธงชาติของสหพันธรัฐมีสีดา สีแดง สีทอง
  • 8. - ๒๔ - มาตรา ๒๓ ในขณะนี้กฎหมายหลักฉบับนี้ใช้ บังคั บได้แต่เฉพาะในเขตของมลรัฐบาเดน บาวาเรีย เบรเมน มารตเตอร์ เบอร์ลิน ฮัมบวก เฮล โลเวอร์ – แซกโซนี นอร์ธไรน์ – เวสฟาเลีย ไรน์ลันด์ – พาลาตินาเต ชเลสวิก – โฮลสไตน์ วูร์ตเตมแบร์ก – บาเดน และวูร์ตเตมแบร์ก – โฮเฮ็น – ซอลเลิน ในส่วนอื่นของเยอรมัน กฎหมายหลักจะใช้บังคับเมื่อกลายเป็น ส่วนหนึ่งของสหพันธรัฐ มาตรา ๒๔ ๑) สหพั นธ์ อาจมอบอ านาจอธิ ปไตยให้ แก่ องค์ การระหว่ างประเทศได้ โดยบทบั ญญั ติ แห่ ง กฎหมาย ๒) เพื่อประโยชน์ ในการดารงรักษาไว้ซึ่งสั นติภาพ สหพันธ์อาจเข้าร่วมในระบบความมั่นคง ร่วมกันได้ ในการเข้าร่วมนั้น สหพันธ์ยอมรับข้อจากัดอานาจอธิปไตยของตนเท่าที่จะเป็นผลให้บังเกิด และให้ได้มาซึ่งความ มั่นคงโดยสันติและถาวรในยุโรป และระหว่างนานาชาติของโลก ๓) เพื่อระงับข้ อพิ พาทระหว่ างนานาชาติ สหพันธ์อาจเป็นภาคี แห่ งข้ อตกลงเกี่ ยวกั บ ระบบ อนุญาโตตุลาการระหว่างประเทศที่มีลักษณ์ทั่วไป กว้างขวาง และมีผลผูกพัน มาตรา ๒๕ หลักทั่วไปของกฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดี เมืองเป็นส่วนหนึ่ งของกฎหมายของสหพันธ์ กฎหมายดังกล่าวมีผลบังคับสูงกว่ากฎหมายของสหพันธ์และก่อให้เกิดสิทธิและหน้าที่สาหรับพลเมืองในเขตแดนของสหพันธ์ มาตรา ๒๖ ๑) กิจกรรมที่กาลั งดาเนินอยู่ได้ดาเนินแล้วด้วยความตั้งใจที่จะก่อกวนสัมพันธภาพโดยสันติ ระหว่างนานาชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งเพื่อเตรียมการทาสงครามรุกราน เป็นกิจกรรมที่ขัดแย้งต่อรัฐธรรมนูญ กิจกรรมดังกล่าวพึง มีโทษอาญาตามกฎหมาย ๒) การผลิต การขนส่งหรือการซื้อขายอาวุธที่สร้างขึ้นเพื่อสงครามจะกระทาได้ก็แต่โดยการ อนุญาตของรัฐบาลสหพันธ์ รายละเอียดให้เป็นไปตามกฎหมาย มาตรา ๒๗ เรือเดินสมุทรพาณิชย์ทั้งมวลของเยอรมันเป็นกองเรือเดียวกัน มาตรา ๒๘ ๑) ระบอบรัฐธรรมนูญในมลรัฐพึงสอดคล้องกับหลักสาธารณรัฐ รัฐบาลประชาธิปไตย และสังคม บนรากฐานของการปกครอง โดยกฎหมายตามความหมายของกฎหมายหลักนี้ในทุกมลรัฐ และประชาคมทั้งหลาย ประชาชนมี สิทธิมีสภาผู้แทนที่ได้รับเลือก การเลือกตั้งทั่วไปโดยตรง เสรี เสมอภาค และลับ ในประชาคม สภาประชาคมทาหน้าที่เป็น องค์การที่ได้รับเลือกตั้ง ๒) ประชาคมย่อมได้รับความคุ้มครองในสิทธิที่จะควบคุมกิจการที่อยู่ในความรับผิดชอบของ ประชาคมท้องถิ่นภายในขอบเขตแห่งกฎหมาย สมาคมของประชาคมมีสิทธิปกครองตนเองตามบทบัญญัติของกฎหมายภายใน ขอบเขตของอานาจอานาจหน้าที่ที่กฎหมายกาหนดไว้เป็นของการรวมกันของประชาคม ๓) สหพั น ธรั ฐพึ งประกั นว่ า ระบอบรั ฐ ธรรมนู ญของมลรั ฐสอดคล้ องกั บสิ ทธิ มู ลฐานและ บทบัญญัติวรรค (๑) และ (๒) ของมาตรานี้ มาตรา ๒๙ ๑) การปรับปรุงดินแดนของสหพันธรัฐจะกระทาได้ก็แต่โดยการคานึงถึงความผูกพันภูมิภาค ความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ความเหมาะสมทางเศรษฐกิจ และโครงร่ างสังคม การปรับปรุ งดินแดนพึง ก่อให้เกิดมลรัฐที่สามารถปฏิบัติหน้าที่ที่อยู่ในความรับผิดชอบของมลรัฐได้อย่างมีประสิทธิภาพเมื่อคานึงถึงขนาดของดินแดน และความสามารถ ๒) ภายหลังที่ได้มีการปรับปรุงเขตแดนของมลรัฐหลังจากวันที่ ๘ พฤษภาคม ๑๙๔๕ แล้ว เขตแดนใดที่กลายเป็นส่วนหนึ่งของมลรัฐอื่นโดยไม่มีการออกเสียงประชาพินิจแล้ว ประชาชนอาจขอให้มีการเปลี่ยนแปลง เส้นเขตแดนได้ภายในเวลา ๑ ปี นับตั้งแต่วันประกาศใช้กฎหมายหลักฉบับนี้ คาเสนอขอดังกล่าวต้องมีจานวนประชาชน ๑ เห็นชอบด้วยไม่ต่ากว่า ๑ / ๑๐ ของจานวนผู้มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งทั้งหมดในการเลือกตั้งสมาชิกสภาลันด์ หากคาเสนอ ๑ สภาลันด์ คือสภามลรัฐ (Landtag)
  • 9. - ๒๕ - ได้รับความเห็นชอบด้วยจานวนคะแนนดังกล่าวแล้ว รัฐบาลสหพันธ์ต้องบัญญัติไว้ในกฎหมายปรับปรุงเขตแดนว่าเขตแดน ใดอยู่ในอาณาเขตของมลรัฐใด ๓) เมื่อได้มีการออกกฎหมายแล้ว จะต้องเสนอบทบัญญัติ ของกฎหมายที่กาหนดให้โอน ดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของมลรัฐหลังไปให้เป็นดินแดนของอีกมลรัฐหนึ่งให้ประชาชนในดินแดนนั้นออกเสียงประชามติ หากมีคะแนนเสียงสนับสนุนตามที่ ๒ แล้วให้จัดให้มีการออกเสียงประชามติในดินแดนที่เกี่ยวข้องไม่ว่ากรณีจะเป็นอย่างไร ก็ตาม ๔) เมื่ อ กฎหมายไม่ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น แม้ แ ต่ เ พี ย งดิ น แดนเดี ย ว ให้ น ากฎหมายนั้ น เข้ า พิจารณาในที่ประชุมสภาบุนเดสตักอีกครั้งหนึ่ง เมื่อสภาบุนเดสตักอนุมัติกฎหมายนั้นอีกครั้งหนึ่งแล้ว ให้นากฎหมาย ดังกล่าวเสนอให้ประชาชนออกเสียงประชามติทั่วประเทศ ๕) ในการออกเสียงประชามติ ให้ถือเอาคะแนนเสียงส่วนมากของจานวนผู้มาลงคะแนนเสียง เป็นเกณฑ์ ๖) วิธีการให้เป็นไปตามกฎหมายสหพันธ์การปรับปรุงเขตแดนให้ดาเนินการให้เสร็จภายใน ๓ ปี นับ ตั้งแต่ป ระกาศใช้กฎหมายหลักนี้ และหากจาเป็นภายใน ๒ ปี นับตั้งแต่ได้มีการรวมเอาดินแดนส่ว นอื่นของ เยอรมันเข้ารวมกับประเทศเยอรมันที่มีอยู่ในปัจจุบัน ๗) วิธีการเปลี่ยนเขตแดนในลักษณะอื่นของมลรัฐให้เป็นไปตามกฎหมายสหพันธ์ซึ่งสภาบุน เดสตักให้ความเห็นชอบด้วยเสียงข้างมากของสภาบุนเดสตักเห็นชอบด้วย มาตรา ๓๐ การใช้อานาจปกครองและการปฏิบัติหน้าที่ปกครองเป็นของมลรัฐเว้นแต่กฎหมายหลักจะ กาหนดไว้เป็นอย่างอื่นหรืออนุญาตไว้ มาตรา ๓๑ กฎหมายของสหพันธ์สูงกว่ากฎหมายของมลรัฐ มาตรา ๓๒ ๑) การปฏิบัติงานด้านความสัมพันธ์กับรัฐต่างประเทศเป็นอานาจหน้าที่ของสหพันธ์ ๒) ก่อนที่จะลงนามในสัญญาที่กระทบกระเทือนประโยชน์พิเศษของมลรัฐใด ให้ติดต่อขอ ความเห็นของมลรัฐที่เกี่ยวข้องภายในระยะเวลาพอเพียง ๓) เมื่อมลรัฐใดมีอานาจในการออกกฎหมายก็มีอานาจที่จะทาสัญญากับรัฐต่างประเทศได้ ด้วยความยินยอมของรัฐบาลสหพันธ์ มาตรา ๓๓ ๑) ชาวเยอรมันในทุกมลรัฐมีสิทธิและหน้าที่ของพลเมืองเหมือนกันหมด ๒) ชาวเยอรมั น มี ค วามเสมอภาคกั น ในการที่ จ ะได้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง ให้ ด ารงต าแหน่ ง ของ บ้านเมืองตามความเหมาะสมทางร่างกายและจิตใจ คุณสมบัติ และความสาเร็จในวิชาชีพ ๓) การมีสิ ทธิ ทางแพ่ง และสิ ทธิ ของพลเมือ ง การอาจได้รั บแต่ง ตั้ง ให้ ดารงตาแหน่ง ของ บ้านเมืองและสิทธิที่ได้มาจากการเป็นข้ารัฐการไม่เป็นผลของการนับถือนิกายศาสนา บุคคลจะเสียสิทธิอันควรมีควรได้โดย เหตุผลที่ได้นับถือ หรือไม่นับถือนิกายศาสนาหรือนิกายทางศาสนาไม่ได้ ๔) การใช้อานาจของรัฐในฐานะเป็นหน้าที่อันถาวรนั้น โดยหลักการทั่วไปแล้วให้เป็นอานาจ หน้าที่ของข้าราชการซึ่งมีสถานภาพความรับผิดชอบและความจงรักภักดีตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายมหาชน ๕) มาตรากฎหมายว่าด้วยข้าราชการให้คานึงถึงหลักการประเพณีที่ข้าราชการพลเรือนพึงมี ความมั่นคงในตาแหน่งหน้าที่ มาตรา ๓๔ ในการปฏิบัติหน้าที่ราขการที่ได้รับมอบหมายให้เป็นหน้าที่นั้น หากบุคคลใดละเมิดพันธะทาง ราชการต่อบุคคลที่สามโดยหลักการให้รัฐหรือหน่วยราชการที่ข้าราชการผู้นั้นสังกั ดเป็นผู้รับผิดชอบในกรณีที่มีข้าราชการ
  • 10. - ๒๖ - ปฏิบัติหน้าที่ด้วยเจตนาที่จะละเมิด หรือด้วยความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ผู้ที่ละเมิดจะฟ้องร้องหน่วยราชการที่ ข้าราชการผู้ละเมิดสังกัดอยู่ไม่ได้ ในส่วนที่เกี่ยวกับการร้องขอค่าชดเชยหรือสิทธิที่จะฟ้องร้องต่อศาลนั้น ศาลยุติ ธรรมที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายโดยปรกติมีอานาจพิจารณาพิพากษา มาตรา ๓๕ หน่วยงานของสหพันธ์และของมลรัฐต้องให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในด้านกฎหมายและ การบริหาร มาตรา ๓๖ ๑) ข้ า ราชการในหน่ ว ยงานระดั บ สู ง สุ ด ของรั ฐ บาลสหพั น ธ์ ต้ อ งมาจากมลรั ฐ ต่ า ง ๆ ใน อัตราส่วนอันเหมาะสม ข้าราชการผู้ที่ทางานในหน่วยงานของรัฐบาลสหพันธ์ต้องมาจากมลรัฐที่ข้ารัฐการผู้นั้นปฏิบัติหน้าที่ อยู่ ๒) กฎหมายว่าด้วยการทหารพึงคานึงถึงการแบ่งสหพันธรัฐออกเป็นมลรัฐและสภาพเชื้อชาติ ของมลรัฐด้วย มาตรา ๓๗ ๑) หากมลรัฐหนึ่งไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีแห่งลักษณะของสหพันธรัฐที่ บัญญัติไว้ในกฎหมาย หลักหรือกฎหมายอื่นใดของสหพันธ์ด้วยความยินยอมของสภาบุนเดสตัก รัฐบาลสหพันธ์อาจใช้มาตราการอันจาเป็น เพื่อให้มีการปฏิบัติตามพันธกรณีโดยมลรัฐที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีการบังคับของสหพันธ์ ๒) ในการดาเนินการบังคับของสหพันธ์นั้น รัฐของสหพันธ์หรือผู้ไ ด้รับมอบหมายมีสิทธิออก คาสั่งแก่เจ้าหน้าที่มลรัฐทั้งหมด หมวด ๓ สภาบุนเดสตัก (Bundestag) มาตรา ๓๘ ๑) สมาชิกของสภาบุนเดสตักเยอรมันได้รั บเลือกตั้ง ในการเลือกตั้งทั่ว ไป โดยตรง เสรี เสมอภาคกัน และลับ บรรดาสมาชิกแห่งสภานี้เป็นผู้แทนของปวงชนชาวเยอรมันทั้งมวล ไม่อยู่ในอาณัติมอบหมาย ใด ๆ และอยู่ใต้มโนธรรมของตนเองเท่านั้น ๒) ผู้ใดที่มีอายุ ๒๑ ปี มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้ง ผู้มีอายุ ๒๕ ปี มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง ๓) รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมายสหพันธ์ มาตรา ๓๙ ๑) สภาบุนเดสตักมีอายุคราวละ ๔ ปี อายุทางนิติบัญญัติของสภานี้สินสุดลง ๔ ปี ภายหลัง การประชุมครั้งแรกหรือเมื่อมีการยุบสภา ให้จัด ให้มีการเลือกตั้งครั้งใหม่ภายในระยะเวลาสามเดือนสุดท้ายของอายุสภา หรือภายในหกสิบวันหลังจากการยุบสภา ๒) สภาบุนเดสตักประชุมกันภายใน ๓๐ วัน ภายหลังการเลือกตั้ง แต่จะต้องไม่ประชุมกัน ก่อนการสิ้นอายุของสภาบุนเดสตักที่ยังไม่สิ้นอายุ ๓) สภาบุน เดสตัก กาหนดการปิด สมัย ประชุม และการขยายสมัย ประชุม ของตนเอง ประธานสภาบุน เดสตัก มีอานาจเรีย กประชุม สภาก่อ นกาหนดสมัย ประชุม ได้ ประธานสภาต้อ งเรีย กประชุม หาก สมาชิกไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๓ ของสมาชิกทั้งหมดของสภา ประธานาธิบดีสหพั นธ์หรือนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ร้องขอ มาตรา ๔๐ ๑) สภาบุ น เดสตักเลือกประธานสภา รองประธานสภา และเลขาธิการสภา สภาบัญญัติ ระเบียบข้อบังคับการประชุมของสภาได้ ๒) ประธานสภาใช้อานาจในฐานะเจ้าของเคหสถาน และอานาจตารวจในตึกสภาบุนเดสตัก ได้ การค้นหรือการจับกุมในสภาบุนเดสตักจะกระทามิได้ เว้นไว้แต่ประธานสภาอนุญาต
  • 11. - ๒๗ - มาตรา ๔๑ ๑) การสอบสวนการเลือกตั้งเป็นความรับผิดชอบของสภาบุนเดสตัก สภาเป็นผู้ตัดสินการ สิ้นสุดของสมาชิกสภาบุนเดสตักได้ ๒) การอุทธรณ์มติของสภาบุนเดสตักให้กระทาได้โดยยื่นอุทธรณ์ต่อศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ ๓) รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย มาตรา ๔๒ ๑) การประชุมสภาบุนเดสตักให้กระทาโดยเปิดเผย การประชุมลับจะกระทาได้โดยญัตติ สมาชิกสภาไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๓ ของสมาชิกทั้งหมด หรือโดยญัตติของรัฐบาลสหพันธ์ ซึ่งจะต้องมีคะแนนเสียงเห็นชอบด้วย ไม่ต่ากว่า ๒ ใน ๓ การลงคะแนนเสียงเกี่ยวกับญัตติให้ประชุมลับนี้ให้กระทาในที่ประชุมลับ ๒) มติของสภาบุนเดสตักจาเป็นต้องมีคะแนนเสียงเกินครึ่งหนึ่งของสมาชิกที่ออกคะแนนเสียง เว้นไว้แต่กฎหมายหลักนี้จะกาหนดไว้เป็นอย่างอื่น ระเบียบข้อบังคับการประชุมของสภาอาจกาหนดข้อยกเว้นไว้ที่เกี่ยวกับการ เลือกตั้งของสภาได้ ๓) รายงานการประชุมที่แท้จริงและถูกต้องของสภาในการประชุมโดยเปิดเผยของคณะเลขาธิการ ต่าง ๆ ไม่ก่อให้เกิดการรับผิดชอบใด ๆ เลย มาตรา ๔๓ ๑) สภาบุนเดสตักและคณะเลขาธิการอาจขอให้รัฐมนตรีผู้หนึ่งผู้ใดให้มาปรากฏตัวในที่ประชุมได้ ๒) สมาชิกของสภาบุนเดสตักและรัฐมนตรีในรัฐบาลสหพันธ์ รวมทั้งบุคคลผู้ได้รับมอบอานาจ จากสภาบุนเดสตักและรัฐบาลสหพันธ์มีสิทธิเข้าร่วมประชุมสภาบุนเดสตักและคณะกรรมาธิการของสภาบุนเดสตักได้ บุคคล ดังกล่าวมีสิทธิอภิปรายในที่ประชุมสภาบุนเดสตักและที่ประชุมคณะกรรมาธิการของสภาบุนเดสตักเมื่อใดก็ได้ มาตรา ๔๔ ๑) สภาบุ นเดสตั กมี สิ ทธิ และในเมื่ อสมาชิ กไม่ ต่ ากว่ า ๑ ใน ๑๐ เสนอญั ตติ ร้ องขอจั ดตั้ ง คณะกรรมาธิการสอบสวน ซึ่งจะรวบรวมหลักฐานที่ประสงค์ในการประชุมสอบสวน โดยเปิดเผยการประชุมลับอาจมีได้ ๒) ในการแสวงหาหลักฐานนั้นให้นาวิธีการพิจารณาคดีอาญามาใช้โดยอนุโลม ทั้งนี้จะต้องไม่ กระทบกระเทือนสิทธิเสรีภาพในการสื่อสารทางจดหมาย ไปรษณีย์หรือโทรคมนาคม ๓) เจ้าหน้าที่ฝ่ายศาลยุติธรรมและฝ่ายบริหารมีหน้าที่ต้องให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายและ ด้านบริหารแก่การสอบสวนของสภา ๔) ศาลยุติธรรมไม่มีอานาจตัดสินมติของคณะกรรมาธิการสอบสวน ศาลยุติธรรมมีความเป็น อิสระที่จะประเมินและตัดสินข้อเท็จจริงที่เป็นรากฐานของการสอบสวนนั้นได้ มาตรา ๔๕ ๑) สภาบุนเดสตักแต่งตั้งคณะกรรมาธิการสามัญคณะหนึ่งทาหน้าที่พิทักษ์รักษาสิทธิของ สภาบุน เดสตัก ในระหว่า งสภาปิด สมัย ประชุม เพื่อ มิใ ห้รัฐ บาลสหพัน ธ์ใ ช้อานาจของสภา คณะกรรมาธิก ารสามัญ ดังกล่าวนี้ มีอานาจเป็นคณะกรรมาธิการสอบสวนด้วย ๒) อานาจที่กว้างขวางยิ่งขึ้นเช่น สิทธิที่จะออกกฎหมายการเลือกตั้งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ และ การสอบสวนประธานาธิบดีสหพันธ์ในความผิดอย่างร้ายแรงไม่อยู่ในขอบเขตอานาจหน้าที่ของคณะกรรมาธิการสามัญ มาตรา ๔๕ ก. ๑) สภาบุ นเดสตั กจะได้ แต่งตั้งกรรมาธิ การกิ จการต่างประเทศ และคณะกรรมาธิการทหาร คณะกรรมาธิการทั้งสองคณะทาหน้าที่ในระหว่างสภาปิดสมัยประชุม ๒) คณะกรรมาธิ การทหารมี สิ ทธิ ท าหน้ าที่ คณะกรรมาธิ การสอบสวน เมื่ อกรรมาธิ การใน คณะกรรมาธิการนี้ไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๔ ร้องขอ คณะกรรมาธิการมีหน้าที่กาหนดเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะให้เป็นเรื่องที่จะ สอบสวน ๓) การสอบสวนเรื่องการทหาร มิให้นาบทบัญญัติมาตรา ๔๔ วรรค (๑) มาใช้บังคับ
  • 12. - ๒๘ - มาตรา ๔๕ ข. สภาบุนเดสตักต้องแต่งตั้งข้าหลวงคุ้มครอง (Defense Commissioner) ขึ้น ๑ คน เพื่อทา หน้าที่พิทักษ์สิทธิมูลฐานและช่วยสภาบุ นเดสตักในการใช้สิทธิควบคุมรัฐบาลโดยสภา รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย สหพันธ์ มาตรา ๔๖ ๑) สมาชิกสภาบุนเดสตักจะถูกฟ้องร้องต่อศาลเมื่อใดไม่ได้หรือจะถูกลงโทษทางวินัยได้หรือไม่ ต้องรับผิดชอบภายนอกสภาในการที่ได้ลงคะแนนเสียงหรืออภิปรายในสภาบุนเดสตัก หรือในที่ประชุมคณะกรรมาธิการของสภา บทบัญญัติในวรรคนี้ไม่คลุมถึงการหมิ่นประมาท ๒) สมาชิกสภาบุนเดสตักจาต้องรับผิดชอบหรือถูกจับกุมในข้อหาว่าได้กระทาความผิดที่จะต้อง ได้รับอาญาตามกฎหมายก็แต่เฉพาะเมื่อสภาบุนเดสตักอนุญาต เว้นไว้แต่จะถูกจับกุมในขณะกระทาความผิดหรือในวันถัดไป ๓) การจากัดเสรีภาพในร่างกายของสมาชิกสภาหรือการดาเนินคดีใดๆ ต่อเมื่อสมาชิกสภาตาม มาตรา ๑๘ จะกระทามิได้ เว้นไว้แต่จะได้รับอนุญาตจากสภาบุนเดสตัก ๔) การดาเนินคดีอาญาหรือการดาเนินคดีใด ๆ ตามมาตรา ๑๘ ต่อสมาชิกสภา รวมทั้งการคุมขัง หรือการจากัดสิทธิในร่างกายของสมาชิกสภาโดยวิธีอื่น จะต้องพักไว้ชั่วคราวเมื่อสภาบุนเดสตักร้องขอ มาตรา ๔๗ สมาชิกสภามีสิทธิที่จะไม่ให้หลักฐานเกี่ยวกับบุคคลที่ได้ให้ข้อเท็จจริงแก่ตนในฐานะสมาชิกสภา หรือบุคคลที่สมาชิกสภาได้ให้ข้อเท็จจริงในฐานะสมาชิกสภา รวมทั้งข้อเท็จจริงทั้งหมดด้วย เพื่อที่จะให้สิทธิที่จะไม่ให้หลักฐาน มีอยู่อย่างแท้จริง การยึดเอาเอกสารจะกระทามิได้ มาตรา ๔๘ ๑) บุคคลผู้ประสงค์สมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภาบุนเดสตักมีสิทธิจะได้รับอนุญาตให้ลางาน เพื่อทาการหาเสียงเลือกตั้งได้ ๒) การกีดขวางมิให้บุคคลได้รับตาแหน่ง หรือทาหน้าที่สมาชิกสภาบุนเดสตักจะกระทามิได้ การ ให้ออกจากงานโดยเหตุที่บุคคลนั้นเป็นสมาชิกสภาบุนเดสตัก ไม่ว่าจะได้แจ้งล่วงหน้าหรือไม่ก็ตามจะกระทามิได้ ๓) สมาชิกสภามีสิทธิได้รับค่าตอบแทนพอเพียงที่จะเป็นหลักประกันความเป็นอิสระได้ สมาชิก สภามีสิทธิใช้บริการขนส่งของรัฐได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย มาตรา ๔๙ ในส่ วนที่ เกี่ ย วกั บ ประธานสภา รองประธานสภา เลขาธิ การสภา คณะกรรมาธิ การสามั ญ คณะกรรมาธิการกิจการต่างประเทศ คณะกรรมาธิการสหพันธ์ รวมทั้งผู้ทาหน้าที่แทน ให้นาบทบัญญัติมาตรา ๔๖,๔๗ และ วรรค (๒) และ (๓) ของมาตรา ๔๘ มาใช้บังคับในระหว่างปิดสมัยประชุมสภาด้วย หมวด ๔ สภาบุนเดสรัต (Bundesrat) มาตรา ๕๐ มลรัฐมีส่วนร่วมในการออกกฎหมายและการบริหารสหพันธรัฐโดยผ่านสภาบุนเดสรัต มาตรา ๕๑ ๑) สภาบุนเดสรัตประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นรัฐมนตรีของมลรัฐที่ได้รับแต่งตั้งและถอดถอนโดย มลรัฐ รัฐมนตรีคนอื่นอาจเป็นผู้ทาหน้าที่สมาชิกสภาแทนผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งได้ ๒) มลรัฐหนึ่งมีคะแนนเสียงอย่างน้อย ๓ คะแนน มลรัฐ ที่มีประชาชนกว่า ๒ ล้านคน มี ๔ คะแนน มลรัฐที่มีประชาชนกว่า ๖ ล้านคนมี ๔ คะแนน ๓) มลรัฐหนึ่งมีสิทธิแต่งตั้งสมาชิกบุนเดสรัตเท่ากับจานวนคะแนนเสียงที่มีการลงคะแนนเสียง ของทุกมลรัฐ ให้กระทาโดยการลงคะแนนเสียงกลุ่มเท่านั้น และโดยสมาชิกผู้มาร่วมประชุม หรือผู้ทาหน้าที่แทนสมาชิกเท่านั้น มาตรา ๕๒ ๑) สภาบุนเดสรัตเลือกประธานสภาซึ่งอยู่ในตาแหน่งคราวละ ๑ ปี
  • 13. - ๒๙ - ๒) ประธานสภาเรียกประชุมบุนเดสรัต ประธานสภาต้องเรียกประชุมหากได้รับการร้องขอจาก สมาชิกของสองมลรัฐเป็นอย่างน้อยหรือจากรัฐบาลสหพันธ์ ๓) มติของสภาบุนเดสรัตต้องมีคะแนนเสียงเห็นด้วยเกินครึ่งหนึ่งของสมาชิกที่ ลงคะแนนเสียง สภากาหนดระเบียบข้อบังคับการประชุมของสภาได้ การประชุมสภาให้กระทาโดยเปิดเผย การประชุมลับอาจกระทาได้ ๔) รัฐมนตรีอื่นหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากรัฐบาลมลรัฐ อาจเป็นกรรมาธิการในสภาบุนเดสรัตได้ มาตรา ๕๓ รัฐมนตรีของรัฐบาลสหพันธ์มีสิทธิและเป็นหน้าที่ หากได้รับการร้องขอที่จะร่วมในการอภิปราย ของสภาบุรเดสรัต และคณะกรรมาธิการ รัฐมนตรีของรัฐบาลสหพันธ์มีสิทธิอภิปรายเมื่อใดก็ได้ รัฐบาลสหพันธ์ต้องรายงานการ ปฏิบัติงานบริหารประเทศให้สภาบุนเดสรัตทราบเป็นประจา หมวด ๕ ประธานาธิบดีสหพันธ์ มาตรา ๕๔ ๑) ประธานาธิบดี สหพันธ์ได้รับเลือกปราศจากการอภิปรายโดยที่ประชุมสหพันธ์ผู้มีสั ญชาติ เยอรมันที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาบุนเดสตัก และมีอายุอย่างน้อย ๔๐ ปี มีสิทธิได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี ๒) ประธานาธิบดีสหพันธ์อยู่ในตาแหน่งคราวละ ๕ ปี การได้รับเลือกให้เป็นประธานาธิบดีสืบ ตาแหน่งตนเองจะกระทาได้เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ๓) ที่ประชุมสหพันธ์ประกอบด้วยสมาชิกสภาบุนเดสตักและผู้แทนจานวนเท่ากันจากองค์การที่ ได้รับเลือกตั้งจากผู้แทนประชาชนในมลรัฐต่างๆ ตามกฏของการเลือกตั้งตามส่วน ๔) ที่ประชุมสหพันธ์ประชุมกันภายใน ๓ วัน ก่อนการสิ้นสุดของระยะเวลาอยู่ในตาแหน่งของ ประธานาธิบดี หรือในกรณีที่มีการสิ้นสุดลงก่อนระยะเวลาที่กาหนดไว้ ไม่ช้าไปกว่า ๓๐ วันภายหลังการสิ้นสุดลงก่อนระยะเวลา ที่กาหนดไว้ประธานสภาบุนเดสตักเรียกประชุมที่ประชุมสหพันธ์ ๕) ภายหลังการสิ้นสุดอายุของสภา ระยะเวลาที่กาหนดไว้ในวรรค ๔ ประโยคแรกนั้นให้เริ่ม นับตั้งแต่การประชุมครั้งแรกของสภาบุนเดสตัก ๖) ผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงข้างมากของที่ประชุมสหพันธ์ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี หากไม่มี ผู้สมัครรับเลือกคนใดได้รับคะแนนเสียงข้างมากดังกล่าวในการออกเสียงลงคะแนนสองครั้งแล้ว ให้ผู้ที่ได้รับคะแนนมากที่สุดใน การออกเสียงลงคะแนนเสียงครั้งต่อไปอีกครั้งเดียวได้รับเลือก ๗) รายละเอียดให้กาหนดไว้ในกฎหมาย มาตรา ๕๕ ๑) ประธานาธิบดีสหพันธ์จะเป็นรัฐมนตรีในรัฐบาลสหพันธ์หรือสภานิติบัญญัติของสหพันธ์หรือ ของมลรัฐใดไม่ได้ ๒) ประธานาธิบดีสหพันธ์จะดารงตาแหน่งอื่นที่มีเงินเดือนหรือทาการค้า หรือประกอบวิชาชีพ หรือเป็นผู้รับผิดชอบในการบริหารหรือเป็นกรรมการบริหารของกิจการที่ประกอบการเพื่อค้ากาไรมิได้ มาตรา ๕๖ ในการเข้ารับตาแหน่ง ประธานาธิบดีสหพันธ์ต้องสาบานตนต่อหน้าที่ประชุมสมาชิกสภาบุนเดสตัก และสภาบุนเดสรัตด้วยถ้อยคาต่อไปนี้
  • 14. - ๓๐ - “ข้า พเจ้า ขอสาบานว่า ข้า พเจ้า จะอุทิศ ความพยายามทั้ง หมดของข้า พเจ้า เพื่อ การอยู่ดี กิน ดีข องชนชาวเยอรมัน ส่ง เสริม ผลประโยชน์ข องชนชาวเยอรมัน ป้อ งกัน มิใ ห้ภัย มาพ้อ งพานชนชาวเยอรมั น ปฏิบัติต นและปกป้อ งกฎหมายหลัก และกฎหมายของสหพัน ธ์ ปฏิบัติห น้า ที่ข องข้า พเจ้า ด้ว ยความซื่อ สัต ย์สุจ ริต และยังความยุติธรรมแก่ทุกชน ขอให้พระเจ้าช่วยข้าพเจ้าด้วย” การสาบานตนอาจจะกระทาได้ปราศจากพิธีทางศาสนา มาตรา ๕๗ ถ้าประธานาธิบดีสหพันธ์ไม่อาจใช้อานาจของประธานาธิบดีได้ หรือ หากตาแหน่งประธานาธิบดี ว่างลงก่อนครบกาหนดระยะเวลาอยู่ในตาแหน่ง ให้ประธานสภาบุนเดสรัตใช้อานาจของประธานาธิบดี มาตรา ๕๘ คาสั่งและกฤษฎีกาของประธานาธิบดีจาต้องมีการลงนามรับสนองของนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ที่เกี่ยวข้องจึงจะมีผลใช้บังคับได้ ข้อความดังกล่าวไม่ใช้บังคับในกรณีการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ การยุบสภาบุนเดสตัก ตามความในมาตรา ๖๓ และการร้องขอตามความในมาตรา ๖๙ วรรค ๓ มาตรา ๕๙ ๑) ประธานาธิ บ ดี ส หพั น ธ์ เ ป็ น ตั ว แทนของสหพั น ธ์ ใ นความสั ม พั น ธ์ ระหว่ า งประเทศ ประธานาธิบดีทาสนธิสัญญากับต่างประเทศในนามของสหพันธรัฐ ประธานาธิบดีแต่งตั้งและรับทูตานุฑูต ๒) สนธิสัญญาที่ควบคุมความสัมพันธ์ทางการเมืองในสหพันธ์หรือเกี่ยวกับกิจการออกกฎหมาย ของสหพันธ์ต้องได้รับความเห็นชอบหรือมีส่วนในการพิจารณาในรูปของกฎหมายสหพันธ์ โดยองค์กรที่มีอานาจหน้าที่เฉพาะ กรณีในการออกกฎหมายเช่นนั้นของสหพันธ์สาหรับข้อตกลงของฝ่ายบริหาร ให้นาบทบัญญัติว่าด้วยการบริหารสหพันธ์มาใช้ โดยอนุโลม มาตรา ๕๙ ก. ๑) สภาบุนเดสตักเป็นผู้กาหนดว่า ได้เกิดกรณีฝ่ายบริหารเข้าแทรกแซงในกิจการอันเป็น อานาจหน้าที่ของสภา ประธานาธิบดีสหพันธ์เป็นผู้ประกาศมติของสภาบุนเดสตัก ๒) หากเกิดปัญหาอันแก้ไขไม่ได้ขัดขวางการประชุมของสภาบุนเดสตัก หากมีการชักช้าจะ เกิดเสียหายต่อประเทศ ประธานาธิบดีสหพันธ์เป็นผู้กาหนดกรณีฝ่ายบริหารเข้าแทรกแซงในกิจการอันเป็นอานาจหน้าที่ ของสภาขึ้นแล้ว และประกาศกรณีดังกล่าวโดยมีนายกรัฐมนตรีลงนามรับสนอง ประธานาธิบดีสหพันธ์ต้องปรึกษาหารือ กับประธานสภาบุนเดสตัก และประธานสภาบุนเดสรัตก่อน ๓) การออกถ้อยแถลงเกี่ยวกับกรณีฝ่ ายบริห ารแทรกแซงอานาจของสภาที่เกี่ยวข้องกับ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศโดยประธานาธิบดีจะกระทาไม่ได้จนกว่าจะได้มีการประกาศว่าได้มีกรณีดังกล่าวเกิดขึ้นแล้ว ๔) มติเกี่ยวกับการลงนามในสัญญาสันติภาพให้กระทาโดยการออกกฎหมายสหพันธ์ มาตรา ๖๐ ๑) ประธานาธิบดีสหพันธ์แต่งตั้ง และถอดถอนผู้พิพากษาสหพันธ์ ข้ารัฐการพลเรือนสหพันธ์ นายทหารและนายทหารชั้นประทวน เว้นไว้แต่ที่กาหนดไว้ในกฎหมายไว้เป็นอย่างอื่น ๒) ประธานาธิบดีใช้อานาจบริหาร เฉพาะกรณีใดกรณีหนึ่งในนามของสหพันธ์ ๓) ประธานาธิบดีอาจมอบหมายอานาจดังกล่าวแก่องค์การอื่นใดก็ได้ ๔) ให้นาวรรค ๒ – ๔ ของมาตรา ๕๖ มาใช้กับประธานาธิบดีสหพันธ์โดยอนุโลม มาตรา ๖๑ ๑) สภาบุนเดสตักหรือสภาบุนเดสรัตกล่าวหาประธานาธิบดีต่อศาลรัฐธรรมนูญสหพันธ์ใน ข้อหาว่าได้ละเมิดกฎหมายหลักหรือกฎหมายอื่นใดของสหพัน ธ์โดยเจตนาได้ ญัต ติก ล่า วหาดัง กล่ า วจะต้อ งมีส มาชิก สภาบุ น เดสตักไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๔ หรือสมาชิกสภาบุนเดสรัตไม่ต่ากว่า ๑ ใน ๔ เป็นผู้เสนอ มติที่จะฟ้องร้องประธานนาธิบดี จะต้องได้รับความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงไม่ต่ากว่า ๒ ใน ๓ ของจานวนสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสตัก หรือไม่ต่า กว่า ๒ ใน ๓ ของจานวนสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสรัต บุคคลผู้ที่ได้รับมอบอานาจโดยสภาที่มีมติให้ฟ้องร้องเป็นผู้ทา หน้าที่อัยการ
  • 15. - ๓๑ - ๒) หากศาลรั ฐ ธรรมนู ญ สหพั น ธ์ ตั ด สิ น ว่ า ประธานาธิ บ ดี ส หพั น ธ์ มี ค วามผิ ด ฐานละเมิ ด กฎหมายหลัก หรือกฎหมายอื่นใดของสหพันธ์โดยเจตนา ศาลจะมีคาสั่งให้ประธานาธิบดีพ้นตาแหน่ง ภายหลังการตัดสิน แล้ว ศาลอาจมีคาสั่งชั่วคราวห้ามประธานาธิบดีใช้อานาจของตาแหน่งประธานาธิบดีได้ หมวด ๖ รัฐบาลสหพันธ์ มาตรา ๖๒ รัฐบาลสหพันธ์ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีสหพันธ์และรัฐมนตรีสหพันธ์ มาตรา ๖๓ ๑) นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ได้รับเลือกปราศจากการอภิปรายโดยสภาบุนเดสตักตามการเสนอชื่อ ของประธานาธิบดีสหพันธ์ ๒) ผู้ที่ได้รับคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกสภาบุนเดสตักทั้งหมดได้รับเลือกเป็นนายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดีสหพันธ์แต่งตั้งผู้ที่ได้รับเลือก ๓) หากผู้ที่ได้รับการเสนอชื่อไม่ได้รับเลือก สภาบุนเดสตักเลือกนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ภายใน ๑๔ วัน นับตั้งแต่ได้มีการลงคะแนนครั้งแรกด้วยคะแนนเสียงเกินกว่าครึ่งหนึ่งของสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสตัก ๔) หากไม่มีการเลือกภายในระยะเวลาดังกล่าว ให้มีการลงคะแนนเสียงโดยไม่ชักช้าโดยให้ผู้ที่ ได้รั บคะแนนเสียงมากที่สุ ดได้รับเลื อก หากผู้ได้รับเลือกได้คะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกสภาบุนเดสตัก ประธานาธิบดี สหพันธ์ต้องแต่งตั้งบุคคลนั้นภายในเจ็ดวันนับตั้งแต่ได้รับเลือกหากผู้ได้รับเลือกไม่ได้คะแนนเสียงดังกล่าว ประธานาธิบดีอาจ แต่งตั้งบุคคลนั้นหรือยุบสภาบุนเดสตักภายในเจ็ดวัน มาตรา ๖๔ ๑) รัฐมนตรีสหพันธ์ตามคาแนะนาของประธานาธิบดีสหพันธ์แต่งตั้งและถอดถอนนายกรัฐมนตรี สหพันธ์ ๒) นายกรัฐมนตรีสหพันธ์และรัฐมนตรีสหพันธ์สาบานตนในการเข้ารับตาแหน่งด้วยถ้อยคาที่ กาหนดไว้ในมาตรา ๕๖ มาตรา ๖๕ หากรั ฐมนตรี สหพันธ์ก าหนดและรั บผิ ดชอบนโยบายทั่วไปภายในขอบเขตของนโยบายทั่ วไป ดังกล่าว รัฐมนตรีสหพันธ์ทุกคนบริหารกระทรวงของตนโดยอิสระและต่างรับผิดชอบในการบริหารรัฐบาลสหพันธ์ตัดสินความ แตกต่าง ในเรื่องความเห็นของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ นายกรัฐมนตรีสหพันธ์บริหารกิจการของรัฐบาลสหพันธ์ตามระเบียบ ข้อบังคับที่รัฐบาลสหพันธ์เห็นชอบด้วย และประธานาธิบดีสหพันธ์เห็นชอบด้วยแล้ว มาตรา ๖๕ ก.๑) อานาจบังคับบัญชากองทัพเป็นของรัฐมนตรีกลาโหมสหพันธ์ ๒) เมื่อได้มีการประกาศว่าฝ่ายบริหารแทรกแซงอานาจของสภาแล้ว ให้ประธานาธิบดีมีอานาจ บังคับบัญชากองทัพ มาตรา ๖๖ นายกรัฐมนตรีสหพันธ์และรัฐมนตรีสหพันธ์ต้องไม่ดารงตาแหน่งอื่นที่มีเงินเดือน ไม่ทาการค้า ไม่ ประกอบวิชาชีพ ไม่เป็นฝ่ายบริหารหรือหากไม่ได้รับความเห็นชอบจากสภาบุนเดสตัก ไม่เป็นกรรมการของวิสาหกิจที่ค้ากาไร มาตรา ๖๗ ๑) สภาบุนเดสตักอาจแสดงความไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ได้ก็แต่โดยการเลือกผู้สืบต่อ ตาแหน่งนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ ด้วยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกทั้งหมดของสภา และโดยการร้องขอให้ประธานาธิบดี สหพันธ์ให้ถอดถอนนายกรัฐมนตรีเท่านั้น ประธานาธิบดีสหพันธ์ต้องปฏิบัติตามคาร้องขอ และแต่งตั้งผู้ที่ได้รับเลือก ๒) ระยะเวลาระหว่างการเสนอญัตติให้มีการเลือกตั้งผู้สืบต่อตาแหน่งกับการเลือกนั้นจะต้องมี ระยะอย่างน้อย ๔๘ ชั่วโมง
  • 16. - ๓๒ - มาตรา ๖๘ ๑) หากญัตติที่เสนอโดยนายกรัฐมนตรีให้สภาบุนเดสตักลงมัติไว้วางใจรั ฐบาลไม่ได้รับความ สนับสนุนด้วยคะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกทั้งหมดของสภาบุนเดสตัก ประธานาธิบดีสหพันธ์อาจยุบสภาบุนเดสตักภายใน เวลา ๒๑ วัน ตามคาแนะนาของนายกรัฐมนตรี สิทธิในการยุบสภาสิ้นสุดลงในเมื่อสภาบุนเดสตักเลือกนายกรัฐมนตรีใหม่ด้วย คะแนนเสียงข้างมากของสมาชิกทั้งหมด ๒) เวลาระหว่างการเสนอญัตติกับการลงคะแนนเสียงต้องมีระยะอย่างน้อย ๔๘ ชั่วโมง มาตรา ๖๙ ๑) นายกรัฐมนตรีสหพันธ์อาจแต่งตั้งรัฐมนตรีสหพันธ์นายหนึ่งเป็นรองนายกรัฐมนตรีได้ ๒) ไม่ว่ากรณีใดก็ตามระยะเวลาในตาแหน่งของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์หรือรัฐมนตรีสหพันธ์ สิ้นสุดลงในวันที่สภายุนเดสตักที่ได้รับเลือกตั้งใหม่ประชุมกันครั้งแรก ระยะเวลาอยู่ในตาแหน่งของรัฐมนตรีสหพันธ์สิ้นสุดลง เมื่อระยะเวลาอยู่ในตาแหน่งของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์สิ้นสุดลง ๓) ตามคาร้องขอของประธานาธิบดีสหพันธ์ของนายกรัฐมนตรีสหพันธ์ หรือตามคาร้องขอของ นายกรัฐมนตรีสหพันธ์ หรือของประธานาธิบดีสหพันธ์ รัฐมนตรีสหพันธ์มีความผูกพันที่จะต้องปฏิบัติงานในตาแหน่งรัฐมนตรี ต่อไปจนกว่าจะได้มีการแต่งตั้งผู้ดารงตาแหน่งแทน หมวด ๗ อานาจนิติบัญญัติของสหพันธ์ มาตรา ๗๐ ๑) มลรัฐทรงอานาจนิติบัญญัติเท่าที่กฎหมายหลักไม่ได้บัญญัติให้เป็นอานาจนิติบัญญัติของ สหพันธ์ ๒) การแบ่งอานาจระหว่างสหพันธ์และมลรัฐให้เป็นไปตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายหลักนี้ที่ เกี่ยวกับอานาจนิติบัญญัติโดยเฉพาะและอานาจนิติบัญญัติร่วมกัน มาตรา ๗๑ ในเรื่องที่อยู่ในอานาจนิติบัญญัติเฉพาะของสหพันธ์มลรัฐจะมีอานาจออกกฎหมายก็แต่เฉพาะและ ภายในขอบเขตที่กฎหมายสหพันธ์กาหนดไว้อย่างชัดเจน มาตรา ๗๒ ๑) ในเรื่องที่อยู่ในอานาจนิติบัญญัติร่วมกันนั้น มลรัฐจะมีอานาจออกกฎหมาย ก็แต่เฉพาะและ ภายในขอบเขตที่สหพันธ์ไม่ใช้อานาจนิติบัญญัติของตน ๒) สหพันธ์มีสิทธิที่จะออกกฎหมายในเรื่องเหล่านี้ภายในขอบเขตที่จาเป็นจะต้องมีกฎหมายของ สหพันธ์เพราะว่า ๑. เรื่องที่กฎหมายของแต่ละมลรัฐ ไม่อาจบัญญัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือ ๒. เกี่ย วกับเรื่องที่กฎหมายของมลรัฐ หนึ่ง อาจกระทบกระเทือนผลประโยชน์ ของมลรัฐอื่นหรือประเทศชาติเป็นส่วนรวม หรือ ๓. การธารงรักษาไว้ซึ่งเอกภาพทางการเมือง หรือเอกภาพทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะ อย่างยิ่งความจาเป็นที่ต้องมีการรักษาไว้ซึ่งความเหมือนกันของสภาพความเป็นอยู่ นอกเขตแดนของมลรัฐหนึ่ง มาตรา ๗๓ สหพันธ์มีอานาจเฉพาะที่จะออกกฎหมายในเรื่องต่อไปนี้ ๑. การต่า งประเทศและการป้องกัน ประเทศ รวมทั้งการรับราชการทหารของชายอายุ ๑๘ ปีขึ้นไปและการคุ้มครองประชาชนพลเรือน ๒. สัญชาติของสหพันธ์