SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
สรุป ผลการดำา เนิน งานควบคุม วัณ โรค
   พื้น ทีส าธารณสุข ตำา บลบ้า นเกาะ ปีง บประมาณ
          ่
                         2552
            ( ตุล าคม 2551 - กัน ยายน 2552 )
สารบัญ                                                             หน้า
ความเป็นมา                                                            1
การดำาเนินงานค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงพื้นที่สาธารณสุขตำาบลบ้าน
เกาะ ปี 2552          2
การดำาเนินงานขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
          3
การดำาเนินงานติดตามกำากับการกินยาผู้ป่วยวัณโรค
                4          - นวัตกรรมการติดตามกำากับการกินยาของผู้
ป่วยวัณโรค                            4
การดำาเนินงานคัดกรองกลุ่มที่สัมผัสกับผู้ป่วยวัณโรคปอด
          8
ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน
                9
ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน
9

                     ∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗
ความเป็น มา

              วัณโรคนับได้ว่าเป็นโรคติดต่อที่ถือว่าเป็นปัญหาที่สำาคัญด้าน
สาธารณสุขทั่วโลก จากรายงานองค์การอนามัยโลก ( WHO ) ปี 2547
พบว่ า 1 ใน 3 ของประชากรทั่ ว โลกติ ด เชื้ อ วั ณ โรค และร้ อ ยละ 5- 10
ของผู้ติดเชื้อวัณโรคดังกล่าวจะกลายเป็นผู้ป่วยวัณโรคในเวลาต่อมา ใน
แต่ละปีจะมีผู้ป่วยใหม่ ปีละ 8.8 ล้านคน อยู่ในระยะการแพร่เชื้อ 3.9 ล้าน
คน มีผู้ เสียชีวิต จากวัณ โรคปี ล ะ 2 ล้านคน ซึ่งรวมผู้ ป่ว ยวั ณโรคติ ด เชื้ อ
HIV ด้วย
                จากรายงานสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของวั ณ โรคใน
ประเทศ ไทย ปี 2533 พบอั ต ราป่ ว ย เส มห ะพบเชื้ อ 33.4 ต่ อ แส น
ประชากร เพิ่มขึ้นเป็น 63.0 ต่อแสนประชากร ในปี 2549 ซึ่งเป็นแหล่ง
กระจายเชื้อโรคที่สำา คัญ ผนวกกับการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ยิ่งทำา ให้
สถานการณ์ ข องวั ณ โรคทวี ค วามรุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น องค์ ก ารอนามั ย โลก
( WHO ) ได้จัดประเทศไทยอยู่อันดับที่ 17 ของประเทศที่มีอัตราความชุก
ข อ ง วั ณ โ ร ค สู ง สุ ด จ า ก จำา น ว น 22 ป ร ะ เ ท ศ ( Estimated TB
                                    1
Burden,2005 : WHO report 2007 ) ประเทศไทยได้ เ ริ่ ม ใช้ ก ลวิ ธี
ตามองค์การอนามัยโลกที่ได้แนะนำายุทธศาสตร์ใหม่ให้กับประเทศต่างๆใช้
แผนงานควบคุมวัณโรค ด้วยระบบยาระยะสั้น ภายใต้การสังเกตโดยตรง (
Directly Observed Treatment – Short course : DOTS ) ม า
ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ.2539 โดยสำานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวง
สาธารณสุ ข ดำา เนิ น กลยุ ท ธ์ ทั้ ง ระดั บ เขต จั ง หวั ด อำา เภอ ตำา บล ในปี
พ.ศ.2542 ซึ่งทำาให้อัตราความสำาเร็จของการดำาเนินงานดีขึ้น แต่ก็ยังไม่
ผ่ านตัว ชี้วัด ระดับสากล พบว่าอัต ราผลสำา เร็ จ ของการรั ก ษา ( Success
rate ) น้อยกว่าร้อยละ 85 และอัตราการขาดยามากกว่าร้อยละ 5 อีกทั้ง
อัตราการโอนออกโดยไม่ทราบผลการรักษาสูง ( Transfer out ) อาจส่ง
ผลทำา ให้อัตราการดื้อยาของเชื้อวัณโรคสู งตามไปด้ วย ส่งผลกระทบต่อ
แ ผ น ง า น ค ว า ม คุ ม วั ณ โ ร ค แ ห่ ง ช า ติ ( National Tuberculosis
Program : NTP ) จั ง หวั ด นครราชสี ม ายั ง พบปั ญ หาการติ ด ตามผู้ ป่ ว ย
ขาดยา ซึ่ ง ส่ ง ผลทำา ให้ ไ ม่ เ กิ ด ผลสำา เร็ จ ของการรั ก ษาวั ณ โรคในผู้ ป่ ว ย
หลายราย ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำา บลบ้านเกาะ จำา เป็นต้องมีการจัด
ทำา แผนการดำา เนิน งานควบคุ ม วั ณ โรคให้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนยุ ท ธศาสตร์
ระดับ กระทรวง กรม กอง จังหวัด และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เกิด
ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด โดยการดำา เนิน
งานควบคุ ม วั ณ โรคของตำา บลบ้ า นเกาะในครั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น งบ
ประมาณจากกองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพระดั บ ท้ อ งถิ่ น ตำา บลบ้ า นเกาะ


     ตารางที่ 1 แสดงจำานวนประชากรในพื้นที่สาธารณสุข ตำาบลบ้าน
เกาะ อำา เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครราชสี ม า จำา แนกตามกลุ่ ม อายุ และเพศ
ปีงบประมาณ 2552




                                      2
กลุ่ม อายุ     เพศชาย (       เพศหญิง (        รวมทั้ง หมด
                                คน )           คน )             ( คน )
            ตำ่า กว่า 1 ปี       53             49               102
               1 – 4 ปี         297            285               582
               5 – 9 ปี         368            339               707
             10 – 14 ปี         483            447               930
             15 – 19 ปี         374            419               793
             20 – 24 ปี         355            447               802
             25 – 29 ปี         396            418               815
             30 – 34 ปี         417            452               869
             35 – 39 ปี         360            397               757
             40 – 44 ปี         372            407               779
             45 – 49 ปี         340            414               754
             50 – 54 ปี         277            371               648
             55 – 59 ปี         249            292               541
             60 – 64 ปี         184            201               385
             65 – 69 ปี         113            138               251
             70 – 74 ปี         106            121               227
             75 – 79 ปี          73             82               155
             80 – 84 ปี          33             40                73
            85 ปี ขึ้น ไป        25             31                56
                  รวม          4,875          5,350            10,225

              ที่มา : งานระบบข้อมูลหน่วยบริการ ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย


การดำา เนิน งานค้น หาผู้ป ่ว ยวัณ โรคในกลุ่ม เสี่ย ง
      โดยพิ จ ารณาดำา เนิ น การในกลุ่ ม เสี่ ย ง ซึ่ ง ถื อ เป็ น Passive cases
Finding : Hospital bases เช่ น (ผู้ สั ม ผั ส ร่ ว มบ้ า น , 3% ของผู้ รั บ
บริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลและสถานีอนามัย , ผู้ติดเชื้อ เอ็ช ไอ วี
และผู้ป่วยเอดส์ ผู้ต้องขัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน คนที่ถูกระบุในชุมชน
ว่ามีอาการสงสัยและส่งต่อโดย Mr.TB หมู่บ้าน



     ตารางที่ 2 แสดงผลงานตรวจเสมหะกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบคัดกรอง
รายเดือน ปีงบประมาณ 2552
    กลุม เสี่ย ง
       ่               ต     พ    ธ    ม     ก      มี   เม    พ    มิ     ก    ส    ก     รวม
                       ค.    ย.   ค.   ค.    พ.     ค.   ย.    ค.   ย.     ค.   ค.   ย.   ( ราย
                       5     5    5    5     5      5     5    5    5      5    5    5       )
                       1     1    1    2     2      2     2    2    2      2    2    2
1. ผู้มอาการสงสัย
         ี             2     5    3    2     4      5     4    2    1      1    2    2     33
ในชุมชน
   อายุ 15 – 59 ปี
2. ผู้สมผัสร่วมบ้าน
       ั                4    1    3     2       3   2    3      3    1     1    3    1     27
3. ผู้ติดเชื้อ/ผู้      1    5    1     2       2   1    2      4    0     1    1    0     20

                                            3
ป่วย HIV
4. ผู้สูงอายุ          1      6        3   1           1     2     2       2   1       2   3       1    25
5. ผู้ป่วยเบาหวาน      2      3        3   1           1     2     1       1   1       1   2       1    19
6. ผู้ป่วยหอบหืด       0      1        1   2           2     0     1       1   0       2   1       0    11
เรื้อรัง
7. ชุมชนแออัด/ที่      0      0        0   0           0     0     0       0   0       0   0       0     0
เข้าถึงยาก
8. แรงงานต่างด้าว      0      0        0   0           0     0     0       0   0       0   0       0     0
9. ผู้ตองขังในเรือน
         ้             0      0        0   0           0     0     0       0   0       0   0       0     0
จำา
10. ผู้รับบริการ(ผู้   6      1        7   8           2     2     2       5   4       6   6       8    66
ป่วยนอก)                      0
           รวม         1      3        2   1           1     1     1       1   8       1   1       1   201
                       6      1        1   8           5     4     5       8           4   8       3
     ต า ร า ง ที่ 3 แสดงผลการขึ้ นทะเบี ย นผู้ ป่ ว ยวั ณ โรครายใหม่ จาก
การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบล
บ้านเกาะ ปีงบประมาณ 2552
    กลุม เสี่ย ง
       ่               เป้า    ใช้          ส่ง            เสม      อัต รา       ขึน้        ขึน้      สถาน
                       หม     แบบ          ตรวจ             หะ     เสมหะ       ทะเบีย      ทะเบีย         ที่
                        าย     คัด         เสมห            พบ      พบเชือ ้        น           น       รัก ษา
                              กรอง           ะ             เชื้อ               ผูป ่ว ย
                                                                                 ้         ผูป ่ว ย
                                                                                             ้
                                                                               เสมหะ       เสมหะ
                                                                                บวก          ลบ
1. ผู้มอาการสงสัย
       ี               71         71        33              1       3.03           1           1       ศสช.ข
ในชุมชน                                                                                                นาย
                                                                                                       ทั้ง 2
   อายุ 15 – 59 ปี                                                                                     ราย
2. ผู้สมผัสร่วมบ้าน
        ั              56         56        27              0          0           0           0             -
3. ผู้ติดเชื้อ/ผู้     26         26        20              0          0           0           0             -
ป่วย HIV
4. ผู้สูงอายุ          50         50        25              0         0            0           0             -
5. ผู้ป่วยเบาหวาน      30         30        19              1       5.26           1           0       ศสช.ข
                                                                                                        นาย
6. ผู้ป่วยหอบหืด      13          13        11              0          0           0           0             -
เรื้อรัง
7. ชุมชนแออัด/ที่     0            0           0            0          0           0           0             -
เข้าถึงยาก
8. แรงงานต่างด้าว     5            5           0            0          0           0           0             -
9. ผู้ตองขังในเรือน
         ้            0            0           0            0          0           0           0         -
จำา
10. ผู้รับบริการ(ผู้ 225          225       66              0          0           0           0          -
ป่วยนอก)
           รวม       476          476      201              2       1.00           2           1       ศสช.ข
                                                                                                        นาย

ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย
                              ุ
การดำา เนิน งานขึ้น ทะเบีย นผู้ป ่ว ยวัณ โรครายใหม่
                                                   4
ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ดำาเนินการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคราย
ใหม่ โดยผลจากการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงตามกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ
15 ปีขึ้นไป และได้รับการรักษาที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้าน
เกาะในปีงบประมาณ 2552
      ต าร าง ที่ 4 แสดงข้อมูลสำา คัญของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ที่ได้รับ
ก า ร ขึ้ น ท ะ เ บี ย น ข อ ง ศู น ย์ สุ ข ภ า พ ชุ ม ช น ข น า ย ตำา บ ล บ้ า น เ ก า ะ
ปีงบประมาณ 2552
ผูป ่ว ย
  ้          ที่อ ยู่   ประเภ      ผ ล ก า ร ผล         ผล           อาการ         การ
                                   ต ร ว จ             ตรวจ                        รัก ษา
รายใหม่                 ผูป ่ว ย
                          ้        เสมหะ     HIV        ภาพ                        (สูต ร
ที่ข ึ้น                            1 2 3               รัง สี                     ยา )
                                                       ทรวงอ
                                                         ก
นาย บุญ      57     วัณโรค         2   2       2   Neg Cavity     ไอ เสมหะ         CAT 1
เลิศ                ปอด            +   +       +                  เหนียวข้น
จอมเกาะ      ต.บ้าน เสมหะ                                         หอบเหนื่อย
อายุ 43 ปี   เกาะ   บวก                                           เป็นมา
                                                                  2 เดือน
นาย          34     วัณโรค         3   3       3   Neg   Cavity   ไอ เสมหะปน       CAT 1
สุวรรณ              ปอด            +   +       +                  เลือด
แฝงด่าน      ต.บ้าน เ ส ม ห ะ                                     เหนือย
                                                                      ่
กลาง         เกาะ   บวก                                           อ่อนเพลีย
อายุ 57 ปี                                                        เป็นมา 1
                                                                  เดือน
นาย พงษ์     344    วัณโรค N N N Neg                     Cavity   ไอ เจ็บหน้าอก    CAT 3
ศักดิ์              ปอด       eg eg eg                            ไข้
มโนธรรม      ต.บ้าน เ ส ม ห ะ                                     อ่อนเพลีย นำ้า
อายุ 33 ปี   เกาะ   ลบ                                            หนักลด
                                                                  เป็นมา 1 เดือน
ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย
                              ุ
การดำา เนิน งานติด ตามกำา กับ การกิน ยาผู้ป ่ว ยวัณ โรค
     ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้ดำาเนินการติดตามการกำากับการกินยา
ของผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคซึ่งเป็นผู้ป่วย
วัณโรครายใหม่ทั้งหมด โดยทีมงานสุขภาพ ซึ่งประกอบไปด้วย
     - แพทย์ประจำาศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย
     - พยาบาลบาลวิชาชีพ
     - นักวิชาการสาธารณสุข ( TB Manager, Mr.TB )
     - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำาหมู่บ้าน ( อสม. )
     - ผู้นำาชุมชน/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
     - คณะกรรมการควบคุมวัณโรคระดับหมู่บ้าน
     ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้สร้างนวัตกรรมในการติดตามการกำากับ
การกินยาของผู้ป่วยวัณโรค ที่มีชื่อว่า “ ปฏิทินยาคู่กาย ใส่ใจสุขภาพ ”
ควบคู่กับ การบริหารยาแบบมีพี่เลี้ยง เรียกว่า DOTS ( Directly
                                           5
Observed Treatment, Short-Course ) หรือ การรักษาวัณโรคด้วย
ระบบยาระยะสั้นภายใต้การสังเกตโดยตรง ซึ่งถือว่าเป็นวิธีที่มี
ประสิทธิภาพมากที่สุดในการควบคุมการระบาดของวัณโรคในปัจจุบัน
     ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้รับงบประมาณการสนับสนุนการดำาเนิน
งานควบคุมวัณโรค ปีงบประมาณ 2552 จากกองหลักประกันสุขภาพ
ระดับท้องถิ่น ตำาบลบ้านเกาะ เป็นจำานวนทั้งสิ้น 24,000 บาท
นวัต กรรมการติด ตามกำา กับ การกิน ยาของผู้ป ่ว ยวัณ โรค

                         ปฏิท ิน ยาคู่ก าย ใส่ใ จสุข ภาพ
หลัก การและเหตุ
       ปั ญหาการแพร่กระจ่ายเชื้อ วัณ โรคในชุม ชนและความล้ ม เหลวใน
การรั ก ษาผู้ ป่ ว ยวั ณ โรคในพื้ น ที่ ตำา บลบ้ า นเกาะ ในอดี ต ที่ ผ่ า นมา การ
แก้ ไขปั ญ หาวั ณ โรคให้ไ ด้ผ ล คื อ การตั ด วงจรการแพร่ ก ระจายที่ แหล่ ง
แพร่เชื้อโดยตรง แหล่งแพร่เชื้อที่สำาคัญก็คือ ตัวผู้ป่วยวัณโรค ( ระยะแพร่
เชื้อ ) ที่ ยังรักษาไม่ห าย หรือ ขาดการรั กษา การมี พี่เลี้ย งคอยดู แลให้ ผู้
ป่วยได้รับยาครบถ้วนทุกมื้อ เพื่อให้แน่ใจว่าหายจากวัณโรคนับว่าเป็นสิ่ง
สำาคัญ ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย จึงได้จัดทำาปฏิทินกำากับการกินยาเพื่อใช้
ประกอบการดูแลให้ผู้ป่วยวัณโรคกินยาต่อหน้าจนครบกำา หนดการรักษา
เพราะปัญหาการกินยาไม่ครบ โดยส่วนใหญ่เกิดจาก
       - การลืมกินยา จำาไม่ได้ว่ากินยาหรือยัง
       - ผลข้างเคียงของยา ทำาให้ไม่อยากกินยาต่อ
       - การออกไปทำาธุระนอกบ้าน
       - ท้อแท้ ขาดกำาลังใจ
       การใช้ ป ฏิ ทิ น กำา กั บ การกิ น ยาควบคู่ กั บ การมี พี้ เ ลี้ ย ง จะทำา ให้ เ กิ ด
ความสะดวกในการกินยาและการติดตาม ป้องกัน การลืมกินยา เพราะมี
วันที่ระบุชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถตรวจสอบได้
วัต ถุป ระสงค์
       1. เพื่อเตือนการกินยา
       2. เพื่อตรวจสอบการกำากับการกินยา ตามตารางวันที่
       3. เพื่อความสะดวก ครบถ้วน สามารถตรวจสอบได้ทันที
ขั้น เตรีย มการ
       - ประชุม ทีม งาน เพื่อ ค้นหาสาเหตุ การขาดยา การลื ม กิ นยา ว่า
            เกิดจากสาเหตุใด
       - กำาหนดรูปแบบ หาแนวทางแก้ไข
       - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ( แฟ้ม , ตารางปฏิทิน ,จัดทำา Pre-pack
            ยา )
       - ประชุมชี้แจ้ง เจ้าหน้าที่ทุกระดับ พี่เลี้ยง ผู้ป่วย อธิบายการใช้
            ปฏิทินกำากับการกินยา

                                          6
ระยะเวลาดำา เนิน การ
       1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2552
ขั้น ดำา เนิน การ
       - จัดเตรียมปฏิทินกำากับการกินยาสำาหรับผู้ป่วยในแต่ละราย พร้อม
           ปฏิทินกำากับการติดตามสำาหรับ
เจ้าหน้าที่
       - จัดทำา Pre-pack ยา สำาหรับผู้ป่วย ตามตารางปฏิทิน
       - จัดการส่งต่อเวรระหว่าง Mister TB กับเจ้าหน้าที่เวรในแต่ละวัน
           ทุกวันพร้อม แฟ้มประวัติการ
รักษาของผู้ป่วยวัณโรค
       - ลงทะเบี ย นในตารางปฏิ ทิ น ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ ผู้ ป่ ว ยกิ น ยาต่ อ หน้ า
           เรียบร้อยแล้ว
       รู ป ภ า พ ที่ 1 แสดงข้อ มู ล สำา คั ญ ของแฟ้ ม ชุ ด ปฏิ ทิ น กั บ การกิ น ยา
       ของผู้ป่วยวัณโรค

      -
      รู ป ภ า พ ที่ 2 แสดงรู ป แบบปฏิ ทิ น กำา กั บ การกิ น ยาของผู้ ป่ ว ย
      วัณโรค ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย




ตำาบลบ้านเกาะ       อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา
      ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย
                                    ุ
     รูป ภาพที่ 3 แสดงรูปแบบปฏิทินติดตามกำากับการกินยาของผู้ป่วย
วัณโรค สำาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย
ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

                                      7
ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย
                                   ุ

     รู ป ภ า พ ที่ 4 แสดงชุ ด ปฏิ ทิ น กั บ การกิ น ยาของผู้ ป่ ว ยวั ณ โรค (




ปฏิทินยาคู่กาย ใส่ใจสุขภาพ )

     ต า ร า ง ที่ 5 แสดงผลการดำา เนิ น งานกำา กั บ การกิ น ยาของผู้ ป่ ว ย
     วัณโรค ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย
ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา




                                    8
ผูป ่ว ย
   ้         วิน ิจ ฉัย    การ           ระยะเข้ม            ระยะเข้ม ข้น    ระยะต่อ เนือ ง่
                                     ข้น 2 สัป ดาห์          สัป ดาห์ท ี่3-8             เดือ น
 ที่ข ึ้น      วัน /      ( สูต ร            แรก                ( Initail                ที่3-6
ทะเบีย                     ยา)            ( Initail             phase )     ( Continuatio
    น                                    phase )                            n phase )
นาย บุญ      วัณโรค       CAT 1     29 ม .ค .52 –          13 ก .พ .52 – 30 มี .ค .52 –
  เลิศ       ปอด                    12 ก.พ.52              29 มี.ค.52       27 ก.ค.52
จอมเกาะ      เสมหะ                  ผู้ ป่ ว ย ม า รั บ    ผู้ป่วยรับ       ผู้ป่วยรับประทาน
อายุ 43      บวก                    ประทานยา               ประทานยาที่      ยาที่บ้านโดยพี้
                                    ที่ PCU ทุ ก วั น ต่ อ บ้านโดยพี้เลี้ยง เลี้ยงกำากับการ
             29 ม.ค.                ห น้ า จ น ท .เ ว ร    กำากับการกินยา กินยา และ
             2552                   ใ น ช่ ว ง เ ว ล า     และ              จนท.ติดตาม
                                    17.00                – จนท.ติดตาม       เยี่ยมเดือนละ 1
                                    19.00 น.               เยี่ยมสัปดาห์ละ  ครั้ง
                                                           1 ครั้ง
นาย          วัณโรค       CAT 1       5 ก .พ .52 – 18 ก.พ.52 – 5 6 เม .ย.52 – 3
สุวรรณ       ปอด                    19 ก.พ.52              เม.ย.52          ส.ค.52
แฝงด่าน      เสมหะ                  ผู้ ป่ ว ย ม า รั บ ผู้ป่วยรับ          ผู้ป่วยรับประทาน
กลาง         บวก                    ป ร ะ ท า น ย า ประทานยาที่             ยาที่บ้านโดยพี้
อายุ 57                             ที่ PCU ทุ ก วั น ต่ อ บ้านโดยพี้เลี้ยง เลี้ยงกำากับการ
              5                     หน้ า จนท. เวร กำากับการกินยา กินยา และ
             ก.พ.255                ใ น ช่ ว ง เ ว ล า และจนท.ติดตาม จนท.ติดตาม
             2                      17.00                – เยี่ยมสัปดาห์ละ  เยี่ยมเดือนละ 1
                                    19.00 น.               1 ครั้ง          ครั้ง
  นาย        วัณโรค       CAT 3     23 ก.พ.52 – 23 เม.ย.52                  24 เม.ย.52 –
พงษ์ศักดิ์   ปอด                    ผู้ ป่ ว ยรั บ ประทานยาที่ บ้ า นโดยพี้ 21 ส.ค.52
มโนธรร       เสมหะลบ                เ ลี้ ย ง กำา กั บ ก า ร กิ น ย า แ ล ะ ผู้ป่วยรับประทาน
   ม                                จนท.ติดตามเยี่ยมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ยาที่บ้านโดยพี้
อายุ 33      23 ก.พ.                                                        เลี้ยงกำากับการ
             2552                                                           กินยา และ
                                                                            จนท.ติดตาม
                                                                            เยี่ยมเดือนละ 1
                                                                            ครั้ง
ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย
                              ุ
       แนวทางการดำาเนินการ DOT ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย มีหลักการ
พิ จ ารณาบุ ค คลที่ จ ะทำา หน้ า ที่ ใ ห้ DOT( DOT observer ) ตามลำา ดั บ
ความสำาคัญดังนี้
       - ความน่าเชื่อถือ ( Accountability ) เป็นความสำาคัญอันดับแรก
       - ความสะดวกในการเข้าถึงบริการ ( Accessibility )
       - การยอมรับของผู้ป่วย ( Acceptance )
       เมื่ อ แพทย์ วิ นิ จ ฉั ย โรคและกำา หนดระบบยารั ก ษาโรคแล้ ว ศู น ย์
       สุขภาพชุมชนขนาย ได้นัดผู้ป่วยวัณโรค
ทั้ ง 3 รายและครอบครัวมาให้ สุ ข ศึ กษา อธิบ ายถึ ง ความจำา เป็ นที่ จ ะต้ อ ง
รักษาแบบ DOT ควบคู่กับการใช้ปฏิทินกำากับการกินยาของผู้ป่วยวัณโรค
                                             9
เพื่อ ให้ มีความเข้าใจในระบบการรั ก ษา ซึ่งจะทำา ให้ เกิ ด ความสะดวกใน
การกินยาของผู้ป่วย และการกำากับการกินยาของพี้เลี้ยงที่ดูแลผู้ป่วย รวม
ทั้งการติดตามการกำากับการกินยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในแต่ละราย

การดำา เนิน งานคัด กรองกลุ่ม ที่ส ัม ผัส กับ ผู้ป ่ว ยวัณ โรคปอด
      ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้ดำาเนินการคัดกรองกลุ่มที่สัมผัสกับผู้
ป่วยวัณโรคปอดที่มีเสมหะบวก โดยทำาการคัดกรองกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วย
วัณโรคปอดเสมหะบวก แยกเป็น 2 กลุ่มดังนี้
      1. กลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ทุกคนในบ้าน โดยการซักประวัติอาการเจ็บ
         ป่วย ตรวจร่างกายทั่วไป ตรวจเสมหะ 3 ครั้ง ( Collected
         sputum ) และตรวจภาพรังสีปอด
      2. กลุ่มอายุตำ่ากว่า 15 ปี  ทุกคนในบ้าน โดยการซักประวัติ
         อาการเจ็บป่วย ตรวจร่างกายทั่วไป ทำาการทดสอบทูเบอร์คุลิน
         และตรวจภาพรังสีปอด
      ตารางที่ 6 แสดงผลการดำาเนินงานคัดกรองกลุ่มผู้สัมผัสกับผู้
      ป่วยวัณโรคปอดที่มีเสมหะบวก
ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัด
นครราชสีมา
กลุ่ม ผู้ส ม ผัส ผู้
           ั           จำา นว ตรวจเสมหะ        ตรวจ      ทดสอบ
      ป่ว ย               น   3 ครั้ง           ภาพ      ทูเ บอร์ค ุ    การรัก ษา    สถา
วัณ โรคเสมหะ           ( คน                     รัง สี       ลิน                       น
      บวก                 )                     ปอด                                    ที่
                              เสมห เสมห        ผ ผิ      ผล    ผล                    รัก ษ
                              ะเป็น ะเป็น      ล     ด   <     >                       า
                               ลบ     บวก      ป ป       15    15
                                               ก ก       มม.   มม.
                                               ติ ติ
กลุ่มอายุ 15 ปี         27    27      0        2 0        -       -         -          -
ขึ้นไป                                         7
กลุ่มอายุตำ่ากว่า       28     -      -        2 0       26      2     Isoniazid     PCU
15 ปี                                          8                       วันละ 200     ขนา
                                                                       มก.เป็นเวลา    ย
                                                                       6 เดือน
                                                                       ทั้ง 2 ราย

       จากการคัดกรองกลุ่มผู้สัมผัสกับผู้ป่วยวัณโรคปอดที่มีเสมหะบวก ไม่
พบการติดเชื้อในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ส่วนกลุ่มอายุตำ่ากว่า 15 ปี พบว่า
ผลของการทดสอบทูเบอร์คุลินเป็นบวก 2 ราย เป็นเด็กอายุ 5 ปี และ 7 ปี
ตามลำา ดับ ซึ่งมีประวัติเป็นสัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก และอาศัย
อยู่บ้านเดียวกัน แต่มีประวัติการได้รับวัคซีนบีซีจี ครบ ผลตรวจภาพรังสี
ปอดไม่พบความผิดปกติที่เข้าได้กับวัณโรคปอด ซึ่งทั้ง 2 ราย ได้รับยา
                                          10
ป้องกันวัณโรคในเด็ก คือ Isoniazid ขนาด 200 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง
เป็นเวลา 6 เดือน โดยใช้ ชุดปฏิทินยาคู่กาย ใส่ใจสุขภาพ ควบคู่กับการมี
พี่ เลี้ ยงในการกำา กับการกินยาป้ อ งกั นวั ณ โรคในเด็ ก เช่นเดี ย วกั บ ผู้ ป่ว ย
วัณโรค
ผลการรัก ษาเมื่อ สิ้น สุด การรัก ษาของผู้ป ่ว ยวัณ โรคที่ข ึ้น ทะเบีย น
            ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคปอด ที่ขึ้น
            ทะเบียนของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552
    ต า ร า ง ที่ 7 ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณ โรค
ปอด ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552
 ผูป ่ว ย วิน ิจ ฉั
   ้                     การ     ผลเสมหะ ผลการตรวจ               ผลการรัก ษา วัน สิน
                                                                                   ้
           วั       ย    รัก ษา   เดือ นที่ ภาพรัง สีป อด            วัณ โรค   สุด
          ณ         โ    ( สูต ร 0 2 5 6                        1 2 3 4 5 6 การ
           โ        ร    ยา )                                                รัก ษา
           ร        ค
           ค วัน /
  ที่ข ึ้น          เ
 ทะเบีย             ด
     น              ืื
                    อ
                    น
                    /
                    ป
                    ืี
นาย บุญ วัณโรค           CAT    + -     -   -   เดือน   Cavit   / /            31
   เลิศ       ปอด         1     +               ที่ 0   y                      ก.ค.5
จอมเกาะ เสมหะ                                   เดือน   Cavit                  2
อายุ 43 บวก                                     ที่ 2   y
           ปี 29                                เดือน   Non-
              ม.ค.52                            ที่ 6   cavi
นาย           วัณโรค     CAT    + -     -   -   เดือน   Cavit   / /            5
สุวรรณ        ปอด         1     +               ที่ 0   y                      ส.ค.5
แฝงด่าน เสมหะ                   +               เดือน   Cavit                  2
กลาง          บวก                               ที่ 2   y
อายุ 57 5                                       เดือน   Non-
           ปี ก.พ.52                            ที่ 6   cavi
   นาย        วัณโรค     CAT    -   -   * -     เดือน   Cavit   / /            21
พงษ์ศักดิ์ ปอด            3                     ที่ 0   y                      ส.ค.5
มโนธรร เสมหะ                                    เดือน   Non-                   2
     ม        ลบ                                ที่ 2   cavi
อายุ 33 23                                      เดือน   Non-
           ปี ก.พ.52                            ที่ 6   cavi
ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย
                              ุ
: ผลการรักษา : 1 = รักษาหาย 2 = รักษาครบ 3 = รักษาล้มเหลว 4 = ตาย 5 = ขาดยา 6 =
โอนออก( ไม่ทราบผลการรักษา )
                                            11
รูป ภาพที่ 5 แสดงผลตรวจภาพรังสีปอดของผู้ป่วยวัณโรค เมื่อสิ้น
สุดการรักษา ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552
      ผูป ่ว ย
        ้           วิน ิจ ฉัย     การ             ผลการตรวจภาพรัง สีป อด
           วัณ โ           โรค    รัก ษา      เดือ นที่ 0 เดือ นที่ 2 เดือ นที่ 6
              รค       วัน /    ( สูต รยา
      ที่ข ึ้น             เดือ      )
     ทะเบีย น               น/
                             ปี
    นาย บุญเลิศ      วัณโรค      CAT 1
      จอมเกาะ          ปอด
     อายุ 43 ปี    เสมหะบวก
                   29 ม.ค.52
    นาย สุวรรณ       วัณโรค          CAT 1
      แฝงด่าน          ปอด
       กลาง        เสมหะบวก
     อายุ 57 ปี    5 ก.พ.52
     นาย พงษ์        วัณโรค          CAT 3
       ศักดิ์          ปอด
     มโนธรรม        เสมหะลบ
     อายุ 33 ปี        23
                     ก.พ.52




การประเมิน ผลการดำา เนิน งานตามตัว ชี้ว ัด ของยุท ธศาสตร์ด ้า น
สาธารณสุข
     ผลการประเมินการดำาเนินงานควบคุมวัณโรคในพื้นที่สาธารณสุข
ตำาบลบ้านเกาะ ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ด้าน
สาธารณสุข ปีงบประมาณ 2552
     ตารางที่ 8 แสดงผลการดำาเนินงานตามตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์
ด้านสาธารณสุข ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552
                       ตัว ชี้ว ัด                        เป้า    ผล         ผล
                                                                  งาน      ประเมิน
1.อัตราความสำาเร็จของการรักษาวัณโรค ( Success               2      2        100
Rate ) มากกว่า ร้อยละ 90
2.อัตราการรักษาหายขาดของการรักษาวัณโรค (Cure                2       2        100
Rate) มากกว่า ร้อยละ 90
3.อัตราการขาดยาวัณโรค ( Default Rate) น้อยกว่า              2       0         0
ร้อยละ 3
4.ความครอบคลุมการค้นหาผู้ป่วยใหม่ (Passive cases           79     201        100
Finding) ร้อยละ 100

                                         12
5.อัตราการเปลี่ยนของผลเสมหะจากบวกกลับเป็นลบใน      2         2        100
ช่วงการรักษา
   ระยะเข้มข้น (conversion rate) มากกว่า ร้อยละ 90
6.ความครอบคลุมการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้น ภายใต้
                                                   2         2        100
               การสังเกตโดยตรง
   (Directly Observed Treatment Short course:
               DOTS) มากกว่าร้อยละ 95

ข้อ เสนอแนะในการป้อ งกัน และควบคุม วัณ โรค
         ในการควบคุมวัณโรคของพื้นที่สาธารณสุขตำาบลบ้านเกาะ ส่วนมาก
พื้ นที่ ในละแวกที่ พบผู้ป่ ว ยวั ณ โรครายใหม่ เสมหะบวก มั ก พบว่ า ยั ง เกิ ด
ปั ญ หาในด้า นความสะอาดด้ านสาธารณสุ ข สิ่ ง แวดล้ อ มของบ้ า นเรื อ นผู้
ป่วยและบริเวณใกล้เคียง ซึ่งอาจเกิดปัญหาที่จะตามมาก็คือ เป็นแหล่งของ
เชื้อวัณโรค หากไม่ได้รับการดูแลจาก ประชาชนในละแวก รวมไปถึงผู้นำา
ชุ มชน องค์กรปกครองส่วนท้ อ งถิ่ น ซึ่งต้อ งเข้ามามีบ ทบาทในการสร้ าง
ความสะอาด ความปลอดภัย ความเป็ น ระเบี ย บ ของละแวกที่ พ บผู้ ป่ว ย
และขยายไปถึงละแวกพื้นที่ข้ างเคี ย ง เพื่อเป็นการป้องกั นการสะสมของ
เชื้อโรคที่สำาคัญ โดยเฉพาะเชื้อวัณโรค อันจะส่งผลโดยตรงให้การดูแลผู้
ป่วยวัณโรคเสมหะบวกด้วยการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้น ภายใน
ก า ร สั ง เ ก ต โ ด ย ต ร ง ( Directly Observed Treatment – Short
Course : DOTS ) เป็นไปอย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภาพ ไม่เกิด การแพร่ กระจาย
เชื้อในชุมชน

เอกสารอ้า งอิง

1. กลุ่ ม งานระบาดวิ ท ยาโรคติ ด เชื้ อ กองระบาดวิ ท ยา สำา นั ก งานปลั ด
   กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข.
   การควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อประเทศไทย. ธันวาคม 2543 :
   โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ ( ร.ส.พ. )
2. งานควบคุ ม วั ณ โรค กลุ่ม งานควบคุ ม วั ณ โรค สำา นั ก งานสาธารณสุ ข
   จังหวัดนครราชสีมา.
   แผนยุท ธศาสตร์ การดำา เนิ น งานควบคุ ม วั ณ โรคจั งหวั ด นครราชสี ม า
ปีงบประมาณ 2552 – 2554
3. สำา นั ก วั ณ โรค กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุ ข .แนวทาง
   มาตรฐานการดำาเนินงานวัณโรคสำาหรับ
   คลินิกวัณโรค. ธันวาคม 2544 : โรงพิมพ์ สำา นักงานพระพุทธศาสนา
   แห่งชาติ




                                    13

Contenu connexe

En vedette

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

เรื่องเล่าจาก Pcu ขนาย

  • 1. สรุป ผลการดำา เนิน งานควบคุม วัณ โรค พื้น ทีส าธารณสุข ตำา บลบ้า นเกาะ ปีง บประมาณ ่ 2552 ( ตุล าคม 2551 - กัน ยายน 2552 ) สารบัญ หน้า ความเป็นมา 1 การดำาเนินงานค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงพื้นที่สาธารณสุขตำาบลบ้าน เกาะ ปี 2552 2 การดำาเนินงานขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ 3 การดำาเนินงานติดตามกำากับการกินยาผู้ป่วยวัณโรค 4 - นวัตกรรมการติดตามกำากับการกินยาของผู้ ป่วยวัณโรค 4 การดำาเนินงานคัดกรองกลุ่มที่สัมผัสกับผู้ป่วยวัณโรคปอด 8 ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน 9 ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคที่ขึ้นทะเบียน 9 ∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗∗ ความเป็น มา วัณโรคนับได้ว่าเป็นโรคติดต่อที่ถือว่าเป็นปัญหาที่สำาคัญด้าน สาธารณสุขทั่วโลก จากรายงานองค์การอนามัยโลก ( WHO ) ปี 2547 พบว่ า 1 ใน 3 ของประชากรทั่ ว โลกติ ด เชื้ อ วั ณ โรค และร้ อ ยละ 5- 10 ของผู้ติดเชื้อวัณโรคดังกล่าวจะกลายเป็นผู้ป่วยวัณโรคในเวลาต่อมา ใน แต่ละปีจะมีผู้ป่วยใหม่ ปีละ 8.8 ล้านคน อยู่ในระยะการแพร่เชื้อ 3.9 ล้าน คน มีผู้ เสียชีวิต จากวัณ โรคปี ล ะ 2 ล้านคน ซึ่งรวมผู้ ป่ว ยวั ณโรคติ ด เชื้ อ HIV ด้วย จากรายงานสถานการณ์ ก ารแพร่ ร ะบาดของวั ณ โรคใน ประเทศ ไทย ปี 2533 พบอั ต ราป่ ว ย เส มห ะพบเชื้ อ 33.4 ต่ อ แส น ประชากร เพิ่มขึ้นเป็น 63.0 ต่อแสนประชากร ในปี 2549 ซึ่งเป็นแหล่ง กระจายเชื้อโรคที่สำา คัญ ผนวกกับการแพร่ระบาดของโรคเอดส์ยิ่งทำา ให้ สถานการณ์ ข องวั ณ โรคทวี ค วามรุ น แรงยิ่ ง ขึ้ น องค์ ก ารอนามั ย โลก ( WHO ) ได้จัดประเทศไทยอยู่อันดับที่ 17 ของประเทศที่มีอัตราความชุก ข อ ง วั ณ โ ร ค สู ง สุ ด จ า ก จำา น ว น 22 ป ร ะ เ ท ศ ( Estimated TB 1
  • 2. Burden,2005 : WHO report 2007 ) ประเทศไทยได้ เ ริ่ ม ใช้ ก ลวิ ธี ตามองค์การอนามัยโลกที่ได้แนะนำายุทธศาสตร์ใหม่ให้กับประเทศต่างๆใช้ แผนงานควบคุมวัณโรค ด้วยระบบยาระยะสั้น ภายใต้การสังเกตโดยตรง ( Directly Observed Treatment – Short course : DOTS ) ม า ตั้งแต่ปลายปี พ.ศ.2539 โดยสำานักวัณโรค กรมควบคุมโรค กระทรวง สาธารณสุ ข ดำา เนิ น กลยุ ท ธ์ ทั้ ง ระดั บ เขต จั ง หวั ด อำา เภอ ตำา บล ในปี พ.ศ.2542 ซึ่งทำาให้อัตราความสำาเร็จของการดำาเนินงานดีขึ้น แต่ก็ยังไม่ ผ่ านตัว ชี้วัด ระดับสากล พบว่าอัต ราผลสำา เร็ จ ของการรั ก ษา ( Success rate ) น้อยกว่าร้อยละ 85 และอัตราการขาดยามากกว่าร้อยละ 5 อีกทั้ง อัตราการโอนออกโดยไม่ทราบผลการรักษาสูง ( Transfer out ) อาจส่ง ผลทำา ให้อัตราการดื้อยาของเชื้อวัณโรคสู งตามไปด้ วย ส่งผลกระทบต่อ แ ผ น ง า น ค ว า ม คุ ม วั ณ โ ร ค แ ห่ ง ช า ติ ( National Tuberculosis Program : NTP ) จั ง หวั ด นครราชสี ม ายั ง พบปั ญ หาการติ ด ตามผู้ ป่ ว ย ขาดยา ซึ่ ง ส่ ง ผลทำา ให้ ไ ม่ เ กิ ด ผลสำา เร็ จ ของการรั ก ษาวั ณ โรคในผู้ ป่ ว ย หลายราย ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำา บลบ้านเกาะ จำา เป็นต้องมีการจัด ทำา แผนการดำา เนิน งานควบคุ ม วั ณ โรคให้ ส อดคล้ อ งกั บ แผนยุ ท ธศาสตร์ ระดับ กระทรวง กรม กอง จังหวัด และเป็นไปในทิศทางเดียวกัน เกิด ประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันมากที่สุด โดยการดำา เนิน งานควบคุ ม วั ณ โรคของตำา บลบ้ า นเกาะในครั้ ง นี้ ไ ด้ รั บ การสนั บ สนุ น งบ ประมาณจากกองทุ น หลั ก ประกั น สุ ข ภาพระดั บ ท้ อ งถิ่ น ตำา บลบ้ า นเกาะ ตารางที่ 1 แสดงจำานวนประชากรในพื้นที่สาธารณสุข ตำาบลบ้าน เกาะ อำา เภอเมื อ ง จั ง หวั ด นครราชสี ม า จำา แนกตามกลุ่ ม อายุ และเพศ ปีงบประมาณ 2552 2
  • 3. กลุ่ม อายุ เพศชาย ( เพศหญิง ( รวมทั้ง หมด คน ) คน ) ( คน ) ตำ่า กว่า 1 ปี 53 49 102 1 – 4 ปี 297 285 582 5 – 9 ปี 368 339 707 10 – 14 ปี 483 447 930 15 – 19 ปี 374 419 793 20 – 24 ปี 355 447 802 25 – 29 ปี 396 418 815 30 – 34 ปี 417 452 869 35 – 39 ปี 360 397 757 40 – 44 ปี 372 407 779 45 – 49 ปี 340 414 754 50 – 54 ปี 277 371 648 55 – 59 ปี 249 292 541 60 – 64 ปี 184 201 385 65 – 69 ปี 113 138 251 70 – 74 ปี 106 121 227 75 – 79 ปี 73 82 155 80 – 84 ปี 33 40 73 85 ปี ขึ้น ไป 25 31 56 รวม 4,875 5,350 10,225 ที่มา : งานระบบข้อมูลหน่วยบริการ ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย การดำา เนิน งานค้น หาผู้ป ่ว ยวัณ โรคในกลุ่ม เสี่ย ง โดยพิ จ ารณาดำา เนิ น การในกลุ่ ม เสี่ ย ง ซึ่ ง ถื อ เป็ น Passive cases Finding : Hospital bases เช่ น (ผู้ สั ม ผั ส ร่ ว มบ้ า น , 3% ของผู้ รั บ บริการผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลและสถานีอนามัย , ผู้ติดเชื้อ เอ็ช ไอ วี และผู้ป่วยเอดส์ ผู้ต้องขัง ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเบาหวาน คนที่ถูกระบุในชุมชน ว่ามีอาการสงสัยและส่งต่อโดย Mr.TB หมู่บ้าน ตารางที่ 2 แสดงผลงานตรวจเสมหะกลุ่มเสี่ยงโดยใช้แบบคัดกรอง รายเดือน ปีงบประมาณ 2552 กลุม เสี่ย ง ่ ต พ ธ ม ก มี เม พ มิ ก ส ก รวม ค. ย. ค. ค. พ. ค. ย. ค. ย. ค. ค. ย. ( ราย 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 5 ) 1 1 1 2 2 2 2 2 2 2 2 2 1. ผู้มอาการสงสัย ี 2 5 3 2 4 5 4 2 1 1 2 2 33 ในชุมชน อายุ 15 – 59 ปี 2. ผู้สมผัสร่วมบ้าน ั 4 1 3 2 3 2 3 3 1 1 3 1 27 3. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ 1 5 1 2 2 1 2 4 0 1 1 0 20 3
  • 4. ป่วย HIV 4. ผู้สูงอายุ 1 6 3 1 1 2 2 2 1 2 3 1 25 5. ผู้ป่วยเบาหวาน 2 3 3 1 1 2 1 1 1 1 2 1 19 6. ผู้ป่วยหอบหืด 0 1 1 2 2 0 1 1 0 2 1 0 11 เรื้อรัง 7. ชุมชนแออัด/ที่ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 เข้าถึงยาก 8. แรงงานต่างด้าว 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 9. ผู้ตองขังในเรือน ้ 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 จำา 10. ผู้รับบริการ(ผู้ 6 1 7 8 2 2 2 5 4 6 6 8 66 ป่วยนอก) 0 รวม 1 3 2 1 1 1 1 1 8 1 1 1 201 6 1 1 8 5 4 5 8 4 8 3 ต า ร า ง ที่ 3 แสดงผลการขึ้ นทะเบี ย นผู้ ป่ ว ยวั ณ โรครายใหม่ จาก การค้นหาผู้ป่วยรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบล บ้านเกาะ ปีงบประมาณ 2552 กลุม เสี่ย ง ่ เป้า ใช้ ส่ง เสม อัต รา ขึน้ ขึน้ สถาน หม แบบ ตรวจ หะ เสมหะ ทะเบีย ทะเบีย ที่ าย คัด เสมห พบ พบเชือ ้ น น รัก ษา กรอง ะ เชื้อ ผูป ่ว ย ้ ผูป ่ว ย ้ เสมหะ เสมหะ บวก ลบ 1. ผู้มอาการสงสัย ี 71 71 33 1 3.03 1 1 ศสช.ข ในชุมชน นาย ทั้ง 2 อายุ 15 – 59 ปี ราย 2. ผู้สมผัสร่วมบ้าน ั 56 56 27 0 0 0 0 - 3. ผู้ติดเชื้อ/ผู้ 26 26 20 0 0 0 0 - ป่วย HIV 4. ผู้สูงอายุ 50 50 25 0 0 0 0 - 5. ผู้ป่วยเบาหวาน 30 30 19 1 5.26 1 0 ศสช.ข นาย 6. ผู้ป่วยหอบหืด 13 13 11 0 0 0 0 - เรื้อรัง 7. ชุมชนแออัด/ที่ 0 0 0 0 0 0 0 - เข้าถึงยาก 8. แรงงานต่างด้าว 5 5 0 0 0 0 0 - 9. ผู้ตองขังในเรือน ้ 0 0 0 0 0 0 0 - จำา 10. ผู้รับบริการ(ผู้ 225 225 66 0 0 0 0 - ป่วยนอก) รวม 476 476 201 2 1.00 2 1 ศสช.ข นาย ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย ุ การดำา เนิน งานขึ้น ทะเบีย นผู้ป ่ว ยวัณ โรครายใหม่ 4
  • 5. ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ดำาเนินการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคราย ใหม่ โดยผลจากการคัดกรองในกลุ่มเสี่ยงตามกลุ่มเป้าหมายประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป และได้รับการรักษาที่ ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้าน เกาะในปีงบประมาณ 2552 ต าร าง ที่ 4 แสดงข้อมูลสำา คัญของผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ที่ได้รับ ก า ร ขึ้ น ท ะ เ บี ย น ข อ ง ศู น ย์ สุ ข ภ า พ ชุ ม ช น ข น า ย ตำา บ ล บ้ า น เ ก า ะ ปีงบประมาณ 2552 ผูป ่ว ย ้ ที่อ ยู่ ประเภ ผ ล ก า ร ผล ผล อาการ การ ต ร ว จ ตรวจ รัก ษา รายใหม่ ผูป ่ว ย ้ เสมหะ HIV ภาพ (สูต ร ที่ข ึ้น 1 2 3 รัง สี ยา ) ทรวงอ ก นาย บุญ 57 วัณโรค 2 2 2 Neg Cavity ไอ เสมหะ CAT 1 เลิศ ปอด + + + เหนียวข้น จอมเกาะ ต.บ้าน เสมหะ หอบเหนื่อย อายุ 43 ปี เกาะ บวก เป็นมา 2 เดือน นาย 34 วัณโรค 3 3 3 Neg Cavity ไอ เสมหะปน CAT 1 สุวรรณ ปอด + + + เลือด แฝงด่าน ต.บ้าน เ ส ม ห ะ เหนือย ่ กลาง เกาะ บวก อ่อนเพลีย อายุ 57 ปี เป็นมา 1 เดือน นาย พงษ์ 344 วัณโรค N N N Neg Cavity ไอ เจ็บหน้าอก CAT 3 ศักดิ์ ปอด eg eg eg ไข้ มโนธรรม ต.บ้าน เ ส ม ห ะ อ่อนเพลีย นำ้า อายุ 33 ปี เกาะ ลบ หนักลด เป็นมา 1 เดือน ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย ุ การดำา เนิน งานติด ตามกำา กับ การกิน ยาผู้ป ่ว ยวัณ โรค ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้ดำาเนินการติดตามการกำากับการกินยา ของผู้ป่วยวัณโรคที่ได้รับการขึ้นทะเบียนผู้ป่วยวัณโรคซึ่งเป็นผู้ป่วย วัณโรครายใหม่ทั้งหมด โดยทีมงานสุขภาพ ซึ่งประกอบไปด้วย - แพทย์ประจำาศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย - พยาบาลบาลวิชาชีพ - นักวิชาการสาธารณสุข ( TB Manager, Mr.TB ) - อาสาสมัครสาธารณสุขประจำาหมู่บ้าน ( อสม. ) - ผู้นำาชุมชน/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น - คณะกรรมการควบคุมวัณโรคระดับหมู่บ้าน ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้สร้างนวัตกรรมในการติดตามการกำากับ การกินยาของผู้ป่วยวัณโรค ที่มีชื่อว่า “ ปฏิทินยาคู่กาย ใส่ใจสุขภาพ ” ควบคู่กับ การบริหารยาแบบมีพี่เลี้ยง เรียกว่า DOTS ( Directly 5
  • 6. Observed Treatment, Short-Course ) หรือ การรักษาวัณโรคด้วย ระบบยาระยะสั้นภายใต้การสังเกตโดยตรง ซึ่งถือว่าเป็นวิธีที่มี ประสิทธิภาพมากที่สุดในการควบคุมการระบาดของวัณโรคในปัจจุบัน ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้รับงบประมาณการสนับสนุนการดำาเนิน งานควบคุมวัณโรค ปีงบประมาณ 2552 จากกองหลักประกันสุขภาพ ระดับท้องถิ่น ตำาบลบ้านเกาะ เป็นจำานวนทั้งสิ้น 24,000 บาท นวัต กรรมการติด ตามกำา กับ การกิน ยาของผู้ป ่ว ยวัณ โรค ปฏิท ิน ยาคู่ก าย ใส่ใ จสุข ภาพ หลัก การและเหตุ ปั ญหาการแพร่กระจ่ายเชื้อ วัณ โรคในชุม ชนและความล้ ม เหลวใน การรั ก ษาผู้ ป่ ว ยวั ณ โรคในพื้ น ที่ ตำา บลบ้ า นเกาะ ในอดี ต ที่ ผ่ า นมา การ แก้ ไขปั ญ หาวั ณ โรคให้ไ ด้ผ ล คื อ การตั ด วงจรการแพร่ ก ระจายที่ แหล่ ง แพร่เชื้อโดยตรง แหล่งแพร่เชื้อที่สำาคัญก็คือ ตัวผู้ป่วยวัณโรค ( ระยะแพร่ เชื้อ ) ที่ ยังรักษาไม่ห าย หรือ ขาดการรั กษา การมี พี่เลี้ย งคอยดู แลให้ ผู้ ป่วยได้รับยาครบถ้วนทุกมื้อ เพื่อให้แน่ใจว่าหายจากวัณโรคนับว่าเป็นสิ่ง สำาคัญ ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย จึงได้จัดทำาปฏิทินกำากับการกินยาเพื่อใช้ ประกอบการดูแลให้ผู้ป่วยวัณโรคกินยาต่อหน้าจนครบกำา หนดการรักษา เพราะปัญหาการกินยาไม่ครบ โดยส่วนใหญ่เกิดจาก - การลืมกินยา จำาไม่ได้ว่ากินยาหรือยัง - ผลข้างเคียงของยา ทำาให้ไม่อยากกินยาต่อ - การออกไปทำาธุระนอกบ้าน - ท้อแท้ ขาดกำาลังใจ การใช้ ป ฏิ ทิ น กำา กั บ การกิ น ยาควบคู่ กั บ การมี พี้ เ ลี้ ย ง จะทำา ให้ เ กิ ด ความสะดวกในการกินยาและการติดตาม ป้องกัน การลืมกินยา เพราะมี วันที่ระบุชัดเจน เข้าใจง่าย สามารถตรวจสอบได้ วัต ถุป ระสงค์ 1. เพื่อเตือนการกินยา 2. เพื่อตรวจสอบการกำากับการกินยา ตามตารางวันที่ 3. เพื่อความสะดวก ครบถ้วน สามารถตรวจสอบได้ทันที ขั้น เตรีย มการ - ประชุม ทีม งาน เพื่อ ค้นหาสาเหตุ การขาดยา การลื ม กิ นยา ว่า เกิดจากสาเหตุใด - กำาหนดรูปแบบ หาแนวทางแก้ไข - จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ ( แฟ้ม , ตารางปฏิทิน ,จัดทำา Pre-pack ยา ) - ประชุมชี้แจ้ง เจ้าหน้าที่ทุกระดับ พี่เลี้ยง ผู้ป่วย อธิบายการใช้ ปฏิทินกำากับการกินยา 6
  • 7. ระยะเวลาดำา เนิน การ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2552 ขั้น ดำา เนิน การ - จัดเตรียมปฏิทินกำากับการกินยาสำาหรับผู้ป่วยในแต่ละราย พร้อม ปฏิทินกำากับการติดตามสำาหรับ เจ้าหน้าที่ - จัดทำา Pre-pack ยา สำาหรับผู้ป่วย ตามตารางปฏิทิน - จัดการส่งต่อเวรระหว่าง Mister TB กับเจ้าหน้าที่เวรในแต่ละวัน ทุกวันพร้อม แฟ้มประวัติการ รักษาของผู้ป่วยวัณโรค - ลงทะเบี ย นในตารางปฏิ ทิ น ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ ผู้ ป่ ว ยกิ น ยาต่ อ หน้ า เรียบร้อยแล้ว รู ป ภ า พ ที่ 1 แสดงข้อ มู ล สำา คั ญ ของแฟ้ ม ชุ ด ปฏิ ทิ น กั บ การกิ น ยา ของผู้ป่วยวัณโรค - รู ป ภ า พ ที่ 2 แสดงรู ป แบบปฏิ ทิ น กำา กั บ การกิ น ยาของผู้ ป่ ว ย วัณโรค ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย ุ รูป ภาพที่ 3 แสดงรูปแบบปฏิทินติดตามกำากับการกินยาของผู้ป่วย วัณโรค สำาหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 7
  • 8. ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย ุ รู ป ภ า พ ที่ 4 แสดงชุ ด ปฏิ ทิ น กั บ การกิ น ยาของผู้ ป่ ว ยวั ณ โรค ( ปฏิทินยาคู่กาย ใส่ใจสุขภาพ ) ต า ร า ง ที่ 5 แสดงผลการดำา เนิ น งานกำา กั บ การกิ น ยาของผู้ ป่ ว ย วัณโรค ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา 8
  • 9. ผูป ่ว ย ้ วิน ิจ ฉัย การ ระยะเข้ม ระยะเข้ม ข้น ระยะต่อ เนือ ง่ ข้น 2 สัป ดาห์ สัป ดาห์ท ี่3-8 เดือ น ที่ข ึ้น วัน / ( สูต ร แรก ( Initail ที่3-6 ทะเบีย ยา) ( Initail phase ) ( Continuatio น phase ) n phase ) นาย บุญ วัณโรค CAT 1 29 ม .ค .52 – 13 ก .พ .52 – 30 มี .ค .52 – เลิศ ปอด 12 ก.พ.52 29 มี.ค.52 27 ก.ค.52 จอมเกาะ เสมหะ ผู้ ป่ ว ย ม า รั บ ผู้ป่วยรับ ผู้ป่วยรับประทาน อายุ 43 บวก ประทานยา ประทานยาที่ ยาที่บ้านโดยพี้ ที่ PCU ทุ ก วั น ต่ อ บ้านโดยพี้เลี้ยง เลี้ยงกำากับการ 29 ม.ค. ห น้ า จ น ท .เ ว ร กำากับการกินยา กินยา และ 2552 ใ น ช่ ว ง เ ว ล า และ จนท.ติดตาม 17.00 – จนท.ติดตาม เยี่ยมเดือนละ 1 19.00 น. เยี่ยมสัปดาห์ละ ครั้ง 1 ครั้ง นาย วัณโรค CAT 1 5 ก .พ .52 – 18 ก.พ.52 – 5 6 เม .ย.52 – 3 สุวรรณ ปอด 19 ก.พ.52 เม.ย.52 ส.ค.52 แฝงด่าน เสมหะ ผู้ ป่ ว ย ม า รั บ ผู้ป่วยรับ ผู้ป่วยรับประทาน กลาง บวก ป ร ะ ท า น ย า ประทานยาที่ ยาที่บ้านโดยพี้ อายุ 57 ที่ PCU ทุ ก วั น ต่ อ บ้านโดยพี้เลี้ยง เลี้ยงกำากับการ 5 หน้ า จนท. เวร กำากับการกินยา กินยา และ ก.พ.255 ใ น ช่ ว ง เ ว ล า และจนท.ติดตาม จนท.ติดตาม 2 17.00 – เยี่ยมสัปดาห์ละ เยี่ยมเดือนละ 1 19.00 น. 1 ครั้ง ครั้ง นาย วัณโรค CAT 3 23 ก.พ.52 – 23 เม.ย.52 24 เม.ย.52 – พงษ์ศักดิ์ ปอด ผู้ ป่ ว ยรั บ ประทานยาที่ บ้ า นโดยพี้ 21 ส.ค.52 มโนธรร เสมหะลบ เ ลี้ ย ง กำา กั บ ก า ร กิ น ย า แ ล ะ ผู้ป่วยรับประทาน ม จนท.ติดตามเยี่ยมสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ยาที่บ้านโดยพี้ อายุ 33 23 ก.พ. เลี้ยงกำากับการ 2552 กินยา และ จนท.ติดตาม เยี่ยมเดือนละ 1 ครั้ง ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย ุ แนวทางการดำาเนินการ DOT ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย มีหลักการ พิ จ ารณาบุ ค คลที่ จ ะทำา หน้ า ที่ ใ ห้ DOT( DOT observer ) ตามลำา ดั บ ความสำาคัญดังนี้ - ความน่าเชื่อถือ ( Accountability ) เป็นความสำาคัญอันดับแรก - ความสะดวกในการเข้าถึงบริการ ( Accessibility ) - การยอมรับของผู้ป่วย ( Acceptance ) เมื่ อ แพทย์ วิ นิ จ ฉั ย โรคและกำา หนดระบบยารั ก ษาโรคแล้ ว ศู น ย์ สุขภาพชุมชนขนาย ได้นัดผู้ป่วยวัณโรค ทั้ ง 3 รายและครอบครัวมาให้ สุ ข ศึ กษา อธิบ ายถึ ง ความจำา เป็ นที่ จ ะต้ อ ง รักษาแบบ DOT ควบคู่กับการใช้ปฏิทินกำากับการกินยาของผู้ป่วยวัณโรค 9
  • 10. เพื่อ ให้ มีความเข้าใจในระบบการรั ก ษา ซึ่งจะทำา ให้ เกิ ด ความสะดวกใน การกินยาของผู้ป่วย และการกำากับการกินยาของพี้เลี้ยงที่ดูแลผู้ป่วย รวม ทั้งการติดตามการกำากับการกินยาของเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในแต่ละราย การดำา เนิน งานคัด กรองกลุ่ม ที่ส ัม ผัส กับ ผู้ป ่ว ยวัณ โรคปอด ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ได้ดำาเนินการคัดกรองกลุ่มที่สัมผัสกับผู้ ป่วยวัณโรคปอดที่มีเสมหะบวก โดยทำาการคัดกรองกลุ่มที่สัมผัสผู้ป่วย วัณโรคปอดเสมหะบวก แยกเป็น 2 กลุ่มดังนี้ 1. กลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ทุกคนในบ้าน โดยการซักประวัติอาการเจ็บ ป่วย ตรวจร่างกายทั่วไป ตรวจเสมหะ 3 ครั้ง ( Collected sputum ) และตรวจภาพรังสีปอด 2. กลุ่มอายุตำ่ากว่า 15 ปี ทุกคนในบ้าน โดยการซักประวัติ อาการเจ็บป่วย ตรวจร่างกายทั่วไป ทำาการทดสอบทูเบอร์คุลิน และตรวจภาพรังสีปอด ตารางที่ 6 แสดงผลการดำาเนินงานคัดกรองกลุ่มผู้สัมผัสกับผู้ ป่วยวัณโรคปอดที่มีเสมหะบวก ศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตำาบลบ้านเกาะ อำาเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา กลุ่ม ผู้ส ม ผัส ผู้ ั จำา นว ตรวจเสมหะ ตรวจ ทดสอบ ป่ว ย น 3 ครั้ง ภาพ ทูเ บอร์ค ุ การรัก ษา สถา วัณ โรคเสมหะ ( คน รัง สี ลิน น บวก ) ปอด ที่ เสมห เสมห ผ ผิ ผล ผล รัก ษ ะเป็น ะเป็น ล ด < > า ลบ บวก ป ป 15 15 ก ก มม. มม. ติ ติ กลุ่มอายุ 15 ปี 27 27 0 2 0 - - - - ขึ้นไป 7 กลุ่มอายุตำ่ากว่า 28 - - 2 0 26 2 Isoniazid PCU 15 ปี 8 วันละ 200 ขนา มก.เป็นเวลา ย 6 เดือน ทั้ง 2 ราย จากการคัดกรองกลุ่มผู้สัมผัสกับผู้ป่วยวัณโรคปอดที่มีเสมหะบวก ไม่ พบการติดเชื้อในกลุ่มอายุ 15 ปีขึ้นไป ส่วนกลุ่มอายุตำ่ากว่า 15 ปี พบว่า ผลของการทดสอบทูเบอร์คุลินเป็นบวก 2 ราย เป็นเด็กอายุ 5 ปี และ 7 ปี ตามลำา ดับ ซึ่งมีประวัติเป็นสัมผัสผู้ป่วยวัณโรคปอดเสมหะบวก และอาศัย อยู่บ้านเดียวกัน แต่มีประวัติการได้รับวัคซีนบีซีจี ครบ ผลตรวจภาพรังสี ปอดไม่พบความผิดปกติที่เข้าได้กับวัณโรคปอด ซึ่งทั้ง 2 ราย ได้รับยา 10
  • 11. ป้องกันวัณโรคในเด็ก คือ Isoniazid ขนาด 200 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน โดยใช้ ชุดปฏิทินยาคู่กาย ใส่ใจสุขภาพ ควบคู่กับการมี พี่ เลี้ ยงในการกำา กับการกินยาป้ อ งกั นวั ณ โรคในเด็ ก เช่นเดี ย วกั บ ผู้ ป่ว ย วัณโรค ผลการรัก ษาเมื่อ สิ้น สุด การรัก ษาของผู้ป ่ว ยวัณ โรคที่ข ึ้น ทะเบีย น ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณโรคปอด ที่ขึ้น ทะเบียนของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552 ต า ร า ง ที่ 7 ผลการรักษาเมื่อสิ้นสุดการรักษาของผู้ป่วยวัณ โรค ปอด ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552 ผูป ่ว ย วิน ิจ ฉั ้ การ ผลเสมหะ ผลการตรวจ ผลการรัก ษา วัน สิน ้ วั ย รัก ษา เดือ นที่ ภาพรัง สีป อด วัณ โรค สุด ณ โ ( สูต ร 0 2 5 6 1 2 3 4 5 6 การ โ ร ยา ) รัก ษา ร ค ค วัน / ที่ข ึ้น เ ทะเบีย ด น ืื อ น / ป ืี นาย บุญ วัณโรค CAT + - - - เดือน Cavit / / 31 เลิศ ปอด 1 + ที่ 0 y ก.ค.5 จอมเกาะ เสมหะ เดือน Cavit 2 อายุ 43 บวก ที่ 2 y ปี 29 เดือน Non- ม.ค.52 ที่ 6 cavi นาย วัณโรค CAT + - - - เดือน Cavit / / 5 สุวรรณ ปอด 1 + ที่ 0 y ส.ค.5 แฝงด่าน เสมหะ + เดือน Cavit 2 กลาง บวก ที่ 2 y อายุ 57 5 เดือน Non- ปี ก.พ.52 ที่ 6 cavi นาย วัณโรค CAT - - * - เดือน Cavit / / 21 พงษ์ศักดิ์ ปอด 3 ที่ 0 y ส.ค.5 มโนธรร เสมหะ เดือน Non- 2 ม ลบ ที่ 2 cavi อายุ 33 23 เดือน Non- ปี ก.พ.52 ที่ 6 cavi ที่มา : งานควบคุมวัณโรค ศูนย์สขภาพชุมชนขนาย ุ : ผลการรักษา : 1 = รักษาหาย 2 = รักษาครบ 3 = รักษาล้มเหลว 4 = ตาย 5 = ขาดยา 6 = โอนออก( ไม่ทราบผลการรักษา ) 11
  • 12. รูป ภาพที่ 5 แสดงผลตรวจภาพรังสีปอดของผู้ป่วยวัณโรค เมื่อสิ้น สุดการรักษา ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552 ผูป ่ว ย ้ วิน ิจ ฉัย การ ผลการตรวจภาพรัง สีป อด วัณ โ โรค รัก ษา เดือ นที่ 0 เดือ นที่ 2 เดือ นที่ 6 รค วัน / ( สูต รยา ที่ข ึ้น เดือ ) ทะเบีย น น/ ปี นาย บุญเลิศ วัณโรค CAT 1 จอมเกาะ ปอด อายุ 43 ปี เสมหะบวก 29 ม.ค.52 นาย สุวรรณ วัณโรค CAT 1 แฝงด่าน ปอด กลาง เสมหะบวก อายุ 57 ปี 5 ก.พ.52 นาย พงษ์ วัณโรค CAT 3 ศักดิ์ ปอด มโนธรรม เสมหะลบ อายุ 33 ปี 23 ก.พ.52 การประเมิน ผลการดำา เนิน งานตามตัว ชี้ว ัด ของยุท ธศาสตร์ด ้า น สาธารณสุข ผลการประเมินการดำาเนินงานควบคุมวัณโรคในพื้นที่สาธารณสุข ตำาบลบ้านเกาะ ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ตามตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ด้าน สาธารณสุข ปีงบประมาณ 2552 ตารางที่ 8 แสดงผลการดำาเนินงานตามตัวชี้วัดของยุทธศาสตร์ ด้านสาธารณสุข ของศูนย์สุขภาพชุมชนขนาย ปีงบประมาณ 2552 ตัว ชี้ว ัด เป้า ผล ผล งาน ประเมิน 1.อัตราความสำาเร็จของการรักษาวัณโรค ( Success 2 2 100 Rate ) มากกว่า ร้อยละ 90 2.อัตราการรักษาหายขาดของการรักษาวัณโรค (Cure 2 2 100 Rate) มากกว่า ร้อยละ 90 3.อัตราการขาดยาวัณโรค ( Default Rate) น้อยกว่า 2 0 0 ร้อยละ 3 4.ความครอบคลุมการค้นหาผู้ป่วยใหม่ (Passive cases 79 201 100 Finding) ร้อยละ 100 12
  • 13. 5.อัตราการเปลี่ยนของผลเสมหะจากบวกกลับเป็นลบใน 2 2 100 ช่วงการรักษา ระยะเข้มข้น (conversion rate) มากกว่า ร้อยละ 90 6.ความครอบคลุมการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้น ภายใต้ 2 2 100 การสังเกตโดยตรง (Directly Observed Treatment Short course: DOTS) มากกว่าร้อยละ 95 ข้อ เสนอแนะในการป้อ งกัน และควบคุม วัณ โรค ในการควบคุมวัณโรคของพื้นที่สาธารณสุขตำาบลบ้านเกาะ ส่วนมาก พื้ นที่ ในละแวกที่ พบผู้ป่ ว ยวั ณ โรครายใหม่ เสมหะบวก มั ก พบว่ า ยั ง เกิ ด ปั ญ หาในด้า นความสะอาดด้ านสาธารณสุ ข สิ่ ง แวดล้ อ มของบ้ า นเรื อ นผู้ ป่วยและบริเวณใกล้เคียง ซึ่งอาจเกิดปัญหาที่จะตามมาก็คือ เป็นแหล่งของ เชื้อวัณโรค หากไม่ได้รับการดูแลจาก ประชาชนในละแวก รวมไปถึงผู้นำา ชุ มชน องค์กรปกครองส่วนท้ อ งถิ่ น ซึ่งต้อ งเข้ามามีบ ทบาทในการสร้ าง ความสะอาด ความปลอดภัย ความเป็ น ระเบี ย บ ของละแวกที่ พ บผู้ ป่ว ย และขยายไปถึงละแวกพื้นที่ข้ างเคี ย ง เพื่อเป็นการป้องกั นการสะสมของ เชื้อโรคที่สำาคัญ โดยเฉพาะเชื้อวัณโรค อันจะส่งผลโดยตรงให้การดูแลผู้ ป่วยวัณโรคเสมหะบวกด้วยการรักษาวัณโรคด้วยระบบยาระยะสั้น ภายใน ก า ร สั ง เ ก ต โ ด ย ต ร ง ( Directly Observed Treatment – Short Course : DOTS ) เป็นไปอย่ างมี ป ระสิ ทธิ ภาพ ไม่เกิด การแพร่ กระจาย เชื้อในชุมชน เอกสารอ้า งอิง 1. กลุ่ ม งานระบาดวิ ท ยาโรคติ ด เชื้ อ กองระบาดวิ ท ยา สำา นั ก งานปลั ด กระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. การควบคุมการระบาดของโรคติดเชื้อประเทศไทย. ธันวาคม 2543 : โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์ ( ร.ส.พ. ) 2. งานควบคุ ม วั ณ โรค กลุ่ม งานควบคุ ม วั ณ โรค สำา นั ก งานสาธารณสุ ข จังหวัดนครราชสีมา. แผนยุท ธศาสตร์ การดำา เนิ น งานควบคุ ม วั ณ โรคจั งหวั ด นครราชสี ม า ปีงบประมาณ 2552 – 2554 3. สำา นั ก วั ณ โรค กรมควบคุ ม โรค กระทรวงสาธารณสุ ข .แนวทาง มาตรฐานการดำาเนินงานวัณโรคสำาหรับ คลินิกวัณโรค. ธันวาคม 2544 : โรงพิมพ์ สำา นักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ 13