SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  56
Télécharger pour lire hors ligne
ประชาคมอาเซียน

                       จัดโดย
สมาคมรองผูอานวยการสถานศึกษาการศึกษาขันพื้นฐาน
           ้                               ้
                   แห่งประเทศไทย
   ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ สะพานซังฮี้ เขตบางพลัด
       วันเสาร์ท่ี 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556
                                                   โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                   ั
             เวลา 10.30-16.30 น.
                                                นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
ส่วนที่ 1
ทาความรูจกประชาคมอาเซียน
        ้ั


                    โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                    ั
                 นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
                                                           2
ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ




                   โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                   ั
                นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
                                                          3
• เปาหมายของการรวมเป็ นประชาคมอาเซียน
    ้
คือ
  o การส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค
  o การธารงไว้ซงสันติภาพ เสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง
                 ึ่                             ่
  o การสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ
  o การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
  o การกินดีอยู่ดของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและ
                    ี
    ผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก
  o การจัดตังประชาคมอาเซียนให้ได้ในปี 2558
            ้
                                         โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                         ั
                                      นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด     4
1. ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน
                           ่
(ASEAN Political and Security Community – APSC)
1)การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน
2)ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษา
  ความมันคงสาหรับประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน
          ่
3)การมีพลวัตและปฏิสมพันธ์กบโลกภายนอก
                   ั      ั
                                     โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                     ั
                                  นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด     5
2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
(ASEAN Political-Security Community-AEC)
 1)การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว
 2)การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
   ของอาเซียน
 3)การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค
 4)การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
                                   โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                   ั
                                นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด     6
3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
(ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC)
 1)การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
 2)การคุมครองและสวัสดิการสังคม
         ้
 3)สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม
 4)ความยังยืนด้านสิงแวดล้อม
           ่       ่
 5)การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน
 6)การลดช่องว่างทางการพัฒนา          โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                     ั
                                  นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด     7
ปั จจัยที่จะทาให้อาเซียนมีอทธิพลในโลกมากขึ้นกว่าใน
                           ิ
อดีตที่ผ่านมา
1. สถานการณ์เอื้ออานวย - มหาอานาจตะวันตกกาลังเสือมถอย
                                                ่
 ปั จจุบนมีสญญาณความเสื่อมถอยของสหรัฐฯ ออกมาให้เห็นกันเป็ น
            ั ั
  ระยะ เช่น
   oการชะลอตัวของเศรษฐกิจ
   oหรือ การผงาดขึ้ นมามีอทธิพลของภูมิภาคเอเชีย
                          ิ
 ขณะทีสหภาพยุโรปเอง เวลานี้ยงอยูในวิกฤติเศรษฐกิจ และไม่สามารถจะ
          ่                   ั ่
  ฟื้ นตัวขึ้นมาได้                        โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                                  นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   8
2. อาเซียนเป็ นภูมิภาคที่มีศกยภาพและยกระดับตัวเองขึ้นมาก
                             ั
 ในช่วงเวลาที่ผ่านมา
• 2.1 อาเซียนเป็ นตลาดเดียวที่มีขนาดใหญ่




                                                            9
2.2 อาเซียนเป็ นภูมิภาคที่มีอตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
                              ั
• Figure1: World’s GDP Growth by Region
14


12


10


 8                                                                                      World
                                                                                        Major advanced economies (G7)
 6                                                                                      European Union
                                                                                        Developing Asia
 4
                                                                                        ASEAN-5

 2                                                                                      Latin America and the Caribbean
                                                                                        Middle East and North Africa
 0                                                                                      Sub-Saharan Africa
     2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012*2013*2014*2015*2016*2017*
-2


-4


-6


• Source: World Economic Outlook Database (IMF), April 2012.
                                                                                                                          10
่
2.3 อาเซียนเป็ นส่วนหนึงของห่วงโซ่การผลิตสาคัญของโลก
 อาเซีย นเป็ นภู มิ ภ าคที่ มี แ หล่ ง ทรัพ ยากรธรรมชาติ ท่ี อุ ด ม
  สมบูรณ์และหลากหลาย เป็ นแหล่ งที่ ตงการผลิตสิน ค้า และ
                                               ั้
  บริการที่สาคัญของโลก
 สินค้าส่งออกสาคัญของอาเซียน ได้แก่
   oวงจรรวมอิเล็กทรอนิกส์
   oปิ โตรเลียม
   oชิ้ นส่วนและส่วนประกอบคอมพิวเตอร์และเครืองจักร
                                             ่
   oอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น      โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                         ั
                                                 นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด   11
Figure2: Real Manufacturing Production by Region: 2005-2011




Source: Euromonitor International from national statistics/UN/OECD
Note: Figures are in constant terms; fixed 2010 US$ exchange rate. 2011
figures are forecast                                                      12
2.4 อาเซียนเป็ นภูมิภาคที่เปิ ดกว้างและเชือมโยงกับโลกสูง
                                          ่




                                                                     โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                                     ั
                                                                                                       13
                  Free powerpoint template: www.brainybetty.com   นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
Figure4: ASEAN Global Connectivity




• Source: ASEAN Secretaries       โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                  ั
                               นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด     14
2.5 อาเซียนมีโครงสร้างเชิงสถาบันที่รองรับ
   อาเซียนเป็ นกลุมประเทศทีมีประวัติศาสตร์
                   ่        ่
      มีโครงสร้างสถาบันเกิดขึ้นมาแล้วอย่างน้อย 50 ปี
   โครงสร้างเชิงสถาบันของอาเซียนทีพฒนาไประดับหนึ่ง
                                   ่ ั
      ทังด้านการเมือง ความมันคง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม
         ้                   ่
      คาดว่าจะมีการขยายจากอาเซียนเป็ นอาเซียน+3       หรือ
       อาเซียน+6 ในอนาคต

                                               โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                               ั
                                            นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด15
่
2.6 อาเซียนมีความหลากหลายสามารถเชือมโยงได้กบทุกกลุ่ม
                                           ั
  อาเซียน 10 ประเทศ สามารถเชือมโยงกับประเทศอืนได้หมด
                              ่               ่
    oเช่น บางประเทศในอาเซียนเป็ นประเทศมุสลิม
    oจึงสามารถไปเชือมโยงกับประเทศที่เป็ นมุสลิมในตะวันออกกลางได้
                   ่
     เป็ นต้น



                                              โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                              ั
                                           นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด16
ส่วนที่ 2
ผลกระทบของประชาคมอาเซียน
  ต่อการจัดการศึกษาในไทย

                   โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                   ั
                นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 17
1. โอกาส
1.1 โอกาสในการยกระดับคุณภาพการศึกษา
   การเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนจะเป็ นแรงกดดันหนึ่ง
     oให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการศึกษาของไทย
     oเป็ นเหมือนโอกาสดีที่จะผลักดันสิ่ งใหม่ๆ เข้ามาในระบบ
       การศึกษา
   ปัจจุบนมีสัญญาณบ่ งชี้หลายประการที่แสดงให้เห็นว่า ไทยเรา
          ั
                                   ่
    มีสมรรถนะด้ านการศึกษาจัดอยูในระดับต่าถึงปานกลาง
                                          โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                          ั
                                       นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 18
ตัวอย่าง:
• ผลการจัดอันดับสมรรถนะด้านการศึกษาของประเทศ




                                               19
อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษา




• หมายเหตุ: ในวงเล็บเป็ นอันดับของปี 2553
                                            20
อัตราการไม่รหนังสือของผูใ้ หญ่อายุ 15 ปี ขึ้นไป
            ู้




• หมายเหตุ: ในวงเล็บเป็ นอันดับของปี 2553
                                                  21
อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับประถมศึกษา




• หมายเหตุ: ในวงเล็บเป็ นอันดับของปี 2553   22
อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับมัธยมศึกษา




• หมายเหตุ: ในวงเล็บเป็ นอันดับของปี 2553
                                            23
ตัวอย่างที่ 2: ผลการประเมิน PISA ของไทย

   หน่วยงานจัดอันดับ PISA (จาก 65 ประเทศ)                  2552
การอ่าน                                            อยูในช่วง 47-51
                                                      ่
คณิตศาสตร์                                         อยูในช่วง 48-62
                                                      ่
วิทยาศาสตร์                                        อยูในช่วง 47-59
                                                      ่


                                               โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                               ั
                                            นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด24
ตัวอย่างที่ 3: สถิติการอ่านหนังสือของเด็กไทย
   หน่วยงานจัดอันดับ สานักงานสถิติแห่งชาติ                 2554

ไทย                                                  2-5 เล่มต่อปี
สิงคโปร์                                           50-60 เล่มต่อปี

เวียดนาม                                              60 เล่มต่อปี

                                                โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                ั
                                             นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 25
1.2 โอกาสการขยายหุนส่วนความร่วมมือและเครือข่าย
                  ้
     ทางวิชาการ
  การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเป็ นโอกาสทาให้เกิดการ
   ขยายหุนส่วนและเครือข่ายวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษา
          ้
   และหน่วยงานในภูมิภาค
     รวมทังให้เอกชนและภาคประชาสังคมเข้ามามีสวนร่วมมากขึ้น
           ้                                  ่
     เพิมประสิทธิภาพและเกิดความประหยัดในระบบทรัพยากร
         ่
     เกิดความหลากหลาย
     เกิดความรูสกความเป็ นเจ้าของ
                 ้ึ
     เกิดพลังในการร่วมแรงร่วมใจของกลุมต่าง ๆ
                                      ่                      26
1.3 โอกาสการพัฒนาและยกระดับคุณภาพครูผูสอน
                                       ้
     ครูจดอยูในกลุมอาชีพทีมีรายได้นอย ไม่จูงใจคนเก่งให้อยาก
           ั ่ ่           ่        ้
      เป็ นครู
แอร์ สจ๊ วต = 40,000 – 80,000           วิศวกร = 18,000 – 30,000
แพทย์ GP = 50,000 – 80,000 (รั ฐบาล)    นักบัญชี = 16,000 – 30,000
แพทย์เฉพาะทาง = 120,000 – 300,000       ธนาคาร = 12,000 – 20,000
(เอกชน)                                 ปริญญาตรี สาขาอื่นๆ = 9,000 – 20,000
เภสัช Sale = 40,000 – 60,000 (เอกชน)
วิศวกรบริษัทน ้ามัน = 30,000 – 50,000



                                                                               27
1.4 โอกาสการร่วมมือกับภาคีทางวิชาการเพือการพัฒนา
                                       ่
          ่
    ท้องถิน
  โดยสถาบันการศึกษาไทยร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและ
   หน่วยงานในภูมิภาค
    oในด้านทีตนเองแกร่ง
             ่
  ประสานสรรพกาลัง ความรู ้ และทรัพยากร เพื่อการพัฒนา
         ่
   ท้องถินร่วมกัน
    oทุกฝ่ ายต่างได้ประโยชน์
    oก่อให้เกิดความเข้มแข็งในภูมิภาค      โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                          ั
                                       นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด28
1.5 โอกาสการพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
    การศึกษา
  การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นอกจากจะทาให้เกิดการ
   เคลื่อนย้ายแรงงาน สินค้า และบริการระหว่างกลุ่มประเทศ
   สมาชิกแล้ว
    oยังทาให้เกิดการเคลือนย้าย ถ่ายโอน ทักษะและเทคโนโลยี
                        ่
     ระหว่างกันอีกด้วย
    oส่งผลทาให้การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาของ
     สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เกิดความเจริญก้าวหน้า
                                            โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                            ั
                                         นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด29
1.6 โอกาสสาหรับธุรกิจด้านการศึกษา
 • หากพิจารณาภาคการศึกษาในบางประเทศในอาเซียน เช่น
 1) มาเลเซีย
    oเป้ าหมาย - ยกฐานะเป็ นประเทศพัฒนาแล้วในปี 2563
    oตังเป้ าหมายผลิตผูจบ ป.เอก 18,000 คน ภายในปี 2558
       ้               ้
    oต้องเพิ่มสัดส่วนแรงงานทีจบ ป.ตรีข้ นไปให้ได้ 37% ภายในปี 2558
                             ่          ึ
    oผลักดันให้มหาวิทยาลัยของรัฐรับอาจารย์ทจบการศึกษาระดับ
                                             ่ี
     ปริญญาเอกมากขึ้น
    oมาเลเซียจึงลงทุนสร้างทุนมนุษย์อย่างมโหฬาร โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์
                                                           นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด30
• 2) เวียดนาม
   oคนรุนใหม่ให้ความสาคัญกับการศึกษาป.โทเพิ่มขึ้นกว่า 139%
        ่
   oรัฐบาลเวียดนามลงทุนด้านการศึกษาระดับสูงแก่เยาวชน
   oสาขาวิชาทีมีผตองการศึกษามากทีสุด ได้แก่
              ่ ู้ ้              ่
      การบริหารจัดการธุรกิจ การเงิน การท่องเทียว
                                               ่
      เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรมศาสตร์



                                           โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                        นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด31
3) ฟิ ลิปปิ นส์
   oชาวฟิ ลิปปิ นส์รุนใหม่มุงมันกับการศึกษาต่อต่างประเทศ
                      ่     ่ ่
        วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปศาสตร์ สถาปั ตยกรรมศาสตร์
        กฎหมาย สิงแวดล้อม การท่องเทียวและการโรงแรม
                    ่                    ่
   oโดยมีขอมูลระบุวา เด็กฟิ ลิปปิ นส์ 50% สนใจเรียนในสาขา
              ้         ่
      การจัดการธุรกิจ
   oอีก 31% สนใจศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญา
      เอกในต่างประเทศ                      โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                                    นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด32
• 4) อินโดนีเซีย
   oคนเหล่านี้มีความสนใจทีจะไปศึกษาต่อในต่างประเทศ
                          ่
   oเพื่อสร้างโอกาสในการหางาน เนื่องจาก
     มีผลสารวจระบุวา นายจ้างในอินโดนีเซีย
                      ่
     ยินดีรบผูจบการศึกษาจากต่างประเทศมากกว่า เป็ น
              ั ้
        ต้น

                                       โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                       ั
                                    นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด33
2. ความเสียง – การแข่งขันในการให้บริการ
          ่
การศึกษาที่รนแรงขึ้นจากต่างชาติ
            ุ
 การเปิ ดเสรีดานการศึกษาของไทย
               ้
1) ระดับพหุภาคี
   oภายใต้ความตกลงทัวไปว่าด้วยการค้าบริการ
                     ่
   o(General Agreement on Trade in Services : GATS)
   oขององค์การการค้าโลก หรือ WTO (World Trade
    Organization)
                                           โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                        นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด34
2) ระดับภูมิภาคอาเซียน
ต่ อ  ภายใต้ความตกลงการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN
      Framework Agreement on Services : AFAS)
     มีรูปแบบการค้าบริการ 4 รูปแบบ ได้แก่
       oMode 1 การให้บริการข้ามพรมแดน (Cross Border Supply)
       oMode 2 การบริโภคบริการในต่างประเทศ (Consumption Abroad)
       oMode 3 การจัดตังธุรกิจเพื่อให้บริการ (Commercial Presence)
                        ้
       oMode 4 การเคลื่อนย้ายบุคลากร (Movement of Natural Persons)

                                                โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                ั
                                             นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด35
ส่วนที่ 3
                           ่
ข้อเสนอแนะการจัดการศึกษาเพือ
     รองรับประชาคมอาเซียน

                       โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                       ั
                    นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด36
1. การศึกษาที่มุ่งสู่ความเป็ นสากล
• 1.1 ปรับหลักสูตรให้เป็ นหลักสูตรนานาชาติ
     oเป้ าหมาย คือ พัฒนาให้คนไทยสามารถอ่านออกเขียนได้
      2-3 ภาษา



                                        โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                        ั
                                     นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด37
ต่อ
o ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 โดยมี 4 กระบุงให้เลือกเรียน
  คือ
• กลุมที่ 1 มหาอานาจเก่า เช่น ภาษาญีปุ่่ น ภาษาฝรังเศส
      ่                                           ่
  ภาษาเยอรมัน
• กลุมที่ 2 มหาอานาจเศรษฐกิจใหม่ เช่น จีน อินเดีย บราซิล รัสเซีย
        ่
  โปรตุเกต
• กลุมที่ 3 ประเทศเพือนบ้าน เช่น มลายู เขมร เวียดนาม พม่า และ
          ่          ่
• กลุมที่ 4 กลุ่มมหาอานาจอนาคต ประเทศในหนังสือ the next 100
            ่
  years เช่น                                    โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                ั
                                                          นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด38
1.2 เพิมการสอนด้วย Case study
       ่
 oทาให้เห็นของจริง ไม่หอคอยงาช้าง
 oต่อยอดจากประสบการณ์ทมีคณค่า
                            ่ี ุ
 oกระตุนให้ผูเ้ รียนและผูสอนกระตือรือร้นแสวงหาความรู ้ ทังจาก
        ้                ้                               ้
 ภายในและนอกห้องเรียน ทาให้การเรียนไม่น่าเบือ่
 oตัวอย่าง: ฮาร์วาร์ด
    ปั จจุบนมีการนา case study มากกว่า 70,000 cases
            ั
    ที่ถูกนามาสอนและ ตีพมพ์ส่สาธารณะ
                              ิ ู
                                                โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                ั
                                             นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด39
1.3 สอนโดยเปิ ดโอกาสให้กล้าคิด แสดงความเห็น และ
  ถกเถียงเชิงความคิด
oสร้างวัฒนธรรมส่งเสริมผูเ้ รียน กล้าคิด กล้าแสดงออก ได้
 ถกเถียงทางความคิด
oแสดงทัศนคติของตนในแต่ละเรืองอย่างเปิ ดเผย
                                ่
   ไม่กลัวว่าสิงที่ตนเองแสดงความเห็นออกไปเป็ นสิงผิด
                ่                                  ่
   ทีสาคัญเมื่อถกเถียงกันแล้ว ยังมีมิตรภาพที่ดตอกัน
      ่                                        ี ่
   เปิ ดใจกว้าง รับฟั งความเห็นที่แตกต่าง
                                              โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                              ั
                                           นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด40
1.4 สอนโดยฝึ กภาคปฏิบติ   ั
  ตัวอย่าง: ฮาร์วาร์ด เช่น วิชาศิลปะการสือสาร (The
                                         ่
  Arts of Communication)
   oสอนโดย ดร. ทิโมธี แมคคาร์ที (Timothy Patrick
    McCarthy) จะให้ความรูภาคทฤษฎี โดยการศึกษาจากการ
                         ้
    กล่าวสุนทรพจน์ของบุคคลชันนาของโลก และให้ฝึกภาคปฏิบติ
                            ้                         ั
    อย่างต่อเนื่อง
       นักศึกษาต้องร่างสุนทรพจน์รปแบบต่าง ๆ ตามทีกาหนด
                                  ู                 ่
       ต้องออกมากล่าวสุนทรพจน์นนให้เพือน ๆ ฟั ง
                                    ั้ ่
       ต้องประเมินให้คะแนนเพือน ๆ ด้วยกันเองด้วย โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์
                              ่
                                                            นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด41
1.5 สอนโดยเน้นต่อยอดและอ้างอิงทางปั ญญา
o ไม่ตองเริมจากศูนย์ ต้องอ้างอิงถูกต้อง
       ้ ่
o ตัวอย่าง: ฮาร์วาร์ด
  ไม่อาง อ้างไม่ถูกต้อง หากถูกจับได้ไล่ออก ลงโทษหนัก
        ้
  ฮาร์วาร์ดมีระบบตรวจสอบในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์
      มีกระบวนการละเอียดมากขึ้ น
      เข้าถึงแหล่งข้อมูลนับล้านๆ ในอินเทอร์เน็ตได้อย่าง
      รวดเร็วและครอบคลุม
                                             โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                             ั
                                          นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด42
1.6 ปรับปรนัยเป็ นอัตนัยทังหมด
                          ้
   oสอบแบบ Open book
   oฝึ กผูเ้ รียนให้คิด ไม่เน้นแต่ท่องจา
       แต่บางเรือง อาจต้องท่องจา เช่น กรณีดานการแพทย์ ฯลฯ
                    ่                       ้
   oตัวอย่าง: สิงคโปร์
       ออกแบบการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดให้กบผูเ้ รียน
                                                  ั
        เป็ นต้น

                                           โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                        นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด43
2. การจัดการศึกษาเพือพัฒนาทักษะการคิด
                    ่
oคนไทยควรพัฒนาทักษะการคิดครบถ้วนทัง 10 มิติ
                                  ้
    ได้แก่ การคิดเชิงมโนทัศน์, การคิดเชิงสร้างสรรค์, การคิดเชิง
      วิพากษ์, การคิดเชิงวิเคราะห์, การคิดเชิงเปรียบเทียบ, การคิด
      เชิงประยุกต์, การคิดเชิงบูรณาการ, การคิดเชิงกลยุทธ์, การ
      คิดเชิงอนาคต, การคิดเชิงสังเคราะห์
o ต้องเริมต้นปฏิรปการศึกษาทังระบบ
          ่        ู            ้
o มีวิชาพื้นฐานทักษะการคิด สอดแทรกในหลักสูตรโรงเรียน /
  มหาวิทยาลัย
o สร้างเครืองมือวัดการคิดที่มีประสิทธิภาพ
            ่                                     โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                                  ั
                                                         นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด44
3. การศึกษาที่ตอบสนองตลาดแรงงาน
o เนื่องจาก ตลาดแรงงานต้องการคนทีมีความรูความสามารถ
                                     ่       ้
    ทีมีคุณภาพและในปริมาณทีมากขึ้น
        ่                       ่
    จึงเป็ นหน้าที่ของการจัดการศึกษาทุกระดับ
        ต้องมีเปาหมายผลิตกาลังคนทีมีคุณภาพ
                  ้                    ่
        ทังด้านทิศทางที่ถูกต้อง มีคุณภาพ และในปริมาณที่
             ้
          เหมาะสม
        สอดคล้องกับวิสยทัศน์หรือทิศทางการพัฒนาประเทศ
                          ั
                                             โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                             ั
                                          นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด45
4. การศึกษาที่กาวหน้าด้านเทคโนโลยี
               ้
oโรงเรียนควรนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) มาใช้เป็ น
     ่        ่
 เครืองมือเพือก่อให้เกิดการสร้างฐานความรูใ้ หม่ ๆ จาก
 องค์ความรูพ้ ืนฐาน
            ้
oตัวอย่าง ฮาร์วาร์ด Faculty of Arts and Sciences มี
 หน่วยงานเฉพาะทาหน้าทีดงกล่าว ชือว่า Academic
                         ่ ั       ่
 Technology Group

                                           โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                        นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด46
ต่อ
1) อบรมและให้คาปรึกษาคณาจารย์ในการใช้สอ่ื
  เทคโนโลยีการสอนสมัยใหม่
2) สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ใช้ประกอบการสอนแบบ
  มัลติมีเดียให้คณาจารย์
3) พัฒนาซอฟแวร์บทเรียนออนไลน์

                                 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                 ั
                              นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด47
5. การศึกษาที่ตอบสนองผูเ้ รียน
   oเน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู ้ การแลกเปลียนความคิด
                                                    ่
    ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีรวมกันระหว่างครูผูสอนและ
                                    ่                 ้
    นักเรียน
   oมีการพัฒนาเนื้อหาของหลักสูตรการเรียนการสอน
   oเพื่อมุ่งสร้างผูเ้ รียนให้มีความรู ้ สามารถบูรณาการ และ
    ประยุกต์ใช้ความรูใ้ นการดารงชีวิตต่อไปได้
   oเพื่อสร้างผูเ้ รียนให้เป็ นมนุษย์ทครบถ้วนสมบูรณ์
                                         ่ี
                                            โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                            ั
                                         นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด48
6. การศึกษาทีม่ ุงเน้ นการสร้ างเครือข่ าย
             ่
o คานึงถึงการให้ สถาบันทางสั งคมอืนๆ เข้ ามามีส่วนร่ วมใน
                                  ่
  การจัดการเรียนการสอน
    เช่น ชุมชนท้องถิ่น หน่วยงานผูเ้ ชี่ยวชาญในภูมิภาค องค์กร
     พัฒนาเอกชน
o สร้างเป็ นเครือข่ ายระดับภูมิภาคและระดับโลก
    เพื่อทาให้เกิดประสิ ทธิภาพ เกิดความหลากหลาย
    เกิดความรู้สึกความเป็ นเจ้ าของ
    เกิดพลังในการร่ วมแรงร่ วมใจของกลุ่มต่าง ๆ
    ลดข้ อจากัดทางทรัพยากรและงบประมาณที่มีจากัดศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์
                                                โดย
                                                        นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด49
7.การศึกษาเพือสร้างพหุเอกานิยมในภูมิภาค
             ่
  ปรับปรุงความรูและความเข้าใจทางประวัตศาสตร์
                 ้                     ิ
    oเพื่อลดข้อขัดแย้งในภูมิภาคอาเซียน
  ส่งเสริมให้ความรูเ้ กี่ยวกับอาเซียนและสิทธิมนุษยชน
  ส่งเสริมให้ความรูแก่ครูผูสอนเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและ
                      ้        ้
   สันติภาพในภูมิภาค
  จัดการศึกษาด้านสังคมและวัฒนธรรม
    oสามารถบูรณาการความร่วมมือกับเสาอืน
                                      ่
                                             โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                             ั
                                          นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด50
8. การศึกษาที่มุ่งสมรรถนะ
 การพัฒนาการศึกษาไปทิศ Competency Based Education
 ต้องรูว่า Competency เด็กไทยอยู่ท่ีไหน
        ้
 ต้องวัดสมรรถนะ สร้างกลไกที่น่าเชือถือได้ข้ นมาวัดในทุกระดับว่า
                                   ่         ึ
   oเด็กทีจบออกไปสามารถรับรองได้วามีสมรรถนะมาตรฐานที่วดได้
           ่                     ่                      ั
    อย่างแท้จริง
   oทุกชันปี ต้องกาหนดสมรรถนะ
         ้                               ่                ่
                                   เด็กทีจะจบและหลักสูตรทีตลาด
    ต้องการ
                                           โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                           ั
                                                                              51
9.การศึกษาที่มุ่งบนฐานสอดคล้องตามจุดแกร่งของ
      ่
ท้องถิน
  ค้นหาเอกลักษณ์เฉพาะเพือพัฒนาจุดเด่นของตนเองให้เป็ นที่
                         ่
   ยอมรับของทังภูมิภาค
               ้
  ในอนาคตทีการแข่งขันด้านการศึกษาทวีความรุนแรงขึ้นนัน
             ่                                       ้
    oสถาบันการศึกษาควรสร้างจุดขายของตนเอง
    oพัฒนาตนเอง จัดการศึกษาสอดคล้องตามจุดแกร่งของท้องถิ่น
    oคานึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับความเป็ นท้องถิน
                                                     ่
                                          โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                          ั
                                       นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด52
10.การจัดการศึกษาบนฐานความเป็ นภูมิภาคอาเซียน
  บูรณาการอาเซียนเข้าไปเป็ นส่วนหนึงของการจัดการศึกษา
                                    ่
    oกาหนดให้ทุกวิชาสอดแทรกความเป็ นอาเซียนเข้าไปใน
     หลักสูตรการเรียนการสอน
    oมุ่งพัฒนาจิตสานึกการเป็ นพลเมืองอาเซียนให้กบผูเ้ รียน
                                                ั
  พัฒนาหลักสูตรการศึกษาที่เป็ นจุดร่วมกันของอาเซียน
  ร่วมมือด้านองค์ความรูและวิจยประเด็นร่วมของอาเซียน
                        ้      ั

                                               โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์
                                                                               ั
                                            นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด53
สถาบันอนาคตศึกษาเพือการพัฒนาได้ให้บริ การงานวิจย ฝึ กอบรม และคาปรึ กษา
                    ่                               ั
                      ั
การดาเนินโครงการให้กบหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ
                                                 ่
มากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปี ที่ผานมา
บริษัท ศูนย์ ฝึกอบรมและทีปรึกษา ไอเอฟดี จากัด
                         ่
•ให้บริ การคาปรึ กษา ด้านการบริ หารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์
• จัดโครงการฝึ กอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน
• ฝึ กอบรมสาหรับบุคคลทัวไป (Public Training) และฝึ กอบรมแบบ In-house
                         ่
• จัด Walk Rally และงานสัมมนา (บริ การทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พก)
                                                                  ั
• บริ การสารวจความคิดเห็น การทา Poll การวิจยเชิงสารวจ
                                             ั
• กิจกรรมพิเศษ (Event)
สอบถามรายละเอียดเพิมเติม
                     ่
87/110 อาคารโมเดอร์ นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุ งเทพฯ 10110
โทรศัพท์สานักงาน 0 2382 1560 -2 โทรศัพท์สายตรง : 0 2711 6495
โทรสาร : 0 2382 1565 www.ifdtraining.com
่ ั
กองทุนเวลาเพือสงคม
Email : Timebank.Thai@gmail.com
Tel. & Fax : 0-2711-7494
ตู ้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110

Website: http://www.kriengsak.com
E-mail:    kriengsak@kriengsak.com ,
           Kriengsak@post.harvard.edu

    ั
โทรศพท์ :      081-776-8989

โทรสาร        :  02-711-7474
ตู ้ ป.ณ. 369 ปณจ.พระโขนง
กรุงเทพฯ 10110
ติดต่ อ

• โทร. : 081-776-8989
•E-mail : kriengsak@kriengsak.com
•www.facebook.com/ drdancando

Contenu connexe

Tendances

อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์Preaw Adisaun
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanvorravan
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนTeeranan
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย irchula2014
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษาArt Nan
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนSaran Yuwanna
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015Silpakorn University
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 NIMT
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาPrachoom Rangkasikorn
 
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์Kruthai Kidsdee
 

Tendances (19)

อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
121120 ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนต่อวิชาชีพบรรณารักษ์
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย   ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
ถอดเทป สัมมนาโต๊ะกลมเชิงนโยบาย
 
Asean
AseanAsean
Asean
 
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียนฉันและเธอ เราคืออาเซียน
ฉันและเธอ เราคืออาเซียน
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษารายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
รายวิชาสังคมพื้นฐาน อาเซียนศึกษา
 
Asean course
Asean courseAsean course
Asean course
 
Asean book
Asean bookAsean book
Asean book
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015Sustainable tourism planning last lecture  apr 2015
Sustainable tourism planning last lecture apr 2015
 
อาเซียน (Asean)
อาเซียน (Asean)อาเซียน (Asean)
อาเซียน (Asean)
 
กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1กำเนิดอาเซียน1
กำเนิดอาเซียน1
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษาบทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
บทบาทประเทศไทยในเวทีโลก นโยบายด้านการศึกษา
 
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์
 

Similaire à ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์

รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1jompon rattana
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน CompressOrange Wongwaiwit
 
Asean section2
Asean section2Asean section2
Asean section2Ict Krutao
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมKruthai Kidsdee
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนfreelance
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนsompriaw aums
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนNatda Wanatda
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Rapol
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5nattawad147
 

Similaire à ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ (20)

รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
รายงานประจำปี คณะศึกษาศาสตร์ Draft#1
 
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compressเตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
เตรียมลูกรับมือกับอาเซียน Compress
 
Asean section2
Asean section2Asean section2
Asean section2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติมแผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษเพิ่มเติม
 
อาเซียน1
อาเซียน1อาเซียน1
อาเซียน1
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
The Art of Strategy
The Art of StrategyThe Art of Strategy
The Art of Strategy
 
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนกลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
กลุ่มหมูหมี --เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
 
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียนแนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
 
Asean 007
Asean 007Asean 007
Asean 007
 
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยนแนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
แนวทางจัดการเรียนรู้สู่อาเซี่ยน
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

Plus de Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sitesKruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveKruthai Kidsdee
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน GoogleKruthai Kidsdee
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesKruthai Kidsdee
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsKruthai Kidsdee
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Kruthai Kidsdee
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32Kruthai Kidsdee
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันKruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015Kruthai Kidsdee
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091Kruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าKruthai Kidsdee
 

Plus de Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

ประชาคมอาเซียน2013ศ.ดร.เกรียงศักดิ์

  • 1. ประชาคมอาเซียน จัดโดย สมาคมรองผูอานวยการสถานศึกษาการศึกษาขันพื้นฐาน ้ ้ แห่งประเทศไทย ณ โรงแรมริเวอร์ไซด์ สะพานซังฮี้ เขตบางพลัด วันเสาร์ท่ี 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556 โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั เวลา 10.30-16.30 น. นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
  • 2. ส่วนที่ 1 ทาความรูจกประชาคมอาเซียน ้ั โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 2
  • 3. ประเทศสมาชิก 10 ประเทศ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 3
  • 4. • เปาหมายของการรวมเป็ นประชาคมอาเซียน ้ คือ o การส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศในภูมิภาค o การธารงไว้ซงสันติภาพ เสถียรภาพ และความมันคงทางการเมือง ึ่ ่ o การสร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าทางด้านเศรษฐกิจ o การพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม o การกินดีอยู่ดของประชาชนบนพื้นฐานของความเสมอภาคและ ี ผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก o การจัดตังประชาคมอาเซียนให้ได้ในปี 2558 ้ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 4
  • 5. 1. ประชาคมการเมืองและความมันคงอาเซียน ่ (ASEAN Political and Security Community – APSC) 1)การมีกฎเกณฑ์และค่านิยมร่วมกัน 2)ส่งเสริมความสงบสุขและรับผิดชอบร่วมกันในการรักษา ความมันคงสาหรับประชาชนที่ครอบคลุมในทุกด้าน ่ 3)การมีพลวัตและปฏิสมพันธ์กบโลกภายนอก ั ั โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 5
  • 6. 2. ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Political-Security Community-AEC) 1)การเป็ นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2)การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ของอาเซียน 3)การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4)การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 6
  • 7. 3. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Socio-Cultural Community – ASCC) 1)การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2)การคุมครองและสวัสดิการสังคม ้ 3)สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม 4)ความยังยืนด้านสิงแวดล้อม ่ ่ 5)การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน 6)การลดช่องว่างทางการพัฒนา โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 7
  • 8. ปั จจัยที่จะทาให้อาเซียนมีอทธิพลในโลกมากขึ้นกว่าใน ิ อดีตที่ผ่านมา 1. สถานการณ์เอื้ออานวย - มหาอานาจตะวันตกกาลังเสือมถอย ่  ปั จจุบนมีสญญาณความเสื่อมถอยของสหรัฐฯ ออกมาให้เห็นกันเป็ น ั ั ระยะ เช่น oการชะลอตัวของเศรษฐกิจ oหรือ การผงาดขึ้ นมามีอทธิพลของภูมิภาคเอเชีย ิ  ขณะทีสหภาพยุโรปเอง เวลานี้ยงอยูในวิกฤติเศรษฐกิจ และไม่สามารถจะ ่ ั ่ ฟื้ นตัวขึ้นมาได้ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 8
  • 9. 2. อาเซียนเป็ นภูมิภาคที่มีศกยภาพและยกระดับตัวเองขึ้นมาก ั ในช่วงเวลาที่ผ่านมา • 2.1 อาเซียนเป็ นตลาดเดียวที่มีขนาดใหญ่ 9
  • 10. 2.2 อาเซียนเป็ นภูมิภาคที่มีอตราการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ั • Figure1: World’s GDP Growth by Region 14 12 10 8 World Major advanced economies (G7) 6 European Union Developing Asia 4 ASEAN-5 2 Latin America and the Caribbean Middle East and North Africa 0 Sub-Saharan Africa 2002 2003 2004 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012*2013*2014*2015*2016*2017* -2 -4 -6 • Source: World Economic Outlook Database (IMF), April 2012. 10
  • 11. ่ 2.3 อาเซียนเป็ นส่วนหนึงของห่วงโซ่การผลิตสาคัญของโลก  อาเซีย นเป็ นภู มิ ภ าคที่ มี แ หล่ ง ทรัพ ยากรธรรมชาติ ท่ี อุ ด ม สมบูรณ์และหลากหลาย เป็ นแหล่ งที่ ตงการผลิตสิน ค้า และ ั้ บริการที่สาคัญของโลก  สินค้าส่งออกสาคัญของอาเซียน ได้แก่ oวงจรรวมอิเล็กทรอนิกส์ oปิ โตรเลียม oชิ้ นส่วนและส่วนประกอบคอมพิวเตอร์และเครืองจักร ่ oอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 11
  • 12. Figure2: Real Manufacturing Production by Region: 2005-2011 Source: Euromonitor International from national statistics/UN/OECD Note: Figures are in constant terms; fixed 2010 US$ exchange rate. 2011 figures are forecast 12
  • 13. 2.4 อาเซียนเป็ นภูมิภาคที่เปิ ดกว้างและเชือมโยงกับโลกสูง ่ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั 13 Free powerpoint template: www.brainybetty.com นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด
  • 14. Figure4: ASEAN Global Connectivity • Source: ASEAN Secretaries โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 14
  • 15. 2.5 อาเซียนมีโครงสร้างเชิงสถาบันที่รองรับ  อาเซียนเป็ นกลุมประเทศทีมีประวัติศาสตร์ ่ ่  มีโครงสร้างสถาบันเกิดขึ้นมาแล้วอย่างน้อย 50 ปี  โครงสร้างเชิงสถาบันของอาเซียนทีพฒนาไประดับหนึ่ง ่ ั  ทังด้านการเมือง ความมันคง เศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรม ้ ่  คาดว่าจะมีการขยายจากอาเซียนเป็ นอาเซียน+3 หรือ อาเซียน+6 ในอนาคต โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด15
  • 16. ่ 2.6 อาเซียนมีความหลากหลายสามารถเชือมโยงได้กบทุกกลุ่ม ั  อาเซียน 10 ประเทศ สามารถเชือมโยงกับประเทศอืนได้หมด ่ ่ oเช่น บางประเทศในอาเซียนเป็ นประเทศมุสลิม oจึงสามารถไปเชือมโยงกับประเทศที่เป็ นมุสลิมในตะวันออกกลางได้ ่ เป็ นต้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด16
  • 17. ส่วนที่ 2 ผลกระทบของประชาคมอาเซียน ต่อการจัดการศึกษาในไทย โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 17
  • 18. 1. โอกาส 1.1 โอกาสในการยกระดับคุณภาพการศึกษา  การเข้าสู่ ประชาคมอาเซียนจะเป็ นแรงกดดันหนึ่ง oให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระบบการศึกษาของไทย oเป็ นเหมือนโอกาสดีที่จะผลักดันสิ่ งใหม่ๆ เข้ามาในระบบ การศึกษา  ปัจจุบนมีสัญญาณบ่ งชี้หลายประการที่แสดงให้เห็นว่า ไทยเรา ั ่ มีสมรรถนะด้ านการศึกษาจัดอยูในระดับต่าถึงปานกลาง โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 18
  • 21. อัตราการไม่รหนังสือของผูใ้ หญ่อายุ 15 ปี ขึ้นไป ู้ • หมายเหตุ: ในวงเล็บเป็ นอันดับของปี 2553 21
  • 24. ตัวอย่างที่ 2: ผลการประเมิน PISA ของไทย หน่วยงานจัดอันดับ PISA (จาก 65 ประเทศ) 2552 การอ่าน อยูในช่วง 47-51 ่ คณิตศาสตร์ อยูในช่วง 48-62 ่ วิทยาศาสตร์ อยูในช่วง 47-59 ่ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด24
  • 25. ตัวอย่างที่ 3: สถิติการอ่านหนังสือของเด็กไทย หน่วยงานจัดอันดับ สานักงานสถิติแห่งชาติ 2554 ไทย 2-5 เล่มต่อปี สิงคโปร์ 50-60 เล่มต่อปี เวียดนาม 60 เล่มต่อปี โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด 25
  • 26. 1.2 โอกาสการขยายหุนส่วนความร่วมมือและเครือข่าย ้ ทางวิชาการ  การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนจะเป็ นโอกาสทาให้เกิดการ ขยายหุนส่วนและเครือข่ายวิชาการระหว่างสถาบันการศึกษา ้ และหน่วยงานในภูมิภาค  รวมทังให้เอกชนและภาคประชาสังคมเข้ามามีสวนร่วมมากขึ้น ้ ่  เพิมประสิทธิภาพและเกิดความประหยัดในระบบทรัพยากร ่  เกิดความหลากหลาย  เกิดความรูสกความเป็ นเจ้าของ ้ึ  เกิดพลังในการร่วมแรงร่วมใจของกลุมต่าง ๆ ่ 26
  • 27. 1.3 โอกาสการพัฒนาและยกระดับคุณภาพครูผูสอน ้  ครูจดอยูในกลุมอาชีพทีมีรายได้นอย ไม่จูงใจคนเก่งให้อยาก ั ่ ่ ่ ้ เป็ นครู แอร์ สจ๊ วต = 40,000 – 80,000 วิศวกร = 18,000 – 30,000 แพทย์ GP = 50,000 – 80,000 (รั ฐบาล) นักบัญชี = 16,000 – 30,000 แพทย์เฉพาะทาง = 120,000 – 300,000 ธนาคาร = 12,000 – 20,000 (เอกชน) ปริญญาตรี สาขาอื่นๆ = 9,000 – 20,000 เภสัช Sale = 40,000 – 60,000 (เอกชน) วิศวกรบริษัทน ้ามัน = 30,000 – 50,000 27
  • 28. 1.4 โอกาสการร่วมมือกับภาคีทางวิชาการเพือการพัฒนา ่ ่ ท้องถิน  โดยสถาบันการศึกษาไทยร่วมมือกับสถาบันการศึกษาและ หน่วยงานในภูมิภาค oในด้านทีตนเองแกร่ง ่  ประสานสรรพกาลัง ความรู ้ และทรัพยากร เพื่อการพัฒนา ่ ท้องถินร่วมกัน oทุกฝ่ ายต่างได้ประโยชน์ oก่อให้เกิดความเข้มแข็งในภูมิภาค โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด28
  • 29. 1.5 โอกาสการพัฒนาความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี การศึกษา  การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน นอกจากจะทาให้เกิดการ เคลื่อนย้ายแรงงาน สินค้า และบริการระหว่างกลุ่มประเทศ สมาชิกแล้ว oยังทาให้เกิดการเคลือนย้าย ถ่ายโอน ทักษะและเทคโนโลยี ่ ระหว่างกันอีกด้วย oส่งผลทาให้การพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีการศึกษาของ สถาบันการศึกษาต่าง ๆ เกิดความเจริญก้าวหน้า โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด29
  • 30. 1.6 โอกาสสาหรับธุรกิจด้านการศึกษา • หากพิจารณาภาคการศึกษาในบางประเทศในอาเซียน เช่น 1) มาเลเซีย oเป้ าหมาย - ยกฐานะเป็ นประเทศพัฒนาแล้วในปี 2563 oตังเป้ าหมายผลิตผูจบ ป.เอก 18,000 คน ภายในปี 2558 ้ ้ oต้องเพิ่มสัดส่วนแรงงานทีจบ ป.ตรีข้ นไปให้ได้ 37% ภายในปี 2558 ่ ึ oผลักดันให้มหาวิทยาลัยของรัฐรับอาจารย์ทจบการศึกษาระดับ ่ี ปริญญาเอกมากขึ้น oมาเลเซียจึงลงทุนสร้างทุนมนุษย์อย่างมโหฬาร โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด30
  • 31. • 2) เวียดนาม oคนรุนใหม่ให้ความสาคัญกับการศึกษาป.โทเพิ่มขึ้นกว่า 139% ่ oรัฐบาลเวียดนามลงทุนด้านการศึกษาระดับสูงแก่เยาวชน oสาขาวิชาทีมีผตองการศึกษามากทีสุด ได้แก่ ่ ู้ ้ ่ การบริหารจัดการธุรกิจ การเงิน การท่องเทียว ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ประยุกต์ วิศวกรรมศาสตร์ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด31
  • 32. 3) ฟิ ลิปปิ นส์ oชาวฟิ ลิปปิ นส์รุนใหม่มุงมันกับการศึกษาต่อต่างประเทศ ่ ่ ่ วิศวกรรมศาสตร์ ศิลปศาสตร์ สถาปั ตยกรรมศาสตร์ กฎหมาย สิงแวดล้อม การท่องเทียวและการโรงแรม ่ ่ oโดยมีขอมูลระบุวา เด็กฟิ ลิปปิ นส์ 50% สนใจเรียนในสาขา ้ ่ การจัดการธุรกิจ oอีก 31% สนใจศึกษาต่อในระดับปริญญาโทและปริญญา เอกในต่างประเทศ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด32
  • 33. • 4) อินโดนีเซีย oคนเหล่านี้มีความสนใจทีจะไปศึกษาต่อในต่างประเทศ ่ oเพื่อสร้างโอกาสในการหางาน เนื่องจาก มีผลสารวจระบุวา นายจ้างในอินโดนีเซีย ่ ยินดีรบผูจบการศึกษาจากต่างประเทศมากกว่า เป็ น ั ้ ต้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด33
  • 34. 2. ความเสียง – การแข่งขันในการให้บริการ ่ การศึกษาที่รนแรงขึ้นจากต่างชาติ ุ  การเปิ ดเสรีดานการศึกษาของไทย ้ 1) ระดับพหุภาคี oภายใต้ความตกลงทัวไปว่าด้วยการค้าบริการ ่ o(General Agreement on Trade in Services : GATS) oขององค์การการค้าโลก หรือ WTO (World Trade Organization) โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด34
  • 35. 2) ระดับภูมิภาคอาเซียน ต่ อ  ภายใต้ความตกลงการค้าบริการของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement on Services : AFAS)  มีรูปแบบการค้าบริการ 4 รูปแบบ ได้แก่ oMode 1 การให้บริการข้ามพรมแดน (Cross Border Supply) oMode 2 การบริโภคบริการในต่างประเทศ (Consumption Abroad) oMode 3 การจัดตังธุรกิจเพื่อให้บริการ (Commercial Presence) ้ oMode 4 การเคลื่อนย้ายบุคลากร (Movement of Natural Persons) โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด35
  • 36. ส่วนที่ 3 ่ ข้อเสนอแนะการจัดการศึกษาเพือ รองรับประชาคมอาเซียน โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด36
  • 37. 1. การศึกษาที่มุ่งสู่ความเป็ นสากล • 1.1 ปรับหลักสูตรให้เป็ นหลักสูตรนานาชาติ oเป้ าหมาย คือ พัฒนาให้คนไทยสามารถอ่านออกเขียนได้ 2-3 ภาษา โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด37
  • 38. ต่อ o ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษาที่ 3 โดยมี 4 กระบุงให้เลือกเรียน คือ • กลุมที่ 1 มหาอานาจเก่า เช่น ภาษาญีปุ่่ น ภาษาฝรังเศส ่ ่ ภาษาเยอรมัน • กลุมที่ 2 มหาอานาจเศรษฐกิจใหม่ เช่น จีน อินเดีย บราซิล รัสเซีย ่ โปรตุเกต • กลุมที่ 3 ประเทศเพือนบ้าน เช่น มลายู เขมร เวียดนาม พม่า และ ่ ่ • กลุมที่ 4 กลุ่มมหาอานาจอนาคต ประเทศในหนังสือ the next 100 ่ years เช่น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด38
  • 39. 1.2 เพิมการสอนด้วย Case study ่ oทาให้เห็นของจริง ไม่หอคอยงาช้าง oต่อยอดจากประสบการณ์ทมีคณค่า ่ี ุ oกระตุนให้ผูเ้ รียนและผูสอนกระตือรือร้นแสวงหาความรู ้ ทังจาก ้ ้ ้ ภายในและนอกห้องเรียน ทาให้การเรียนไม่น่าเบือ่ oตัวอย่าง: ฮาร์วาร์ด ปั จจุบนมีการนา case study มากกว่า 70,000 cases ั ที่ถูกนามาสอนและ ตีพมพ์ส่สาธารณะ ิ ู โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด39
  • 40. 1.3 สอนโดยเปิ ดโอกาสให้กล้าคิด แสดงความเห็น และ ถกเถียงเชิงความคิด oสร้างวัฒนธรรมส่งเสริมผูเ้ รียน กล้าคิด กล้าแสดงออก ได้ ถกเถียงทางความคิด oแสดงทัศนคติของตนในแต่ละเรืองอย่างเปิ ดเผย ่  ไม่กลัวว่าสิงที่ตนเองแสดงความเห็นออกไปเป็ นสิงผิด ่ ่  ทีสาคัญเมื่อถกเถียงกันแล้ว ยังมีมิตรภาพที่ดตอกัน ่ ี ่  เปิ ดใจกว้าง รับฟั งความเห็นที่แตกต่าง โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด40
  • 41. 1.4 สอนโดยฝึ กภาคปฏิบติ ั ตัวอย่าง: ฮาร์วาร์ด เช่น วิชาศิลปะการสือสาร (The ่ Arts of Communication) oสอนโดย ดร. ทิโมธี แมคคาร์ที (Timothy Patrick McCarthy) จะให้ความรูภาคทฤษฎี โดยการศึกษาจากการ ้ กล่าวสุนทรพจน์ของบุคคลชันนาของโลก และให้ฝึกภาคปฏิบติ ้ ั อย่างต่อเนื่อง  นักศึกษาต้องร่างสุนทรพจน์รปแบบต่าง ๆ ตามทีกาหนด ู ่  ต้องออกมากล่าวสุนทรพจน์นนให้เพือน ๆ ฟั ง ั้ ่  ต้องประเมินให้คะแนนเพือน ๆ ด้วยกันเองด้วย โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์ ่ นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด41
  • 42. 1.5 สอนโดยเน้นต่อยอดและอ้างอิงทางปั ญญา o ไม่ตองเริมจากศูนย์ ต้องอ้างอิงถูกต้อง ้ ่ o ตัวอย่าง: ฮาร์วาร์ด ไม่อาง อ้างไม่ถูกต้อง หากถูกจับได้ไล่ออก ลงโทษหนัก ้ ฮาร์วาร์ดมีระบบตรวจสอบในรูปของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ มีกระบวนการละเอียดมากขึ้ น เข้าถึงแหล่งข้อมูลนับล้านๆ ในอินเทอร์เน็ตได้อย่าง รวดเร็วและครอบคลุม โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด42
  • 43. 1.6 ปรับปรนัยเป็ นอัตนัยทังหมด ้ oสอบแบบ Open book oฝึ กผูเ้ รียนให้คิด ไม่เน้นแต่ท่องจา แต่บางเรือง อาจต้องท่องจา เช่น กรณีดานการแพทย์ ฯลฯ ่ ้ oตัวอย่าง: สิงคโปร์ ออกแบบการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดให้กบผูเ้ รียน ั เป็ นต้น โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด43
  • 44. 2. การจัดการศึกษาเพือพัฒนาทักษะการคิด ่ oคนไทยควรพัฒนาทักษะการคิดครบถ้วนทัง 10 มิติ ้  ได้แก่ การคิดเชิงมโนทัศน์, การคิดเชิงสร้างสรรค์, การคิดเชิง วิพากษ์, การคิดเชิงวิเคราะห์, การคิดเชิงเปรียบเทียบ, การคิด เชิงประยุกต์, การคิดเชิงบูรณาการ, การคิดเชิงกลยุทธ์, การ คิดเชิงอนาคต, การคิดเชิงสังเคราะห์ o ต้องเริมต้นปฏิรปการศึกษาทังระบบ ่ ู ้ o มีวิชาพื้นฐานทักษะการคิด สอดแทรกในหลักสูตรโรงเรียน / มหาวิทยาลัย o สร้างเครืองมือวัดการคิดที่มีประสิทธิภาพ ่ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด44
  • 45. 3. การศึกษาที่ตอบสนองตลาดแรงงาน o เนื่องจาก ตลาดแรงงานต้องการคนทีมีความรูความสามารถ ่ ้  ทีมีคุณภาพและในปริมาณทีมากขึ้น ่ ่  จึงเป็ นหน้าที่ของการจัดการศึกษาทุกระดับ ต้องมีเปาหมายผลิตกาลังคนทีมีคุณภาพ ้ ่ ทังด้านทิศทางที่ถูกต้อง มีคุณภาพ และในปริมาณที่ ้ เหมาะสม สอดคล้องกับวิสยทัศน์หรือทิศทางการพัฒนาประเทศ ั โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด45
  • 46. 4. การศึกษาที่กาวหน้าด้านเทคโนโลยี ้ oโรงเรียนควรนาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) มาใช้เป็ น ่ ่ เครืองมือเพือก่อให้เกิดการสร้างฐานความรูใ้ หม่ ๆ จาก องค์ความรูพ้ ืนฐาน ้ oตัวอย่าง ฮาร์วาร์ด Faculty of Arts and Sciences มี หน่วยงานเฉพาะทาหน้าทีดงกล่าว ชือว่า Academic ่ ั ่ Technology Group โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด46
  • 47. ต่อ 1) อบรมและให้คาปรึกษาคณาจารย์ในการใช้สอ่ื เทคโนโลยีการสอนสมัยใหม่ 2) สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ใช้ประกอบการสอนแบบ มัลติมีเดียให้คณาจารย์ 3) พัฒนาซอฟแวร์บทเรียนออนไลน์ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด47
  • 48. 5. การศึกษาที่ตอบสนองผูเ้ รียน oเน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู ้ การแลกเปลียนความคิด ่ ข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีรวมกันระหว่างครูผูสอนและ ่ ้ นักเรียน oมีการพัฒนาเนื้อหาของหลักสูตรการเรียนการสอน oเพื่อมุ่งสร้างผูเ้ รียนให้มีความรู ้ สามารถบูรณาการ และ ประยุกต์ใช้ความรูใ้ นการดารงชีวิตต่อไปได้ oเพื่อสร้างผูเ้ รียนให้เป็ นมนุษย์ทครบถ้วนสมบูรณ์ ่ี โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด48
  • 49. 6. การศึกษาทีม่ ุงเน้ นการสร้ างเครือข่ าย ่ o คานึงถึงการให้ สถาบันทางสั งคมอืนๆ เข้ ามามีส่วนร่ วมใน ่ การจัดการเรียนการสอน  เช่น ชุมชนท้องถิ่น หน่วยงานผูเ้ ชี่ยวชาญในภูมิภาค องค์กร พัฒนาเอกชน o สร้างเป็ นเครือข่ ายระดับภูมิภาคและระดับโลก  เพื่อทาให้เกิดประสิ ทธิภาพ เกิดความหลากหลาย  เกิดความรู้สึกความเป็ นเจ้ าของ  เกิดพลังในการร่ วมแรงร่ วมใจของกลุ่มต่าง ๆ  ลดข้ อจากัดทางทรัพยากรและงบประมาณที่มีจากัดศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกั ดิ์ โดย นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด49
  • 50. 7.การศึกษาเพือสร้างพหุเอกานิยมในภูมิภาค ่  ปรับปรุงความรูและความเข้าใจทางประวัตศาสตร์ ้ ิ oเพื่อลดข้อขัดแย้งในภูมิภาคอาเซียน  ส่งเสริมให้ความรูเ้ กี่ยวกับอาเซียนและสิทธิมนุษยชน  ส่งเสริมให้ความรูแก่ครูผูสอนเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและ ้ ้ สันติภาพในภูมิภาค  จัดการศึกษาด้านสังคมและวัฒนธรรม oสามารถบูรณาการความร่วมมือกับเสาอืน ่ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด50
  • 51. 8. การศึกษาที่มุ่งสมรรถนะ  การพัฒนาการศึกษาไปทิศ Competency Based Education  ต้องรูว่า Competency เด็กไทยอยู่ท่ีไหน ้  ต้องวัดสมรรถนะ สร้างกลไกที่น่าเชือถือได้ข้ นมาวัดในทุกระดับว่า ่ ึ oเด็กทีจบออกไปสามารถรับรองได้วามีสมรรถนะมาตรฐานที่วดได้ ่ ่ ั อย่างแท้จริง oทุกชันปี ต้องกาหนดสมรรถนะ ้ ่ ่ เด็กทีจะจบและหลักสูตรทีตลาด ต้องการ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั 51
  • 52. 9.การศึกษาที่มุ่งบนฐานสอดคล้องตามจุดแกร่งของ ่ ท้องถิน  ค้นหาเอกลักษณ์เฉพาะเพือพัฒนาจุดเด่นของตนเองให้เป็ นที่ ่ ยอมรับของทังภูมิภาค ้  ในอนาคตทีการแข่งขันด้านการศึกษาทวีความรุนแรงขึ้นนัน ่ ้ oสถาบันการศึกษาควรสร้างจุดขายของตนเอง oพัฒนาตนเอง จัดการศึกษาสอดคล้องตามจุดแกร่งของท้องถิ่น oคานึงถึงความเหมาะสมและสอดคล้องกับความเป็ นท้องถิน ่ โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด52
  • 53. 10.การจัดการศึกษาบนฐานความเป็ นภูมิภาคอาเซียน  บูรณาการอาเซียนเข้าไปเป็ นส่วนหนึงของการจัดการศึกษา ่ oกาหนดให้ทุกวิชาสอดแทรกความเป็ นอาเซียนเข้าไปใน หลักสูตรการเรียนการสอน oมุ่งพัฒนาจิตสานึกการเป็ นพลเมืองอาเซียนให้กบผูเ้ รียน ั  พัฒนาหลักสูตรการศึกษาที่เป็ นจุดร่วมกันของอาเซียน  ร่วมมือด้านองค์ความรูและวิจยประเด็นร่วมของอาเซียน ้ ั โดย ศ.ดร.เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศกดิ์ ั นักวิชาการอาวุโส มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด53
  • 54. สถาบันอนาคตศึกษาเพือการพัฒนาได้ให้บริ การงานวิจย ฝึ กอบรม และคาปรึ กษา ่ ั ั การดาเนินโครงการให้กบหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ่ มากกว่า 500 หน่วยงานอย่างต่อเนื่องตลอด 25 ปี ที่ผานมา บริษัท ศูนย์ ฝึกอบรมและทีปรึกษา ไอเอฟดี จากัด ่ •ให้บริ การคาปรึ กษา ด้านการบริ หารจัดการ ด้านทรัพยากรมนุษย์ • จัดโครงการฝึ กอบรม ตามความต้องการของหน่วยงาน • ฝึ กอบรมสาหรับบุคคลทัวไป (Public Training) และฝึ กอบรมแบบ In-house ่ • จัด Walk Rally และงานสัมมนา (บริ การทั้งด้านการจัดโปรแกรมและที่พก) ั • บริ การสารวจความคิดเห็น การทา Poll การวิจยเชิงสารวจ ั • กิจกรรมพิเศษ (Event) สอบถามรายละเอียดเพิมเติม ่ 87/110 อาคารโมเดอร์ นทาวน์ ชั้น 14 แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุ งเทพฯ 10110 โทรศัพท์สานักงาน 0 2382 1560 -2 โทรศัพท์สายตรง : 0 2711 6495 โทรสาร : 0 2382 1565 www.ifdtraining.com
  • 55. ่ ั กองทุนเวลาเพือสงคม Email : Timebank.Thai@gmail.com Tel. & Fax : 0-2711-7494 ตู ้ ป.ณ. 420 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110 Website: http://www.kriengsak.com E-mail: kriengsak@kriengsak.com , Kriengsak@post.harvard.edu ั โทรศพท์ : 081-776-8989 โทรสาร : 02-711-7474 ตู ้ ป.ณ. 369 ปณจ.พระโขนง กรุงเทพฯ 10110
  • 56. ติดต่ อ • โทร. : 081-776-8989 •E-mail : kriengsak@kriengsak.com •www.facebook.com/ drdancando