SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
2011 : Volume 2

สรวิศ ลิมปรังษี

Penalty Clause 8
Liquidated damages

ห้อ
งส
มุด
(w อิเ
ww ล็ก
.lib ทรอ
ra นิก
ry ส์ศ
.co าล
j.g ยุต
o.t ิธร
h) รม

	
ในกฎหมายไทยของเรามีการกำหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379 ถึงเบี้ยปรับที่คู่สัญญากำหนด
	
ไว้ในสัญญาสำหรับกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชำระหนี้ หรือชำระหนี้แต่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องตามที่สัญญากำหนดไว้ เช่น 
	
ถ้าหากเป็นการกำหนดเบี้ยปรับไว้สำหรับกรณีที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ มาตรา 380 กำหนดให้เจ้าหนี้สามารถริบเบี้ยปรับได้เมื่อ
	
ลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามที่กำหนดและอาจถือเอาเบี้ยปรับที่ริบนั้นเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายที่จะเรียกจากลูกหนี้ก็ได้ 
	
ในระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common law) ได้
	
แบ่ ง มาตรการเยี ย วยาที่ คู่ สั ญ ญาได้ ก ำหนดไว้ ล่ ว งหน้ า ใน
	
สั ญ ญาเป็ น สองลั ก ษณะ ลั ก ษณะแรกคื อ การเป็ น ค่ า ปรั บ
	
หรือเบี้ยปรับสำหรับกรณีที่ที่ผิดสัญญาหรือที่เราเรียกว่าเป็น 
	
Penalty หากศาลเห็ น ว่ า สิ่ ง ที่ คู่ สั ญ ญากำหนดไว้ นั้ น เข้ า	

ลักษณะเป็น Penalty แล้วจะถือว่าข้อสัญญาดังกล่าวไม่มี
	
ผลบังคับใช้ได้ เนื่องจากกฎหมายมองว่า Penalty ที่คู่สัญญา
	
กำหนดไม่สอดคล้องกับความเสียหายทีเ่ กิดขึนจริง ทำให้เจ้าหนี
	้
้
ได้กำไรจากเบี้ยปรับที่เรียกจากลูกหนี้ 

	
นอกจากนั้น เบี้ยปรับยังมีลักษณะที่เรียกว่า “in terrorem” คำว่า Terror ที่แฝงอยู่ในคำนี้มีความหมายถึงความน่ากลัว	

เป็นคำในกลุ่มเดียวกับคำว่า “Terrorist” ที่หมายถึง “ผู้ก่อการร้าย” ดังนั้น ในส่วนนี้จึงเป็นการสื่อความหมายในทำนองที่ว่า	

การกำหนดเบี้ ย ปรั บ ที่ สู ง เกิ น กว่ า ค่ า เสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จึ ง เป็ น การข่ ม ขู่ ใ ห้ ลู ก หนี้ ต้ อ งยอมปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาเพื่ อ จะได้
	
หลีกเลี่ยงการเสียเบี้ยปรับ 
	
ในทางตรงกันข้าม หากศาลเห็นว่าสิงทีคสญญากำหนดไว้มลกษณะทีเป็นค่าเสียหายทีคสญญาตกลงประเมินไว้ลวงหน้า 
	
่ ่ ู่ ั
ี ั
่
่ ู่ ั
่
จะถือว่า เป็ น Liquidated damages ซึ่งถือเป็นข้อ สั ญ ญาที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ไ ด้ แตกต่ า งจากกรณี ข อง Penalty เมื่ อ ชำระ 
	
Liquidated damages ไปแล้วก็ถือว่าเงินที่ได้ชำระไปได้เข้าไปแทนที่ภาระหนี้ส่วนที่ยังไม่ได้ชำระที่เป็นสาเหตุให้เจ้าหนี้มีสิทธิ	

ที่จะเรียกร้อง Liquidated damages 
	
หากเราสังเกตคำว่า Liquidated ที่ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของคำว่า Liquidated damages จะเห็นคำว่า “Liquidate” ที่
	
แฝงอยู่ด้วย คำๆ นี้หากเราพิจารณาดูความหมายจริงๆ แล้วจะหมายความว่า “To pay and settle” ซึ่งเป็นการนำเงินมาชำระ
	
แล้วยุติเ รื่ อ งราวกั น ไปเพียงแค่นั้น โดยความหมายที่ มี ก ารนำไปใช้ บ่ อ ยคื อ การ Liquidate บริ ษั ท หรื อ นิ ติ บุ ค คล เมื่ อ นำ
	
* ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำสำนักประธานศาลฎีกา
ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 ศูนย์วิทยบริการศาลยุติธรรม

3
Payable

ห้อ
งส
มุด
(w อิเ
ww ล็ก
.lib ทรอ
ra นิก
ry ส์ศ
.co าล
j.g ยุต
o.t ิธร
h) รม

ความหมายที่ว่าเป็นการชำระเงินแล้วยุติเรื่องไปมาใช้กับกรณีของบริษัทหรือนิติบุคคลนี้จึงเป็นการชำระบัญชีโดยการนำ

	
ทรัพย์สินของบริษัทหรือนิติบุคคลนั้นไปขายเพื่อแปลงสภาพให้เป็นเงินสดแล้วนำเงินที่ได้จากการขายทรัพย์สินนั้นไปจ่ายให้แก่	

บรรดาเจ้าหนี้ กระบวนการชำระบัญชีเพื่อเลิกบริษัทหรือนิติบุคคลนี้เราเรียกว่าการ “Liquidation” หากเรานำความหมายนี้
	
ไปใช้กับเรื่องค่าเสียหายที่เป็น Liquidated damages แล้วก็จะมีลักษณะที่ไม่แตกต่างกันเท่าใด เพราะหากเราชำระเงินค่า	

เสียหายที่เป็น Liquidated damages ครบถ้วนแล้วก็ถือว่าเรื่องราวระหว่างเรากับเจ้าหนี้ย่อมยุติเลิกรากันไปด้วยเหมือนกัน 
	
การแบ่งแยกว่าข้อสัญญาข้อใดเป็น Penalty หรือ Liquidated damages อาจจะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาแบ่งแยก
	
ได้หลายลักษณะ ตัวอย่างประการหนึ่งของหลักเกณฑ์ที่ศาลอาจจะใช้ประกอบการพิจารณา คือกรณีจะถือว่าข้อสัญญาเป็น	 

Penalty หากปรากฏว่าจำนวนเงินทีกำหนดให้ตองชำระตามสัญญาข้อดังกล่าวมีลกษณะที่ “Extravagant and unconscionable 
	
่
้
ั
in amount in comparison with the greatest loss that could conceivably be proved to have follow from the breach.” 
	
ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ที่ศาลได้เคยตัดสินไว้ในคดี Dunlop Pneumatic Tyre Co., Ltd. v. New Garage & Motor Co., Ltd.1 
	
หลักเกณฑ์ดังกล่าวมีความหมายว่าหากจำนวนเงินที่กำหนดให้ชำระแทนการปฏิบัติตามสัญญามีลักษณะที่ “มากเกินควรและ

สูงจนแทบเรียกได้ว่าตกลงไปโดยขาดความยั้งคิดโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับความเสียหายที่สูงที่สุดเท่าที่จะพึงคาดหมายได้ว่าจะ

พิสูจน์ได้จากการผิดสัญญา” จะถือว่าข้อสัญญาดังกล่าวเป็น Penalty 

	
คำๆ นีจะเห็นได้วาประกอบด้วยคำว่า Pay ซึงหมายความว่า
	
้
่
่
จ่ายหรือชำระเงิน และคำว่า Able ซึ่งหมายความว่าสามารถ
	
ที่จะทำได้ เมื่อรวมคำทั้งสองเข้าด้วยกันแล้วจึงมีความหมายถึง
	
การที่ ห นี้ ถึ ง กำหนดที่ ลู ก หนี้ จ ะสามารถชำระหนี้ ไ ด้   หากเรา
	
คิ ด ถึ ง กรณี ที่ ร ะยะเวลาชำระหนี้ ก ำหนดไว้ เ พื่ อ ประโยชน์ ข อง
	
เจ้าหนี้ที่จะทำให้เจ้าหนี้ได้รับผลประโยชน์ เช่นดอกเบี้ยในช่วง
	
เวลาที่ มี ห นี้ อ ยู่ เจ้ า หนี้ จึ ง อาจจะต้ อ งการให้ ลู ก หนี้ ช ำระหนี้
	
เมื่ อ ถึ ง กำหนดเวลาตามที่ ต กลงกั น ไว้ การที่ ห นี้ มี ลั ก ษณะที่
	
เป็น Payable จึงหมายถึงหนี้นั้นได้ผ่านช่วงเวลาจนถึงขณะที่
	
ลูกหนี้จะสามารถชำระหนี้ได้แล้ว 

	
คำที่มีความหมายถึงการที่หนี้ถึงกำหนดชำระในลักษณะที่คล้ายคลึงกันเช่นคำว่า Due, Mature ทั้งสองคำนี้เมื่อนำมาใช้
	
ในเรื่องหนี้จะมีความหมายถึงการที่หนี้ถึงกำหนดเช่นเดียวกัน  โดยคำต่างๆ เหล่านี้หากนำไปใช้ในประโยคอาจใช้ได้ในลักษณะ
	
ดังต่อไปนี้ 
	
The loan becomes payable on the first business day of next month. (เงินกู้นี้จะถึงกำหนดชำระในวันทำการ
	
	
	 แรกของเดือนหน้า) 
	
This promissory note becomes due after twelve months from the date of issuance. (ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้จะ
	
	
	 ถึงกำหนดชำระหลังครบสิบสองเดือนนับแต่วันออกตั๋ว) 
	
The creditor is so eager to get paid for the mature loan. (เจ้าหนี้ต้องการที่จะได้รับชำระหนี้เงินกู้คืนอย่างมาก) 
	
ทั้งหมดนี้เป็นคำที่น่าสนใจในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่อง Penalty Clause สำหรับในตอนต่อไปคงจะนำเรื่องที่น่าสนใจอื่นมา
	
พูดคุยกันต่อไป โปรดติดตามต่อนะครับ


•	
•	
•	

1

Dunlop Pneumatic Tyre Co., Ltd. v. New Garage & Motor Co., Ltd [1915] AC 79, at 87.

4

จดหมายข่าว วิทยบรรณสาร

Contenu connexe

Plus de Nanthapong Sornkaew

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1 Nanthapong Sornkaew
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...Nanthapong Sornkaew
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญNanthapong Sornkaew
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1Nanthapong Sornkaew
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองNanthapong Sornkaew
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545Nanthapong Sornkaew
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯNanthapong Sornkaew
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกNanthapong Sornkaew
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงNanthapong Sornkaew
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลNanthapong Sornkaew
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมNanthapong Sornkaew
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่Nanthapong Sornkaew
 
Legal english ภาษาอังกฤษกฎหมาย
Legal english ภาษาอังกฤษกฎหมายLegal english ภาษาอังกฤษกฎหมาย
Legal english ภาษาอังกฤษกฎหมายNanthapong Sornkaew
 

Plus de Nanthapong Sornkaew (20)

วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1 วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน  2557 1
วารสารกฎหมายขนส่งและพาณิชยนาวี ปี 9 ฉบับที่ 9 เดือนพฤศจิกายน 2557 1
 
Pantipontour
PantipontourPantipontour
Pantipontour
 
Bo tmuseum
Bo tmuseumBo tmuseum
Bo tmuseum
 
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
การร้องทุกข์ทางรธน.ในระบบฯเยอรมัน วิเคราะห์เปรียบเทียบการฟ้องคดีโดยปชช.ต่อศาล...
 
Politics1
Politics1Politics1
Politics1
 
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
การแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญกับการตรวจสอบความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ
 
10 12-2475
10 12-247510 12-2475
10 12-2475
 
ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1ประกาศ คณะราษฎร 1
ประกาศ คณะราษฎร 1
 
Book inter germany
Book inter germanyBook inter germany
Book inter germany
 
บทความ+ศา..
บทความ+ศา..บทความ+ศา..
บทความ+ศา..
 
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครองkคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
kคู่สัญญาฝ่ายเอกชนกับการบอกเลิกสัญญาทางปกครอง
 
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
พ.ร.บ.อนุญาโตตุลาการ 2545
 
Article t2
Article t2Article t2
Article t2
 
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
ดำเนินคดีสิ่งแวดล้อมในสหรัฐฯ
 
อากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตกอากงปลงไม่ตก
อากงปลงไม่ตก
 
คำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากงคำพิพากษาคดีอากง
คำพิพากษาคดีอากง
 
ประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาลประเทศไทยมีกี่ศาล
ประเทศไทยมีกี่ศาล
 
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรมkจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
kจดหมายข่าวรายปักษ์ รอบรั้วศาลยุติธรรม
 
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
เปิดปิดประตูระบายน้ำเอา(ไม่)อยู่
 
Legal english ภาษาอังกฤษกฎหมาย
Legal english ภาษาอังกฤษกฎหมายLegal english ภาษาอังกฤษกฎหมาย
Legal english ภาษาอังกฤษกฎหมาย
 

V2011 2

  • 1. 2011 : Volume 2 สรวิศ ลิมปรังษี Penalty Clause 8 Liquidated damages ห้อ งส มุด (w อิเ ww ล็ก .lib ทรอ ra นิก ry ส์ศ .co าล j.g ยุต o.t ิธร h) รม ในกฎหมายไทยของเรามีการกำหนดไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 379 ถึงเบี้ยปรับที่คู่สัญญากำหนด ไว้ในสัญญาสำหรับกรณีที่คู่สัญญาฝ่ายหนึ่งไม่ชำระหนี้ หรือชำระหนี้แต่ไม่ครบถ้วนหรือไม่ถูกต้องตามที่สัญญากำหนดไว้ เช่น ถ้าหากเป็นการกำหนดเบี้ยปรับไว้สำหรับกรณีที่ลูกหนี้ไม่ชำระหนี้ มาตรา 380 กำหนดให้เจ้าหนี้สามารถริบเบี้ยปรับได้เมื่อ ลูกหนี้ผิดนัดไม่ชำระหนี้ตามที่กำหนดและอาจถือเอาเบี้ยปรับที่ริบนั้นเป็นส่วนหนึ่งของค่าเสียหายที่จะเรียกจากลูกหนี้ก็ได้ ในระบบกฎหมายจารีตประเพณี (Common law) ได้ แบ่ ง มาตรการเยี ย วยาที่ คู่ สั ญ ญาได้ ก ำหนดไว้ ล่ ว งหน้ า ใน สั ญ ญาเป็ น สองลั ก ษณะ ลั ก ษณะแรกคื อ การเป็ น ค่ า ปรั บ หรือเบี้ยปรับสำหรับกรณีที่ที่ผิดสัญญาหรือที่เราเรียกว่าเป็น Penalty หากศาลเห็ น ว่ า สิ่ ง ที่ คู่ สั ญ ญากำหนดไว้ นั้ น เข้ า ลักษณะเป็น Penalty แล้วจะถือว่าข้อสัญญาดังกล่าวไม่มี ผลบังคับใช้ได้ เนื่องจากกฎหมายมองว่า Penalty ที่คู่สัญญา กำหนดไม่สอดคล้องกับความเสียหายทีเ่ กิดขึนจริง ทำให้เจ้าหนี ้ ้ ได้กำไรจากเบี้ยปรับที่เรียกจากลูกหนี้ นอกจากนั้น เบี้ยปรับยังมีลักษณะที่เรียกว่า “in terrorem” คำว่า Terror ที่แฝงอยู่ในคำนี้มีความหมายถึงความน่ากลัว เป็นคำในกลุ่มเดียวกับคำว่า “Terrorist” ที่หมายถึง “ผู้ก่อการร้าย” ดังนั้น ในส่วนนี้จึงเป็นการสื่อความหมายในทำนองที่ว่า การกำหนดเบี้ ย ปรั บ ที่ สู ง เกิ น กว่ า ค่ า เสี ย หายที่ เ กิ ด ขึ้ น จริ ง จึ ง เป็ น การข่ ม ขู่ ใ ห้ ลู ก หนี้ ต้ อ งยอมปฏิ บั ติ ต ามสั ญ ญาเพื่ อ จะได้ หลีกเลี่ยงการเสียเบี้ยปรับ ในทางตรงกันข้าม หากศาลเห็นว่าสิงทีคสญญากำหนดไว้มลกษณะทีเป็นค่าเสียหายทีคสญญาตกลงประเมินไว้ลวงหน้า ่ ่ ู่ ั ี ั ่ ่ ู่ ั ่ จะถือว่า เป็ น Liquidated damages ซึ่งถือเป็นข้อ สั ญ ญาที่ มี ผ ลบั ง คั บ ใช้ ไ ด้ แตกต่ า งจากกรณี ข อง Penalty เมื่ อ ชำระ Liquidated damages ไปแล้วก็ถือว่าเงินที่ได้ชำระไปได้เข้าไปแทนที่ภาระหนี้ส่วนที่ยังไม่ได้ชำระที่เป็นสาเหตุให้เจ้าหนี้มีสิทธิ ที่จะเรียกร้อง Liquidated damages หากเราสังเกตคำว่า Liquidated ที่ประกอบเป็นส่วนหนึ่งของคำว่า Liquidated damages จะเห็นคำว่า “Liquidate” ที่ แฝงอยู่ด้วย คำๆ นี้หากเราพิจารณาดูความหมายจริงๆ แล้วจะหมายความว่า “To pay and settle” ซึ่งเป็นการนำเงินมาชำระ แล้วยุติเ รื่ อ งราวกั น ไปเพียงแค่นั้น โดยความหมายที่ มี ก ารนำไปใช้ บ่ อ ยคื อ การ Liquidate บริ ษั ท หรื อ นิ ติ บุ ค คล เมื่ อ นำ * ผู้พิพากษาศาลชั้นต้นประจำสำนักประธานศาลฎีกา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 ศูนย์วิทยบริการศาลยุติธรรม 3
  • 2. Payable ห้อ งส มุด (w อิเ ww ล็ก .lib ทรอ ra นิก ry ส์ศ .co าล j.g ยุต o.t ิธร h) รม ความหมายที่ว่าเป็นการชำระเงินแล้วยุติเรื่องไปมาใช้กับกรณีของบริษัทหรือนิติบุคคลนี้จึงเป็นการชำระบัญชีโดยการนำ ทรัพย์สินของบริษัทหรือนิติบุคคลนั้นไปขายเพื่อแปลงสภาพให้เป็นเงินสดแล้วนำเงินที่ได้จากการขายทรัพย์สินนั้นไปจ่ายให้แก่ บรรดาเจ้าหนี้ กระบวนการชำระบัญชีเพื่อเลิกบริษัทหรือนิติบุคคลนี้เราเรียกว่าการ “Liquidation” หากเรานำความหมายนี้ ไปใช้กับเรื่องค่าเสียหายที่เป็น Liquidated damages แล้วก็จะมีลักษณะที่ไม่แตกต่างกันเท่าใด เพราะหากเราชำระเงินค่า เสียหายที่เป็น Liquidated damages ครบถ้วนแล้วก็ถือว่าเรื่องราวระหว่างเรากับเจ้าหนี้ย่อมยุติเลิกรากันไปด้วยเหมือนกัน การแบ่งแยกว่าข้อสัญญาข้อใดเป็น Penalty หรือ Liquidated damages อาจจะมีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาแบ่งแยก ได้หลายลักษณะ ตัวอย่างประการหนึ่งของหลักเกณฑ์ที่ศาลอาจจะใช้ประกอบการพิจารณา คือกรณีจะถือว่าข้อสัญญาเป็น Penalty หากปรากฏว่าจำนวนเงินทีกำหนดให้ตองชำระตามสัญญาข้อดังกล่าวมีลกษณะที่ “Extravagant and unconscionable ่ ้ ั in amount in comparison with the greatest loss that could conceivably be proved to have follow from the breach.” ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ที่ศาลได้เคยตัดสินไว้ในคดี Dunlop Pneumatic Tyre Co., Ltd. v. New Garage & Motor Co., Ltd.1 หลักเกณฑ์ดังกล่าวมีความหมายว่าหากจำนวนเงินที่กำหนดให้ชำระแทนการปฏิบัติตามสัญญามีลักษณะที่ “มากเกินควรและ สูงจนแทบเรียกได้ว่าตกลงไปโดยขาดความยั้งคิดโดยเฉพาะเมื่อเทียบกับความเสียหายที่สูงที่สุดเท่าที่จะพึงคาดหมายได้ว่าจะ พิสูจน์ได้จากการผิดสัญญา” จะถือว่าข้อสัญญาดังกล่าวเป็น Penalty คำๆ นีจะเห็นได้วาประกอบด้วยคำว่า Pay ซึงหมายความว่า ้ ่ ่ จ่ายหรือชำระเงิน และคำว่า Able ซึ่งหมายความว่าสามารถ ที่จะทำได้ เมื่อรวมคำทั้งสองเข้าด้วยกันแล้วจึงมีความหมายถึง การที่ ห นี้ ถึ ง กำหนดที่ ลู ก หนี้ จ ะสามารถชำระหนี้ ไ ด้ หากเรา คิ ด ถึ ง กรณี ที่ ร ะยะเวลาชำระหนี้ ก ำหนดไว้ เ พื่ อ ประโยชน์ ข อง เจ้าหนี้ที่จะทำให้เจ้าหนี้ได้รับผลประโยชน์ เช่นดอกเบี้ยในช่วง เวลาที่ มี ห นี้ อ ยู่ เจ้ า หนี้ จึ ง อาจจะต้ อ งการให้ ลู ก หนี้ ช ำระหนี้ เมื่ อ ถึ ง กำหนดเวลาตามที่ ต กลงกั น ไว้ การที่ ห นี้ มี ลั ก ษณะที่ เป็น Payable จึงหมายถึงหนี้นั้นได้ผ่านช่วงเวลาจนถึงขณะที่ ลูกหนี้จะสามารถชำระหนี้ได้แล้ว คำที่มีความหมายถึงการที่หนี้ถึงกำหนดชำระในลักษณะที่คล้ายคลึงกันเช่นคำว่า Due, Mature ทั้งสองคำนี้เมื่อนำมาใช้ ในเรื่องหนี้จะมีความหมายถึงการที่หนี้ถึงกำหนดเช่นเดียวกัน โดยคำต่างๆ เหล่านี้หากนำไปใช้ในประโยคอาจใช้ได้ในลักษณะ ดังต่อไปนี้ The loan becomes payable on the first business day of next month. (เงินกู้นี้จะถึงกำหนดชำระในวันทำการ แรกของเดือนหน้า) This promissory note becomes due after twelve months from the date of issuance. (ตั๋วสัญญาใช้เงินนี้จะ ถึงกำหนดชำระหลังครบสิบสองเดือนนับแต่วันออกตั๋ว) The creditor is so eager to get paid for the mature loan. (เจ้าหนี้ต้องการที่จะได้รับชำระหนี้เงินกู้คืนอย่างมาก) ทั้งหมดนี้เป็นคำที่น่าสนใจในส่วนที่เกี่ยวกับเรื่อง Penalty Clause สำหรับในตอนต่อไปคงจะนำเรื่องที่น่าสนใจอื่นมา พูดคุยกันต่อไป โปรดติดตามต่อนะครับ • • • 1 Dunlop Pneumatic Tyre Co., Ltd. v. New Garage & Motor Co., Ltd [1915] AC 79, at 87. 4 จดหมายข่าว วิทยบรรณสาร