SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  39
IMC Perspective on Consumer Behavior
             มุมมอง IMC กับพฤติกรรมผู้บริโภค




                               Watjana Poopanee
                       Mahasarakham Business School
                               Mahasarakham University
                      E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th
                                                    1
เนื้อหา
• ความหมายของพฤติกรรมผู้บริ โภค
• 6W1H
• พฤติกรรมผู้บริ โภคในมุมมองของ IMC
• กลุมอ้ างอิงกับพฤติกรรมผู้บริ โภค
    ่
• ครอบครัวกับพฤติกรรมผู้บริ โภค



                                      2
Consumer Behavior (พฤติกรรมผู้บริโภค)
            พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับแต่ละ
บุคคล กลุ่ม หรื อองค์ กร และกระบวนการที่กลุ่มดังกล่าวใช้ ในการเลือก การได้ มา การใช้
ผลิตภัณฑ์/บริ การ หรื อประสบการณ์ (Experience) หรื อแนวคิด รวบยอด (Concept) ทังนี ้เพื่อ
                                                                              ้
ตอบสนองความจาเป็ น (Needs) และศึกษาผลกระทบของกระบวนการดัง กล่าวที่มี ต่อ
ผู้บริ โภคและสังคม


Consumer (ผู้บริโภค)
      VS
 Customer (ลูกค้ า)
                                                                                           3
6W1H
What       Product , Service, Brand

Who        Segmentation, Targeting

Where      Place, Channel Distribution
When       Timing, Seasonal, Lifecycle
Why        Positioning, Differentiation

Who else (Whom)             Influencer, Family, Friends
How      Consumer’s Decision Making, Buying Decision Process

                                                               4
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC
     ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม
                      ั
ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ
โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง
                            ้
ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ
                                  ู



การตระหนัง
ตระหนักถึ ก                         ประเมิน                          ประเมินผล
                 ค้ นหาข้ อมูล                      ตัดสินใจซือ
                                                              ้
 ถึปัปั ญหา
   ง ญหา                            ทางเลือก                         หลังการซือ
                                                                              ้




                                                                                    5
1. การตระหนักถึงปัญหา (Problem Recognition)

   สาเหตุของการรับรู้ปัญหาอาจมีตงแต่สาเหตุง่าย ๆ ไปจนถึงสาเหตุที่มีความซับซ้ อนมาก
                                ั้
และอาจเป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะปั จจุบนหรื อสภาวะที่ต้องการของผู้บริ โภค ซึ่ง
                                               ั
อาจมีผลจากปั จจัยทังภายในและภาย
                   ้
• ของหมด : การรับรู้ปัญหาเกิดขึ ้นเมื่อผู้บริ โภคใช้ สินค้ าปั จจุบนจนหมดและต้ องการเพิ่มเติม
                                                                   ั
สินค้ าดังกล่าว
• ความไม่ พงพอใจ : การรับรู้ปัญหาเกิดขึ ้นจากความไม่พอใจกับสถานะปั จจุบนของสินค้ า
                ึ                                                      ั
หรื อบริ การที่ใช้ อยู่
• ความจาเป็ น/ความต้ องการใหม่ ๆ : ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตของผู้บริ โภคส่งผลให้ เกิด
ความจาเป็ นและความต้ องการใหม่ ๆ




                                                                                                6
1. การตระหนักถึงปัญหา (Problem Recognition)

 • สินค้ า/การซือที่เกี่ยวข้ อง : การรับรู้ปัญหาอาจได้ รับการกระตุ้นหลังจากการซื ้อสินค้ า
                ้
 บางชนิด เช่น การซื ้อ iPod อาจทาให้ เกิดความต้ องการซื ้ออุปกณ์เสริ ม
 • นักการตลาดชีให้ เห็นปั ญหา : การทางานของนักการตลาดเพื่อกระตุ้นให้ ผ้ บริ โภคมีความ
                     ้                                                  ู
 ต้ องการเพิ่มขึ ้นจากสภาวะปั จจุบน
                                  ั
 • สินค้ าใหม่ : การรับรู้ ปัญหาอาจเกิดขึนได้ เมื่อมีสินค้ าใหม่ ๆ เปิ ดตัวสู่ตลาดและทาให้
                                         ้
 ผู้บริ โภคเกิ ดความสนใจ นักการตลาดมี หน้ าที่ใ นการแนะนาสิน ค้ าหรื อ บริ การใหม่ ๆ และ
 สื่อสารไปยังผู้บริ โภค




                                                                                             7
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC
     ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม
                      ั
ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ
โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง
                            ้
ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ
                                  ู



 ตระหนักถึง                         ประเมิน                          ประเมินผล
                 ค้ นหาข้ อมูล                      ตัดสินใจซือ
                                                              ้
   ปั ญหา                           ทางเลือก                         หลังการซือ
                                                                              ้




                                                                                    8
2. ค้ นหาข้ อมูล (Information Search)
      เมื่อผู้บริ โภครับรู้ ถึงปั ญหาหรื อความจาเป็ นที่สามารถตอบสนองได้ โดยการ
ซื ้อสินค้ าหรื อบริ การ ผู้บริ โภคจะเริ่ มค้ นหาข้ อมูลที่จาเป็ นต้ องใช้ เพื่อตัดสินใจซื ้อ
โดยจะเริ่ มจากการทบทวนข้ อมูลที่อยู่ในความจาหรื อจากประสบการณ์ที่ผ่านมา
หรื อความรู้เกี่ยวกับทางเลือกอื่น ๆ ซึงแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
                                           ่

    1. การค้ นหาข้ อมูลจากภายใน (Internal Search)

    2. การค้ นหาข้ อมูลจากภายนอก (External Search)




                                                                                                9
2. ค้ นหาข้ อมูล (Information Search)
   1. การค้ นหาข้ อมูลจากภายใน (Internal Search) เช่น การซื ้อซ ้า ข้ อมูล
ก่อนหน้ าที่อยู่ในความทรงจา (เช่น ประสบการณ์ ที่ผ่านมาหรื อผลจากการใช้
ตราสินค้ านัน ๆ) ซึงจะมากพอสาหรับการเปรี ยบเทียบทางเลือกและตัดสินใจ
             ้     ่
   2.การค้ นหาข้ อมูลจากภายนอก (External                     Search)   ซึ่งคือแหล่งข้ อมูล
ภายนอกของข้ อมูลที่ประกอบด้ วย
   - ข้ อมูลจากบุคคลต่าง ๆ เช่น เพื่อน ญาติหรื อผู้ร่วมงาน
   - แหล่งที่ควบคุมโดยนักการตลาด เช่น ข้ อมูลจากโฆษณา
   - ข้ อมูลเผยแพร่ เช่น บทความในนิตยสารหรื อหนังสือพิมพ์และรายงานต่าง ๆ ในโทรทัศน์
   - ประสบการณ์สวนตัว เช่น การใช้ งานจริ ง การทดลองใช้ สินค้ า
                ่


                                                                                             10
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC
     ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม
                      ั
ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ
โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง
                            ้
ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ
                                  ู



 ตระหนักถึง                         ประเมิน                          ประเมินผล
                 ค้ นหาข้ อมูล                      ตัดสินใจซือ
                                                              ้
   ปั ญหา                           ทางเลือก                         หลังการซือ
                                                                              ้




                                                                                    11
3. ประเมินทางเลือก (Alternative Evaluation)
         หลังจากได้ รับข้ อมูลระหว่างขันตอนการหาข้ อมูลเพื่อทาการตัดสินใจแล้ ว ผู้บริ โภคจะ
                                       ้
 เข้ าสู่การประเมินทางเลือก ในขันตอนนี ้ผู้บริ โภคจะเปรี ยบเทียบตราสินค้ าและบริ การต่าง ๆ
                                    ้
 ที่พบว่าสามารถแก้ ไขปั ญหาและสามารถตอบสนองความต้ องการหรื อแรงจูงใจที่นาไปสู่การ
 ตัดสินใจ ผู้บริ โภคจะมีตราสินค้ าต่าง ๆ ที่เป็ นกลุ่มทางเลือกที่พิจารณา (Evoked Set) ในการ
 ประเมินทางเลือก
         - Evoked Set (กลุ่มทางเลือกที่พจารณา) โดยทัวไปจะเป็ นกลุ่มย่อยของตราสินค้ า
                                             ิ               ่
 ทังหมดที่ผ้ ูบริ โภครับรู้ โดยมีการตัดตราสินค้ าบางรายการออกไปในขันตอนการประเมิน
    ้                                                                      ้
 ทางเลือก ขนาดของกลุ่มทางเลือกที่พิจารณาจะแตกต่างไป โดยขึนกับปั จจัยต่าง ๆ ของ
                                                                       ้
 ผู้บริ โภค




                                                                                              12
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC
     ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม
                      ั
ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ
โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง
                            ้
ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ
                                  ู



 ตระหนักถึง                         ประเมิน                          ประเมินผล
                 ค้ นหาข้ อมูล                      ตัดสินใจซือ
                                                              ้
   ปั ญหา                           ทางเลือก                         หลังการซือ
                                                                              ้




                                                                                    13
4. การตัดสิ นใจซื้อ (Purchase Decision)

     เมื่ อ ถึ ง จุด หนึ่ ง ในกระบวนการซื อ ผู้บ ริ โ ภคจะหยุด ค้ น หาและประเมิ น
                                          ้
ทางเลือกเกี่ยวกับตราสินค้ าต่าง ๆ ในกลุ่มทางเลือกที่พิจารณา (Evoked Set)
แล้ วทาการตัดสินใจซื ้อ (Purchase Decision) โดยกระบวนการตัดสินใจซือ             ้
สามารถแบ่งออกเป็ น 5 แนวทาง ดังนี ้
4.1 The Rationale Model (การตัดสินใจอย่ างมีเหตุผล)

4.2 Satisficing Model (การตัดสินใจโดยความพึงพอใจ)

4.3 Implicit Favorite Model (การตัดสินใจโดยมีความชื่นชอบแอบแฝง)
4.4 Intuitive Model (การตัดสินใจโดยไม่ มีเหตุผล)

4.5 Escalation of Commitment (การตัดสินใจแบบตกกระไดพลอยโจน)

                                                                                    14
4.1 The Rationale Model (การตัดสิ นใจอย่ างมีเหตุผล)

      การตัดสินใจอย่ างมีเหตุผล (The Rationale Model) เป็ นการตัดสินใจที่คานึงถึง
ประโยชน์ ที่พึงได้ สูงสุด โดยอาจอาศัยเทคนิคทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นตัวช่วยในการตัดสินใจ
เช่น ตัวอย่างการซื ้อรถยนต์ (เกณฑ์ เต็ม 5)
          เกณฑ์             Honda         Toyota        Mazda          Chev
    ราคา (20%)
    สมรรถนะ (20%)
    ดีไซน์ (20%)
    ประหยัดน ้ามัน (10%)
    ศูนย์ซ่อม (10%)
    อะไหล่ (10%)
    ตลาดรอง (10%)
                    รวม
                                                                                      15
4.2 Satisficing Model (การตัดสิ นใจโดยความพึงพอใจ)

     การตัดสินใจโดยความพึงพอใจ           (Satisficing Model) เป็ นการตัดสินใจเลือก
ตัวเลือกที่เห็นว่าพอใจได้ ในระดับหนึ่ง โดยพยายามสร้ างสถานการณ์การเลือก
ให้ ง่ายที่สด คือลดขันตอนและทาให้ ง่ายเข้ าว่า เริ่ มจากการกาหนดเกณฑ์ที่คิด
            ุ        ้
ว่า ตนพอใจ และยอมรั บ ได้ จากนัน ก็ ก าหนดตัว เลื อ กมาพอสมควรแล้ ว น า
                                   ้
ตัวเลือกมาเทียบเคียงกับเกณฑ์ทีละตัว
      ซึงจากสถานการณ์เดียวกันนี ้ อาจจะตัดเหลือตัวเลือกเฉพาะยี่ห้อที่ตวเองชอบ แล้ วทา
        ่                                                               ั
การเปรี ยบเทียบกันแค่ 2 ตัวเลือกนัน เช่น ชอบ Mazda และ Chevrolet ก็จะพิจารณาแค่ 2
                                    ้
ตัวเลือกนี ้เท่านัน แต่ปรากฏว่า Mazda ต้ องรอรับรถอีก 6 เดือนเนื่องจากสถานการณ์น ้าท่วม
                  ้
เลยทาให้ ตดสินใจเลือก Chevrolet เป็ นต้ น
             ั




                                                                                          16
4.3 Implicit Favorite Model (การตัดสิ นใจโดยมีความชื่ นชอบแอบแฝง)


    การตัดสินใจโดยมีความชื่นชอบแอบแฝง (Implicit Favorite Model) เป็ นการ
ตัดสินใจที่คล้ ายกับแบบ Satisficing แตกต่างกันที่ผ้ ตดสินใจแอบมีตวเลือกที่
                                                        ู ั            ั
ต้ องการไว้ ในใจตังแต่เริ่ มต้ นแล้ ว เพียงแต่ต้องการหาตัวเลือกอื่นมายืนยันให้
                      ้
เห็นว่า มีการเลือกแล้ วอย่างเป็ นระบบ ซึ่งเมื่อถึงขันสุดท้ ายก็จะตัดสินใจเลือก
                                                    ้
ตัวเลือกที่แอบแฝงอยูนนเอง ่ ั่
      ซึงจากสถานการณ์เดียวกัน ผู้ค้าอาจจะแอบเลือก Mazda อยู่ในใจแต่แรก
        ่
เพราะชอบดีไซน์ ที่ทนสมัยและทรงสปอร์ ต แต่หาข้ อมูลอื่น ๆ มาเปรี ยบเทียบ
                        ั
เพื่อทาให้ ร้ ูสกว่ามีการตัดสินใจแบบเป็ นระบบ เป็ นต้ น
                ึ




                                                                                 17
4.4 Intuitive Model (การตัดสิ นใจโดยไม่ มเหตุผล)
                                         ี
     การตัดสินใจโดยไม่ มีเหตุผล (Intuitive Model) เป็ นการตัดสินใจที่อาศัย
ความรู้ สึกส่วนบุคคล โดยไม่มีเหตุผลมาอธิ บาย ผู้ตัดสินใจรู้ แต่เพียงว่า ต้ อง
เลือกตัวเลือกนี ้ โดยไม่สามารถอธิบายได้ ว่าเป็ นเพราะเหตุใด อาจเป็ นเรื่ องของ
ประสบการณ์หรื อความสามารถส่วนตัว
     เช่น หัวหน้ าสั่งให้ น.ส. กอไก่ ซือของที่ระลึกให้ ลูกค้ าต่างประเทศ ที่จะ
                                       ้
มอบให้ ภายในบ่ายนี !้ น.ส. กอไก่ เลยตัดสินใจซื ้อ “ผ้ าไหมไทย” ซึ่งมาจาก
ประสบการณ์ของ น.ส. กอไก่ ที่สวนตัวที่เป็ นคนรักสวยรักงาม ทาให้ ไม่ต้องคิด
                                 ่
อะไรมาก แต่ถ้า น.ส. กอไก่ เป็ นคนชอบทานอาหาร ก็อาจจะซื ้อเป็ น “ขนมไทย”
ให้ แทนก็ได้


                                                                                 18
4.5 Escalation of Commitment (การตัดสิ นใจแบบตกกระไดพลอยโจน)


      การตัดสินใจแบบตกกระไดพลอยโจน (Escalation of Commitment)
 เป็ นสิ่งที่ผ้ ตดสินใจต้ องเดินไปข้ างหน้ าต่อไปหลังจากที่ได้ มีการตัดสินใจไปแล้ ว
                ู ั
 ซึงอาจจะเป็ นการตัดสินโดยที่ตงใจหรื อไม่ตงใจก็ตาม
   ่                                 ั้         ั้
      เช่ น ไปดูเ สื อ ผ้ า แล้ ว ชอบ เลยขอพนัก งานขายลองเสื อ ผ้ า ดัง กล่า ว แต่
                      ้                                            ้
 ปรากฏว่าใส่แล้ วไม่สวย แต่พนักงานขายก็เชี ยร์ จนในที่สุดเราก็ซือจนได้ ซึ่ง
                                                                         ้
 สาเหตุอาจจะมาจาก 1) เกรงใจ 2) กลัวเสียหน้ า 3) ไม่กล้ าปฏิเสธ เป็ นต้ น




                                                                                      19
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC
     ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม
                      ั
ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ
โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง
                            ้
ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ
                                  ู



 ตระหนักถึง                         ประเมิน                          ประเมินผล
                 ค้ นหาข้ อมูล                      ตัดสินใจซือ
                                                              ้
   ปั ญหา                           ทางเลือก                         หลังการซือ
                                                                              ้




                                                                                    20
5. การประเมินหลังการซื้อ (The Process after Purchase/Use)



        พึงพอใจ                                     ซื ้อ       ไม่ได้ ใช้
      (Positive)

      ลูกค้ าที่ผกผัน
                 ู                                  ใช้                      พฤติกรรมการบ่น


           ซื ้อซ ้า                           ประเมินผล                       เปลี่ยนยี่ห้อ


        เพิ่มการใช้                                                               เลิกใช้

                                                                              ไม่ พงพอใจ
                                                                                   ึ
                                                                              (Negative)
ที่มา : ปรับปรุงจาก สุภาภรณ์ พลนิกร, พฤติกรรมผู้บริโภค (2548)
                                                                                               21
กลุ่มอ้ างอิงกับพฤติกรรมผู้บริโภค
(Reference Group and Consumer Behavior)




                                          22
พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง
 1. ใช้คความดึของผู้มของผู้งมีช่ ือเสียAppeals)
  1. ใช้ วามดึงดูด งดูด ีช่ ือเสีย (Celebrity ง (Celebrity Appeals)



  2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert)



  3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man)



  4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)



  5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
                                                                              23
1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)

        1.1 การให้ การรั บรอง (Testimonial) ทาโดยให้ ผ้ มีชื่อเสียงระบุวาตนเอง
                                                        ู               ่
    ได้ ใช้ สินค้ านันแล้ วจึงสามารถรับประกันคุณภาพสินค้ านันได้
                     ้                                      ้




แพนเค้ ก - Mistine         คริส หอวัง – Toyota Sure            ณัฐ (เทพฯ) – กูลตา เฮลติ
                                                                       วุฒศักดิ์
                                                                          ิ
                                                                                    24
1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)

   1.2 การยินยอมให้ ใช้ ช่ ือ (Endorsement) โดยผู้มีชื่อเสียงอนุญาตให้ นา
ชื่อของตนไปกล่าวอ้ างในสินค้ านันได้
                                ้




ปุย พิมลวรรณ - วุฒศักดิ์
 ้                ิ             ลิเดีย - วุฒศักดิ์
                                            ิ         ไก่ วรายุทธ - วุฒศักดิ์
                                                                       ิ



                                                                                25
1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)

   1.3 การแสดง (Actor) วิธีนี ้ผู้มีชื่อเสียงต้ องแสดงเป็ นส่วนหนึงของโฆษณา
                                                                  ่
หรื อนาเสนอสินค้ านันเพิ่มเติมจากการอนุญาตให้ นาชื่อไปกล่าวอ้ าง
                    ้




    เคน ธีระเดช                พอร์ ช ศรัณย์                 สมาร์ ท กฤษฎา
  Vaseline for Men             Garnier Men                     Olay Men
  รับบท : นักแสดง            รับบท : นักมวย               รับบท : Wakeboarder
                                                                              26
1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)
   1.4   การเป็ นโฆษกประจาสินค้ าในช่ วงเวลาหนึ่ง (Spokesperson) วิธีนี ้ผู้
มีชื่อเสียงทาหน้ าที่เป็ นตัวแทนส่งเสริ มการตลาดให้ กับสินค้ าหรื อบริ หารเป็ น
ระยะเวลาหนึง ่




                 แพท สุธาสินี                    อ้ อม พิยดา
            Brand Ambassador # 1           Brand Ambassador # 2
                                                                                  27
พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง
  1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)



 2.การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ้ ูเ(The Expert) (The Expert)
  2. การใช้ ผ ชี่ยวชาญ



  3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man)



  4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)



  5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
                                                                              28
2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert)
      ความเชี่ยวชาญดังกล่าวได้ มาจากการที่บคคลนันมีอาชีพ ผ่านการฝึ กอบรม
                                              ุ      ้
หรื อมีประสบการณ์ ในการใช้ หรื อเกี่ยวข้ องกับสินค้ าบางชนิด จึงทาให้ สามารถ
โน้ มน้ าวผู้บริโภคให้ เกิดความเชื่อถือได้




     Tiger Woods                    หนูดี วนิษา                Thomas Thor
       NikeGolf                    แบรนด์ ซุปไก่            SunSilk Co-Creation
                                                                               29
พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง
  1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)



  2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert)



 3. การใช้บุคุคคลทีกในสถานการณ์ คล้ ายกัล้ า(The Common man)
  3. การใช้ บ คลที่ต ่ ตกในสถานการณ์ ค น ยกัน (The Common man)



  4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)



  5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
                                                                              30
3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man)

   วิธีนีมกจะใช้ โฆษณาตามแนวคิดที่เรี ยกว่า ฉากหนึ่งของชีวิต (Slice-of-life
         ้ั
Commercial) เพื่อให้ ลกค้ าคาดหวัง (Prospective Customer) เห็นว่าถ้ าเขาอยู่ใน
                      ู
สภาพเหมือนกันกับคนในโฆษณาผลลัพธ์ที่ออกมาน่าจะคล้ ายกัน




    รถเมล์ คะนึงนิจ               Presenter                   Presenter
   Pantene (แพนทีน)          ธนาคารไทยพาณิชย์              ยาสีฟันคอลเกต
                                  (SCB SME)
                                                                                 31
พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง
  1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)



  2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert)



  3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man)



 4.4. การใช้ผ้ บริหารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)
    การใช้ ผู หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)


  5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
                                                                            32
4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)

      ปั จจุบนบริ ษัทต่าง ๆ ได้ นาผู้บริ หารระดับสูงของตนมาทาหน้ าที่เป็ นโฆษกในโฆษณาที่
             ั
 สนับสนุนสินค้ าของตนมากขึน ซึ่งพบว่ามีการตอบรับและประสิทธิภาพดี เนื่องจากผู้บริ หาร
                                ้
 ระดับสูงที่มีความรู้จกมักจะได้ รับความชื่นชมจากคนโดยทัวไป ทังนี ้พนักงานของบริ ษัทที่เสนอ
                      ั                                    ่     ้
 ขายสินค้ าก็ยงเป็ นอีกหนึงบุคคลอ้ างอิงที่มีประสิทธิภาพอีกด้ วย
               ั          ่




        พาที สารสิน                  ตัน ภาสกรนที                      พนักงาน
        CEO Nok Air                CEO ชาเขียวอิชิตน
                                                   ั            บริษัทกรุ งเทพประกันภัย

                                                                                             33
พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง
  1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals)



  2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert)



  3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man)



  4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person)



 5. การใช้ฆษกหรือพิธอรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
  5. การใช้ โ โฆษกหรื ีก พิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
                                                                              34
5. การใช้ โฆษกหรือพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters)
    การใช้ โ ฆษกทางการค้ า (เช่ น บุค คล การ์ ตูน ) โดยมากใช้ ใ นการแสดง
ภาพลักษณ์หรื อจินตภาพในอุดมคติ (Ideal Self-image) ของผู้บริ โภคเปาหมาย
                                                                   ้
โดยผู้แสดงให้ ข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับสินค้ าหรื อบริการนัน ๆ ด้ วย
                                                         ้




                                     Barbegon                น้ องสุขใจ
        m&m                        Bar-B-Q Plaza                ททท.

                                                                           35
ครอบครั วกับพฤติกรรมผู้บริโภค
  (Family and Consumer Behavior)




                                   36
การตัดสินใจซือในครัวเรือน (Household) หรือครอบครัว (Family)
             ้

    การตัดสินใจซื ้อผลิตภัณฑ์หรื อบริ การต่างๆ ภายในครอบครัวขึ ้นอยู่กบแต่
                                                                      ั
ละวัฒนธรรม นอกจากนี ้บุคลิกภาพของสมาชิกในครอบครัวก็มีส่วนสาคัญใน
การตัดสินใจ สาหรับในการตัดสินใจภายในครัวเรื อนนันสมาชิกในครอบครัวแต่
                                                   ้
ละคนมีโอกาสทาหนึงหรื อหลายหน้ าที่ใน 6 หน้ าที่ตอไปนี ้
                    ่                           ่
• Initiator (ผู้ริเริ่ ม)
• Information Gatherer (ผู้รวบรวมข้ อมูล)
• Influencer (ผู้มีอิทธิพล)
• Decider (ผู้ตดสินใจ)
               ั
• Purchaser (ผู้ซื ้อ)
• User (ผู้ใช้ )
                                                                             37
การตัดสินใจซือในครัวเรือน (Household) หรือครอบครัว (Family)
             ้

ตัวอย่ าง : การซือเครื่ องปรั บอากาศในครอบครัว
                 ้

                    Influencer
                        แม่


 ปั ญหา              Initiator           Decider    Purchaser     User
อากาศร้ อน           ลูก (ร้ อน)          พ่อ แม่      พ่อ      พ่อ แม่ ลูก


                   Information
                     Gatherer
                        พ่อ


                                                                         38
SUMMARY
   &
QUESTION

           39

Contenu connexe

Tendances

Coca-Cola BDC412
Coca-Cola BDC412Coca-Cola BDC412
Coca-Cola BDC412malimae th
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์ธิติพล เทียมจันทร์
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Wichien Juthamongkol
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Nitinop Tongwassanasong
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementTeetut Tresirichod
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Nitinop Tongwassanasong
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

Tendances (20)

International market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global MarketingInternational market selection (Ch.4) - Global Marketing
International market selection (Ch.4) - Global Marketing
 
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior ClassPerception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
Perception,learning,memory (Ch.6), Consumer Behavior Class
 
Coca-Cola BDC412
Coca-Cola BDC412Coca-Cola BDC412
Coca-Cola BDC412
 
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
วิถีชีวิตกับพฤติกรรมผู้บริโภค (Self-image & Lifestyle : Ch 10)
 
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
วิทยากร การตลาดด้วยคอนเทนต์ Content marketing : อาจารย์แชมป์ ธิติพล เทียมจันทร์
 
Marketing plan
Marketing planMarketing plan
Marketing plan
 
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) มือใหม่ต้องรู้
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
การทำการตลาดบนมือถือสำหรับธุรกิจบริการ (Mobile Marketing for Service Business)
 
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
Personality , Emotion and Consumer Behavior (Ch.8)
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 1
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
 
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
Strategy and Competitive Advantage (ch.6)
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
T guide2
T  guide2T  guide2
T guide2
 
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
6 บุคลิกภาพบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 

En vedette

พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคWut Sookcharoen
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อsupatra39
 
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMasterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMattika Suvarat
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeUtai Sukviwatsirikul
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalNattakorn Sunkdon
 
Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Somchai Siricharoenphol
 
Analyzing Consumer Markets and Buyer Behavior
Analyzing Consumer Markets and Buyer BehaviorAnalyzing Consumer Markets and Buyer Behavior
Analyzing Consumer Markets and Buyer BehaviorSumit Pradhan
 
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคเรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคsupatra39
 
IMC สายการบินแอร์เอเชีย
IMC สายการบินแอร์เอเชียIMC สายการบินแอร์เอเชีย
IMC สายการบินแอร์เอเชียZplendora Calderone
 
IMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexIMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexWiwan
 
Chapter 6 Analyzing Consumer Markets
Chapter 6 Analyzing Consumer MarketsChapter 6 Analyzing Consumer Markets
Chapter 6 Analyzing Consumer MarketsMary Anne Cuartero
 

En vedette (20)

พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภคพฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Course Introduction - IMC
Course Introduction - IMCCourse Introduction - IMC
Course Introduction - IMC
 
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
STP and Consumer Behavior (Consumer Behavior Class : Ch.2)
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
 
Oldy club
Oldy club Oldy club
Oldy club
 
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMasterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
 
ธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing homeธุรกิจการบริการ Nursing home
ธุรกิจการบริการ Nursing home
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinicตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
ตัวอย่างแผนธุรกิจSample clinic
 
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
Case Study สำหรับนิสิตวิชา Organization and Management (OM)
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbalตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำGlowciew herbal
 
Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4Marketing Plan - Elderly House by Group4
Marketing Plan - Elderly House by Group4
 
Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Week 7
Week 7Week 7
Week 7
 
Analyzing Consumer Markets and Buyer Behavior
Analyzing Consumer Markets and Buyer BehaviorAnalyzing Consumer Markets and Buyer Behavior
Analyzing Consumer Markets and Buyer Behavior
 
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภคเรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
เรื่องที่ 9 การแบ่งส่วนตลาดกับพฤติกรรมผู้บริโภค
 
IMC สายการบินแอร์เอเชีย
IMC สายการบินแอร์เอเชียIMC สายการบินแอร์เอเชีย
IMC สายการบินแอร์เอเชีย
 
IMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexIMC Plan of Durex
IMC Plan of Durex
 
Starbucks case study
Starbucks case studyStarbucks case study
Starbucks case study
 
Chapter 6 Analyzing Consumer Markets
Chapter 6 Analyzing Consumer MarketsChapter 6 Analyzing Consumer Markets
Chapter 6 Analyzing Consumer Markets
 
Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 

Similaire à พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8

เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00JeenNe915
 
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคเรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคsupatra39
 
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00JeenNe915
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00JeenNe915
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00JeenNe915
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อเรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อsupatra39
 
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000JeenNe915
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลsupatra39
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่supatra39
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคลarm_smiley
 
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดบทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00JeenNe915
 

Similaire à พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8 (20)

เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
 
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภคเรื่องที่  2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
เรื่องที่ 2 กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค
 
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
เรื่องที่ 2กระบวนการตัดสินใจของผู้บริโภค00
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ00
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อเรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
เรื่องที่ 6 การประเมินผลหลังการซื้อ
 
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
เรื่องที่ 3 กระบวนการเล็งเห็นปัญหา000
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
Maetaporn
MaetapornMaetaporn
Maetaporn
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่เรื่องที่  1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
Market
MarketMarket
Market
 
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดบทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University

Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยMahasarakham Business School, Mahasarakham University
 

Plus de Mahasarakham Business School, Mahasarakham University (15)

ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
ทุนมูลนิธิ อายิโนะโมะโต๊ะ
 
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
ทุนภูมิพล ประจำปีการศึกษา 2555
 
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
คุณลักษณะคนไทยที่พึงประสงค์
 
Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)Global Product & Price Strategy (ch.7)
Global Product & Price Strategy (ch.7)
 
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
Thailand's Competitiveness in Food Industry (2003)
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Key economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailandKey economic indicators of thailand
Key economic indicators of thailand
 
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
การวัดผลและประเมินผลสื่อ (Media Evaluation : Ch 8)
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuireเนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
เนื้อหารายละเอียดของทฤษฎีแรงกระตุ้นทางจิตวิทยาของ McGuire
 
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
Communication Process (กระบวนการการสื่อสาร) ch.5
 
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคMotivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
Motivation (แรงจูงใจ) ch.7 สำหรับนิสิตวิชาพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทยจรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
จรรยาบรรณนักการตลาดไทย โดย สมาคมการตลาดแห่งประเทศไทย
 

พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8

  • 1. IMC Perspective on Consumer Behavior มุมมอง IMC กับพฤติกรรมผู้บริโภค Watjana Poopanee Mahasarakham Business School Mahasarakham University E-mail : watjana.p@acc.msu.ac.th 1
  • 2. เนื้อหา • ความหมายของพฤติกรรมผู้บริ โภค • 6W1H • พฤติกรรมผู้บริ โภคในมุมมองของ IMC • กลุมอ้ างอิงกับพฤติกรรมผู้บริ โภค ่ • ครอบครัวกับพฤติกรรมผู้บริ โภค 2
  • 3. Consumer Behavior (พฤติกรรมผู้บริโภค) พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavior) หมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับแต่ละ บุคคล กลุ่ม หรื อองค์ กร และกระบวนการที่กลุ่มดังกล่าวใช้ ในการเลือก การได้ มา การใช้ ผลิตภัณฑ์/บริ การ หรื อประสบการณ์ (Experience) หรื อแนวคิด รวบยอด (Concept) ทังนี ้เพื่อ ้ ตอบสนองความจาเป็ น (Needs) และศึกษาผลกระทบของกระบวนการดัง กล่าวที่มี ต่อ ผู้บริ โภคและสังคม Consumer (ผู้บริโภค) VS Customer (ลูกค้ า) 3
  • 4. 6W1H What Product , Service, Brand Who Segmentation, Targeting Where Place, Channel Distribution When Timing, Seasonal, Lifecycle Why Positioning, Differentiation Who else (Whom) Influencer, Family, Friends How Consumer’s Decision Making, Buying Decision Process 4
  • 5. พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม ั ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง ้ ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ ู การตระหนัง ตระหนักถึ ก ประเมิน ประเมินผล ค้ นหาข้ อมูล ตัดสินใจซือ ้ ถึปัปั ญหา ง ญหา ทางเลือก หลังการซือ ้ 5
  • 6. 1. การตระหนักถึงปัญหา (Problem Recognition) สาเหตุของการรับรู้ปัญหาอาจมีตงแต่สาเหตุง่าย ๆ ไปจนถึงสาเหตุที่มีความซับซ้ อนมาก ั้ และอาจเป็ นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาวะปั จจุบนหรื อสภาวะที่ต้องการของผู้บริ โภค ซึ่ง ั อาจมีผลจากปั จจัยทังภายในและภาย ้ • ของหมด : การรับรู้ปัญหาเกิดขึ ้นเมื่อผู้บริ โภคใช้ สินค้ าปั จจุบนจนหมดและต้ องการเพิ่มเติม ั สินค้ าดังกล่าว • ความไม่ พงพอใจ : การรับรู้ปัญหาเกิดขึ ้นจากความไม่พอใจกับสถานะปั จจุบนของสินค้ า ึ ั หรื อบริ การที่ใช้ อยู่ • ความจาเป็ น/ความต้ องการใหม่ ๆ : ความเปลี่ยนแปลงในชีวิตของผู้บริ โภคส่งผลให้ เกิด ความจาเป็ นและความต้ องการใหม่ ๆ 6
  • 7. 1. การตระหนักถึงปัญหา (Problem Recognition) • สินค้ า/การซือที่เกี่ยวข้ อง : การรับรู้ปัญหาอาจได้ รับการกระตุ้นหลังจากการซื ้อสินค้ า ้ บางชนิด เช่น การซื ้อ iPod อาจทาให้ เกิดความต้ องการซื ้ออุปกณ์เสริ ม • นักการตลาดชีให้ เห็นปั ญหา : การทางานของนักการตลาดเพื่อกระตุ้นให้ ผ้ บริ โภคมีความ ้ ู ต้ องการเพิ่มขึ ้นจากสภาวะปั จจุบน ั • สินค้ าใหม่ : การรับรู้ ปัญหาอาจเกิดขึนได้ เมื่อมีสินค้ าใหม่ ๆ เปิ ดตัวสู่ตลาดและทาให้ ้ ผู้บริ โภคเกิ ดความสนใจ นักการตลาดมี หน้ าที่ใ นการแนะนาสิน ค้ าหรื อ บริ การใหม่ ๆ และ สื่อสารไปยังผู้บริ โภค 7
  • 8. พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม ั ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง ้ ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ ู ตระหนักถึง ประเมิน ประเมินผล ค้ นหาข้ อมูล ตัดสินใจซือ ้ ปั ญหา ทางเลือก หลังการซือ ้ 8
  • 9. 2. ค้ นหาข้ อมูล (Information Search) เมื่อผู้บริ โภครับรู้ ถึงปั ญหาหรื อความจาเป็ นที่สามารถตอบสนองได้ โดยการ ซื ้อสินค้ าหรื อบริ การ ผู้บริ โภคจะเริ่ มค้ นหาข้ อมูลที่จาเป็ นต้ องใช้ เพื่อตัดสินใจซื ้อ โดยจะเริ่ มจากการทบทวนข้ อมูลที่อยู่ในความจาหรื อจากประสบการณ์ที่ผ่านมา หรื อความรู้เกี่ยวกับทางเลือกอื่น ๆ ซึงแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ ่ 1. การค้ นหาข้ อมูลจากภายใน (Internal Search) 2. การค้ นหาข้ อมูลจากภายนอก (External Search) 9
  • 10. 2. ค้ นหาข้ อมูล (Information Search) 1. การค้ นหาข้ อมูลจากภายใน (Internal Search) เช่น การซื ้อซ ้า ข้ อมูล ก่อนหน้ าที่อยู่ในความทรงจา (เช่น ประสบการณ์ ที่ผ่านมาหรื อผลจากการใช้ ตราสินค้ านัน ๆ) ซึงจะมากพอสาหรับการเปรี ยบเทียบทางเลือกและตัดสินใจ ้ ่ 2.การค้ นหาข้ อมูลจากภายนอก (External Search) ซึ่งคือแหล่งข้ อมูล ภายนอกของข้ อมูลที่ประกอบด้ วย - ข้ อมูลจากบุคคลต่าง ๆ เช่น เพื่อน ญาติหรื อผู้ร่วมงาน - แหล่งที่ควบคุมโดยนักการตลาด เช่น ข้ อมูลจากโฆษณา - ข้ อมูลเผยแพร่ เช่น บทความในนิตยสารหรื อหนังสือพิมพ์และรายงานต่าง ๆ ในโทรทัศน์ - ประสบการณ์สวนตัว เช่น การใช้ งานจริ ง การทดลองใช้ สินค้ า ่ 10
  • 11. พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม ั ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง ้ ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ ู ตระหนักถึง ประเมิน ประเมินผล ค้ นหาข้ อมูล ตัดสินใจซือ ้ ปั ญหา ทางเลือก หลังการซือ ้ 11
  • 12. 3. ประเมินทางเลือก (Alternative Evaluation) หลังจากได้ รับข้ อมูลระหว่างขันตอนการหาข้ อมูลเพื่อทาการตัดสินใจแล้ ว ผู้บริ โภคจะ ้ เข้ าสู่การประเมินทางเลือก ในขันตอนนี ้ผู้บริ โภคจะเปรี ยบเทียบตราสินค้ าและบริ การต่าง ๆ ้ ที่พบว่าสามารถแก้ ไขปั ญหาและสามารถตอบสนองความต้ องการหรื อแรงจูงใจที่นาไปสู่การ ตัดสินใจ ผู้บริ โภคจะมีตราสินค้ าต่าง ๆ ที่เป็ นกลุ่มทางเลือกที่พิจารณา (Evoked Set) ในการ ประเมินทางเลือก - Evoked Set (กลุ่มทางเลือกที่พจารณา) โดยทัวไปจะเป็ นกลุ่มย่อยของตราสินค้ า ิ ่ ทังหมดที่ผ้ ูบริ โภครับรู้ โดยมีการตัดตราสินค้ าบางรายการออกไปในขันตอนการประเมิน ้ ้ ทางเลือก ขนาดของกลุ่มทางเลือกที่พิจารณาจะแตกต่างไป โดยขึนกับปั จจัยต่าง ๆ ของ ้ ผู้บริ โภค 12
  • 13. พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม ั ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง ้ ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ ู ตระหนักถึง ประเมิน ประเมินผล ค้ นหาข้ อมูล ตัดสินใจซือ ้ ปั ญหา ทางเลือก หลังการซือ ้ 13
  • 14. 4. การตัดสิ นใจซื้อ (Purchase Decision) เมื่ อ ถึ ง จุด หนึ่ ง ในกระบวนการซื อ ผู้บ ริ โ ภคจะหยุด ค้ น หาและประเมิ น ้ ทางเลือกเกี่ยวกับตราสินค้ าต่าง ๆ ในกลุ่มทางเลือกที่พิจารณา (Evoked Set) แล้ วทาการตัดสินใจซื ้อ (Purchase Decision) โดยกระบวนการตัดสินใจซือ ้ สามารถแบ่งออกเป็ น 5 แนวทาง ดังนี ้ 4.1 The Rationale Model (การตัดสินใจอย่ างมีเหตุผล) 4.2 Satisficing Model (การตัดสินใจโดยความพึงพอใจ) 4.3 Implicit Favorite Model (การตัดสินใจโดยมีความชื่นชอบแอบแฝง) 4.4 Intuitive Model (การตัดสินใจโดยไม่ มีเหตุผล) 4.5 Escalation of Commitment (การตัดสินใจแบบตกกระไดพลอยโจน) 14
  • 15. 4.1 The Rationale Model (การตัดสิ นใจอย่ างมีเหตุผล) การตัดสินใจอย่ างมีเหตุผล (The Rationale Model) เป็ นการตัดสินใจที่คานึงถึง ประโยชน์ ที่พึงได้ สูงสุด โดยอาจอาศัยเทคนิคทางคณิ ตศาสตร์ เป็ นตัวช่วยในการตัดสินใจ เช่น ตัวอย่างการซื ้อรถยนต์ (เกณฑ์ เต็ม 5) เกณฑ์ Honda Toyota Mazda Chev ราคา (20%) สมรรถนะ (20%) ดีไซน์ (20%) ประหยัดน ้ามัน (10%) ศูนย์ซ่อม (10%) อะไหล่ (10%) ตลาดรอง (10%) รวม 15
  • 16. 4.2 Satisficing Model (การตัดสิ นใจโดยความพึงพอใจ) การตัดสินใจโดยความพึงพอใจ (Satisficing Model) เป็ นการตัดสินใจเลือก ตัวเลือกที่เห็นว่าพอใจได้ ในระดับหนึ่ง โดยพยายามสร้ างสถานการณ์การเลือก ให้ ง่ายที่สด คือลดขันตอนและทาให้ ง่ายเข้ าว่า เริ่ มจากการกาหนดเกณฑ์ที่คิด ุ ้ ว่า ตนพอใจ และยอมรั บ ได้ จากนัน ก็ ก าหนดตัว เลื อ กมาพอสมควรแล้ ว น า ้ ตัวเลือกมาเทียบเคียงกับเกณฑ์ทีละตัว ซึงจากสถานการณ์เดียวกันนี ้ อาจจะตัดเหลือตัวเลือกเฉพาะยี่ห้อที่ตวเองชอบ แล้ วทา ่ ั การเปรี ยบเทียบกันแค่ 2 ตัวเลือกนัน เช่น ชอบ Mazda และ Chevrolet ก็จะพิจารณาแค่ 2 ้ ตัวเลือกนี ้เท่านัน แต่ปรากฏว่า Mazda ต้ องรอรับรถอีก 6 เดือนเนื่องจากสถานการณ์น ้าท่วม ้ เลยทาให้ ตดสินใจเลือก Chevrolet เป็ นต้ น ั 16
  • 17. 4.3 Implicit Favorite Model (การตัดสิ นใจโดยมีความชื่ นชอบแอบแฝง) การตัดสินใจโดยมีความชื่นชอบแอบแฝง (Implicit Favorite Model) เป็ นการ ตัดสินใจที่คล้ ายกับแบบ Satisficing แตกต่างกันที่ผ้ ตดสินใจแอบมีตวเลือกที่ ู ั ั ต้ องการไว้ ในใจตังแต่เริ่ มต้ นแล้ ว เพียงแต่ต้องการหาตัวเลือกอื่นมายืนยันให้ ้ เห็นว่า มีการเลือกแล้ วอย่างเป็ นระบบ ซึ่งเมื่อถึงขันสุดท้ ายก็จะตัดสินใจเลือก ้ ตัวเลือกที่แอบแฝงอยูนนเอง ่ ั่ ซึงจากสถานการณ์เดียวกัน ผู้ค้าอาจจะแอบเลือก Mazda อยู่ในใจแต่แรก ่ เพราะชอบดีไซน์ ที่ทนสมัยและทรงสปอร์ ต แต่หาข้ อมูลอื่น ๆ มาเปรี ยบเทียบ ั เพื่อทาให้ ร้ ูสกว่ามีการตัดสินใจแบบเป็ นระบบ เป็ นต้ น ึ 17
  • 18. 4.4 Intuitive Model (การตัดสิ นใจโดยไม่ มเหตุผล) ี การตัดสินใจโดยไม่ มีเหตุผล (Intuitive Model) เป็ นการตัดสินใจที่อาศัย ความรู้ สึกส่วนบุคคล โดยไม่มีเหตุผลมาอธิ บาย ผู้ตัดสินใจรู้ แต่เพียงว่า ต้ อง เลือกตัวเลือกนี ้ โดยไม่สามารถอธิบายได้ ว่าเป็ นเพราะเหตุใด อาจเป็ นเรื่ องของ ประสบการณ์หรื อความสามารถส่วนตัว เช่น หัวหน้ าสั่งให้ น.ส. กอไก่ ซือของที่ระลึกให้ ลูกค้ าต่างประเทศ ที่จะ ้ มอบให้ ภายในบ่ายนี !้ น.ส. กอไก่ เลยตัดสินใจซื ้อ “ผ้ าไหมไทย” ซึ่งมาจาก ประสบการณ์ของ น.ส. กอไก่ ที่สวนตัวที่เป็ นคนรักสวยรักงาม ทาให้ ไม่ต้องคิด ่ อะไรมาก แต่ถ้า น.ส. กอไก่ เป็ นคนชอบทานอาหาร ก็อาจจะซื ้อเป็ น “ขนมไทย” ให้ แทนก็ได้ 18
  • 19. 4.5 Escalation of Commitment (การตัดสิ นใจแบบตกกระไดพลอยโจน) การตัดสินใจแบบตกกระไดพลอยโจน (Escalation of Commitment) เป็ นสิ่งที่ผ้ ตดสินใจต้ องเดินไปข้ างหน้ าต่อไปหลังจากที่ได้ มีการตัดสินใจไปแล้ ว ู ั ซึงอาจจะเป็ นการตัดสินโดยที่ตงใจหรื อไม่ตงใจก็ตาม ่ ั้ ั้ เช่ น ไปดูเ สื อ ผ้ า แล้ ว ชอบ เลยขอพนัก งานขายลองเสื อ ผ้ า ดัง กล่า ว แต่ ้ ้ ปรากฏว่าใส่แล้ วไม่สวย แต่พนักงานขายก็เชี ยร์ จนในที่สุดเราก็ซือจนได้ ซึ่ง ้ สาเหตุอาจจะมาจาก 1) เกรงใจ 2) กลัวเสียหน้ า 3) ไม่กล้ าปฏิเสธ เป็ นต้ น 19
  • 20. พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC ความท้ าทายที่นกการตลาดทุกรายต้ องพบ คือ การหาวิธีโน้ มน้ าวพฤติกรรม ั ผู้บริโภคให้ ชื่นชอบสินค้ าหรื อบริการของตน ความสาเร็จของนักการตลาดในการ โน้ มน้ าวให้ เกิดการซื ้อนันขึ ้นกับการเข้ าใจพฤติกรรมผู้บริ โภค นักการตลาดต้ อง ้ ทราบความจาเป็ นเฉพาะที่ลกค้ าต้ องการและถูกนาไปเป็ นเกณฑ์ในการซื ้อ ู ตระหนักถึง ประเมิน ประเมินผล ค้ นหาข้ อมูล ตัดสินใจซือ ้ ปั ญหา ทางเลือก หลังการซือ ้ 20
  • 21. 5. การประเมินหลังการซื้อ (The Process after Purchase/Use) พึงพอใจ ซื ้อ ไม่ได้ ใช้ (Positive) ลูกค้ าที่ผกผัน ู ใช้ พฤติกรรมการบ่น ซื ้อซ ้า ประเมินผล เปลี่ยนยี่ห้อ เพิ่มการใช้ เลิกใช้ ไม่ พงพอใจ ึ (Negative) ที่มา : ปรับปรุงจาก สุภาภรณ์ พลนิกร, พฤติกรรมผู้บริโภค (2548) 21
  • 23. พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง 1. ใช้คความดึของผู้มของผู้งมีช่ ือเสียAppeals) 1. ใช้ วามดึงดูด งดูด ีช่ ือเสีย (Celebrity ง (Celebrity Appeals) 2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert) 3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man) 4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) 5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) 23
  • 24. 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 1.1 การให้ การรั บรอง (Testimonial) ทาโดยให้ ผ้ มีชื่อเสียงระบุวาตนเอง ู ่ ได้ ใช้ สินค้ านันแล้ วจึงสามารถรับประกันคุณภาพสินค้ านันได้ ้ ้ แพนเค้ ก - Mistine คริส หอวัง – Toyota Sure ณัฐ (เทพฯ) – กูลตา เฮลติ วุฒศักดิ์ ิ 24
  • 25. 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 1.2 การยินยอมให้ ใช้ ช่ ือ (Endorsement) โดยผู้มีชื่อเสียงอนุญาตให้ นา ชื่อของตนไปกล่าวอ้ างในสินค้ านันได้ ้ ปุย พิมลวรรณ - วุฒศักดิ์ ้ ิ ลิเดีย - วุฒศักดิ์ ิ ไก่ วรายุทธ - วุฒศักดิ์ ิ 25
  • 26. 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 1.3 การแสดง (Actor) วิธีนี ้ผู้มีชื่อเสียงต้ องแสดงเป็ นส่วนหนึงของโฆษณา ่ หรื อนาเสนอสินค้ านันเพิ่มเติมจากการอนุญาตให้ นาชื่อไปกล่าวอ้ าง ้ เคน ธีระเดช พอร์ ช ศรัณย์ สมาร์ ท กฤษฎา Vaseline for Men Garnier Men Olay Men รับบท : นักแสดง รับบท : นักมวย รับบท : Wakeboarder 26
  • 27. 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 1.4 การเป็ นโฆษกประจาสินค้ าในช่ วงเวลาหนึ่ง (Spokesperson) วิธีนี ้ผู้ มีชื่อเสียงทาหน้ าที่เป็ นตัวแทนส่งเสริ มการตลาดให้ กับสินค้ าหรื อบริ หารเป็ น ระยะเวลาหนึง ่ แพท สุธาสินี อ้ อม พิยดา Brand Ambassador # 1 Brand Ambassador # 2 27
  • 28. พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 2.การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ้ ูเ(The Expert) (The Expert) 2. การใช้ ผ ชี่ยวชาญ 3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man) 4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) 5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) 28
  • 29. 2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert) ความเชี่ยวชาญดังกล่าวได้ มาจากการที่บคคลนันมีอาชีพ ผ่านการฝึ กอบรม ุ ้ หรื อมีประสบการณ์ ในการใช้ หรื อเกี่ยวข้ องกับสินค้ าบางชนิด จึงทาให้ สามารถ โน้ มน้ าวผู้บริโภคให้ เกิดความเชื่อถือได้ Tiger Woods หนูดี วนิษา Thomas Thor NikeGolf แบรนด์ ซุปไก่ SunSilk Co-Creation 29
  • 30. พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert) 3. การใช้บุคุคคลทีกในสถานการณ์ คล้ ายกัล้ า(The Common man) 3. การใช้ บ คลที่ต ่ ตกในสถานการณ์ ค น ยกัน (The Common man) 4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) 5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) 30
  • 31. 3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man) วิธีนีมกจะใช้ โฆษณาตามแนวคิดที่เรี ยกว่า ฉากหนึ่งของชีวิต (Slice-of-life ้ั Commercial) เพื่อให้ ลกค้ าคาดหวัง (Prospective Customer) เห็นว่าถ้ าเขาอยู่ใน ู สภาพเหมือนกันกับคนในโฆษณาผลลัพธ์ที่ออกมาน่าจะคล้ ายกัน รถเมล์ คะนึงนิจ Presenter Presenter Pantene (แพนทีน) ธนาคารไทยพาณิชย์ ยาสีฟันคอลเกต (SCB SME) 31
  • 32. พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert) 3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man) 4.4. การใช้ผ้ บริหารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) การใช้ ผู หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) 5. การใช้ โฆษกหรื อพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) 32
  • 33. 4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) ปั จจุบนบริ ษัทต่าง ๆ ได้ นาผู้บริ หารระดับสูงของตนมาทาหน้ าที่เป็ นโฆษกในโฆษณาที่ ั สนับสนุนสินค้ าของตนมากขึน ซึ่งพบว่ามีการตอบรับและประสิทธิภาพดี เนื่องจากผู้บริ หาร ้ ระดับสูงที่มีความรู้จกมักจะได้ รับความชื่นชมจากคนโดยทัวไป ทังนี ้พนักงานของบริ ษัทที่เสนอ ั ่ ้ ขายสินค้ าก็ยงเป็ นอีกหนึงบุคคลอ้ างอิงที่มีประสิทธิภาพอีกด้ วย ั ่ พาที สารสิน ตัน ภาสกรนที พนักงาน CEO Nok Air CEO ชาเขียวอิชิตน ั บริษัทกรุ งเทพประกันภัย 33
  • 34. พฤติกรรมการบริโภคที่มีผลมาจากกลุ่มอ้ างอิง 1. ใช้ ความดึงดูดของผู้มีช่ ือเสียง (Celebrity Appeals) 2. การใช้ ผ้ ูเชี่ยวชาญ (The Expert) 3. การใช้ บุคคลที่ตกในสถานการณ์ คล้ ายกัน (The Common man) 4. การใช้ ผ้ ูบริ หารและพนักงาน (The Executive and Employee spoke-person) 5. การใช้ฆษกหรือพิธอรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) 5. การใช้ โ โฆษกหรื ีก พิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) 34
  • 35. 5. การใช้ โฆษกหรือพิธีกรทางการค้ า (Trade or Spoken-characters) การใช้ โ ฆษกทางการค้ า (เช่ น บุค คล การ์ ตูน ) โดยมากใช้ ใ นการแสดง ภาพลักษณ์หรื อจินตภาพในอุดมคติ (Ideal Self-image) ของผู้บริ โภคเปาหมาย ้ โดยผู้แสดงให้ ข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับสินค้ าหรื อบริการนัน ๆ ด้ วย ้ Barbegon น้ องสุขใจ m&m Bar-B-Q Plaza ททท. 35
  • 37. การตัดสินใจซือในครัวเรือน (Household) หรือครอบครัว (Family) ้ การตัดสินใจซื ้อผลิตภัณฑ์หรื อบริ การต่างๆ ภายในครอบครัวขึ ้นอยู่กบแต่ ั ละวัฒนธรรม นอกจากนี ้บุคลิกภาพของสมาชิกในครอบครัวก็มีส่วนสาคัญใน การตัดสินใจ สาหรับในการตัดสินใจภายในครัวเรื อนนันสมาชิกในครอบครัวแต่ ้ ละคนมีโอกาสทาหนึงหรื อหลายหน้ าที่ใน 6 หน้ าที่ตอไปนี ้ ่ ่ • Initiator (ผู้ริเริ่ ม) • Information Gatherer (ผู้รวบรวมข้ อมูล) • Influencer (ผู้มีอิทธิพล) • Decider (ผู้ตดสินใจ) ั • Purchaser (ผู้ซื ้อ) • User (ผู้ใช้ ) 37
  • 38. การตัดสินใจซือในครัวเรือน (Household) หรือครอบครัว (Family) ้ ตัวอย่ าง : การซือเครื่ องปรั บอากาศในครอบครัว ้ Influencer แม่ ปั ญหา Initiator Decider Purchaser User อากาศร้ อน ลูก (ร้ อน) พ่อ แม่ พ่อ พ่อ แม่ ลูก Information Gatherer พ่อ 38
  • 39. SUMMARY & QUESTION 39