SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
เกณฑ์การวัดสมรรถนะ (Competency) พยาบาลปฏิบัติการ
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
K1 ความรู้ในการ
พยาบาลผู้ป่วยราย
โรค กลุ่มอาการ และ
หัตถการที่สาคัญโดย
โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับ สรีรวิทยา
พยาธิวิทยา เภสัช
วิทยา ในการให้การ
พยาบาลผู้ป่วย
บุคลากรมีความรู้ในการใช้
กระบวนการพยาบาลดูแล
ผู้ป่วย ในกลุ่มโรคและกลุ่ม
อาการ เพื่อให้การดูแล
ผู้ป่วยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ
การพยาบาลผู้ป่วยที่พบ
มากในหน่วยงาน 5 อันดับ
หน่วยงาน............
ระบุ5 อันดับ
1.
2.
3.
4.
5.
1 มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรค กลุ่มอาการซึ่ง
ประกอบด้วยพยาธิสรีระ วิทยา อาการ การ
รักษา ตามกลุ่มโรค Top5 ของหน่วยงานใน
การดูแลผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐานครบถ้วน
1. สามารถสอบผ่านการประเมินความรู้ สอบได้คะแนนมากกว่า
ร้อยละ 60 ในเรื่องต่อไปนี้
1.1 พยาธิสรีรวิทยา
1.2 การประเมินอาการและการจัดการ
1.3 การรักษา
1.4 Medication
1.5 การวางแผนการพยาบาล
2 มีความรู้ ทักษะเรื่องการประเมินและการ
บริหารจัดการ ผู้ป่วยในภาวะวิกฤต การดูแล
ผู้ป่วยระยะสุดท้าย
2. สามารถสอบผ่านการประเมินทักษะเรื่องต่อไปนี้ได้คะแนน
มากกว่า ร้อยละ 60
2.1 การคัดกรองและวินิจฉัยผู้ป่วยระยะวิกฤต,
2.2 การประเมินอาการ การจัดการดูแลรักษา และ Medication ใน
ภาวะวิกฤต
2.3 การประเมินและจัดการผู้ป่วยEnd of Life Care
3 มีความรู้และสามารถสอนผู้ป่วย ผู้แลผู้ป่วย
เจ้าหน้าที่ ทีมสุขภาพ ด้วยตนเอง
3. จานวนครั้งที่เป็นผู้นาทีมในหอผู้ป่วย /จัดการสัมมนา/เป็นวิทยากรและ
เป็นที่ปรึกษา
3.1 เป็นผู้นาทีมในหอผู้ป่วย /วิทยากรในการให้ความรู้เรื่องการพยาบาล
พื้นฐาน / สอน นักศึกษาพยาบาล/ เจ้าหน้าที่ใหม่ ในหอผู้ป่วยได้
3.2 เป็นวิทยากรให้คาปรึกษาในการจัดทาแผน วิเคราะห์ ติดตามการทา -
กรณีศึกษาต่างๆ
- การฝึกปฏิบัติในคลินิก
- ทาแผนปฐมนิเทศในหน่วยงานและกลุ่มงาน
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
K1 ความรู้ในการ
พยาบาลผู้ป่วยราย
โรค กลุ่มอาการ และ
หัตถการที่สาคัญโดย
โดยใช้ความรู้
เกี่ยวกับสรีรวิทยา
พยาธิวิทยา เภสัช
วิทยา ในการให้การ
พยาบาลผู้ป่วย
บุคลากรมีความรู้ในการใช้
กระบวนการพยาบาลดูแล
ผู้ป่วย ในกลุ่มโรคและกลุ่ม
อาการ เพื่อให้การดูแล
ผู้ป่วยได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4 มีความรู้และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่
ทางการพยาบาลในสาขาของตนเอง
4. เป็นผู้นาทีมหรือคณะทางานหรือที่ปรึกษาในการทา
4.1 EBP
4.2 PI Clinic (PI Nursing)
4.3 QA Nursing
4.4 RCA โดยใช้ความรู้ทางการพยาบาล
5 เผยแพร่ความรู้ และเป็นต้นแบบการพยาบาล /
สร้างกระบวนการพยาบาลเฉพาะทาง
5. จานวนเอกสารเผยแพร่ความรู้หรือ ต้นแบบการพยาบาล
5.1 การเขียนคู่มือ/เอกสารเผยแพร่/บทความ/สื่ออื่นๆ เผยแพร่
ให้กับภายในและภายนอกองค์กร
5.2 ออกแบบและจัดทาสื่อสนับสนุนการสอนทางการพยาบาล
K2 ความรู้เรื่องการ
พัฒนาคุณภาพการ
บริการรักษาพยาบาล
บุคลากรมีความรู้เรื่อง
คุณภาพได้แก่
QA,HA,HPH,PMQA,
HNQA,RM CQI,RCA,
KPI,IC,
1 มีความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพในแต่ละ
มาตรฐาน การประกันคุณภาพ การประเมิน
ตนเอง การค้นหาความเสี่ยงรายงานความเสี่ยง
1. คะแนนสอบในเรื่องระบบคุณภาพผ่าน ร้อยละ70 ในเรื่อง
1.1 TQM, CQI, QA,TQA, HA
1.2 การบริหารความเสี่ยง การทา RCA และ FMEA
1.3 Infection Control
1.4 KM / BSC
1.5 Competency
2 มีความรู้การวิเคราะห์ RCA / FMEA เพื่อ
นาไปสู่การประกันสุขภาพ
2. เป็นคณะทางานในทีมคุณภาพและสามารถในการประเมิน
ตนเอง/หน่วยงานเพื่อวิเคราะห์ และสรุปประเด็นใน
เรื่องดังต่อไปนี้เพื่อนาไปสู่การประกันคุณภาพ
2.1 การทา RCA / FMEA ได้ด้วยตนเอง
2.2 วิเคราะห์ผลการทา RCA / FMEA ของหน่วยงาน
2.3 สามารถร่วมทา RCA / FMEA ในปัญหาระดับฝ่ายการฯ
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
K2 ความรู้เรื่องการ
พัฒนาคุณภาพการ
บริการรักษาพยาบาล
บุคลากรมีความรู้เรื่อง
คุณภาพได้แก่ RM, QA,
CQI
3 มีความรู้และเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพ
อย่างต่อเนื่อง (CQI) และมีการทางาน
ร่วมกันเป็นทีม
3.เป็นคณะทางานหรือหัวหน้าทีมในการ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นใน
เรื่องดังต่อไปนี้
3.1 รายงานการทบทวน การเชื่อมโยงประเด็นสาคัญของเครื่องชี้วัด
ของหน่วยงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพ
3.2 สามารถร่วมกาหนดวิเคราะห์เครื่องชี้วัดของหน่วยงานโดยการใช้
BSC
3.3 รวบรวมข้อมูล / สารสนเทศ มาจัดทาแผนในการพัฒนาคุณภาพ
ของหน่วยงาน
4 มีความรู้ในการเป็นหัวหน้าทีม สามารถ
ติดตามและควบคุมกากับได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
4. เป็นหัวหน้าทีมในหน่วยงาน หรือเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ และ
ให้คาปรึกษาและติดตามควบคุมกากับเรื่องดังต่อไปนี้
4.1 กระบวนการคุณภาพ
4.2 การบริหารความเสี่ยง (Risk Profile, RCA, FMEA)
4.3 QA (QA Nursing, QAUP, QA CPG)
4.4 CQI (Clinical CQI, PI1, PI2)
4.5 UM
4.6 KM
4.7 สามารถเป็นผู้เยี่ยมสารวจ (IS) ด้วยตนเอง ทั้งภายใน / ภายนอก
หน่วยงาน
5. เผยแพร่ความรู้ และสร้างรูปแบบ RCA /
QA หรือผลงานวิจัยให้แก่หน่วยงาน หรือ
ขยายผลให้หน่วยงานอื่น
5. สามารถสรุปและเขียนรายงาน / บทความ ทางด้านคุณภาพ และ
นาเสนอหรือเผยแพร่ทั้งในเวทีในหน่วยงาน นอกหน่วยงาน หรือ มี
ผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
S1 การใช้กระบวนการ
พยาบาลและบันทึก
ทางการพยาบาล
มีความสามารถในการนา
กระบวนการพยาบาลมาใช้
สามารถวินิจฉัย แก้ปัญหา
เฉพาะหน้าเพื่อให้การดูแล
ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
และบันทึกกิจกรรม
ทางการพยาบาลได้อย่าง
ถูกต้องครบถ้วน
1 มีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล
ผู้ป่วยและมีการบันทึกที่ชัดเจน ครบถ้วน
ถูกต้อง และใช้เป็นหลักฐานทางกฏหมาย
ได้
1.ผลการตรวจสอบการใช้กระบวนการพยาบาลโดยการตรวจสอบ
บันทึกทางการพยาบาลได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 80
1.1 การใช้กระบวนการตามเกณฑ์การบันทึกของสานักการพยาบาล
1.2 การบันทึกทางการพยาบาลตามเกณฑ์สานักงานหลักประกัน
สุขภาพ
1.3 มีการใช้การวางแผนการพยาบาลในผู้ป่วยที่กาหนดทุกราย
1.4 มีการจาแนกประเภทผู้ป่วยอย่าถูกต้อง
2 มีการนาผลและการใช้ข้อมูล การทบทวน
การใช้กระบวนการพยาบาลเพื่อการ
พัฒนาการดูแลผู้ป่วย ร่วมกันระหว่าง
สหสาขาวิชาชีพ
2.มีการประชุมวิเคราะห์การใช้กระบวนการพยาบาลอย่างน้อยเดือนละ
1 ครั้ง
2.1 รายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินวิเคราะห์และการพัฒนา
การใช้กระบวนการพยาบาลให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ
2.2 รายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินวิเคราะห์ การใช้
กระบวนการพยาบาลให้สอดคล้องกับ สหวิชาชีพ
3 มีการวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการ
ดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม สอนและให้
คาแนะนาแก่ พยาบาลฝึกงาน เจ้าหน้าที่
ใหม่ เรื่องกระบวนการพยาบาลได้ด้วย
ตนเอง
3. มีความสามารถในการจัดการสอน การถ่ายทอดทักษะ การฝึกอบรม
และเป็นวิทยากรดังนี้
3.1 จัดทาแนวทางการสอนในเรื่องกระบวนการพยาบาล
3.1.1 Basic Nursing care
3.1.2 การวางแผนการพยาบาลใน5อันดับโรค
3.1.3 Advance CPR
3.1.4 การบันทึกทาง การพยาบาล
3.1.5 การใช้โปรแกรม computer บันทึกข้อมูลผู้ป่วย
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
S1 การใช้กระบวนการ
พยาบาลและบันทึก
ทางการพยาบาล
มีความสามารถในการนา
กระบวนการพยาบาลมาใช้
สามารถวินิจฉัย แก้ปัญหา
เฉพาะหน้าเพื่อให้การดูแล
ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม
และบันทึกกิจกรรม
ทางการพยาบาลได้อย่าง
ถูกต้องครบถ้วน
4 มีการนาองค์ความรู้และสร้างนวัตกรรม
ใหม่ ๆ ทางการพยาบาลมาใช้ในการดูแล
ผู้ป่วยจนเกิดการยอมรับในสาขาตนเอง
4. มีผลการพัฒนาระบบการให้กระบวนการพยาบาลและ
บันทึกการพยาบาลโดย
4.1 จานวนแนวทางการใช้กระบวนการพยาบาล และรูปแบบบันทึก
ทางการพยาบาล ที่ร่วมกาหนด
4.2 มีส่วนร่วมพัฒนารูปแบบการบันทึกและติดตามประเมินตาม
แนวทางที่พัฒนาแล้ว
4.3 วิเคราะห์ และพัฒนารูปแบบบันทึกทางการพยาบาลจากผลการ
ประเมิน และการเยี่ยมสารวจภายใน
5 เผยแพร่ความรู้ใหม่ ๆ และนวัตกรรม
ทางการพยาบาลแก่หน่วยงานอื่น
5. จัดทาคู่มือ แนวทางปฏิบัติและหรือสื่อการสอนเรื่องการใช้
กระบวนการพยาบาล
5.1 มีการจัดทาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกทางการพยาบาล
-การบันทึกแรกรับ
- การบันทึกการให้ยา
- การใช้แบบวางแผนการพยาบาล
- การแสดงความยินยอมหรือไม่ยินยอมรับการรักษา
- การวางการจาหน่ายผู้ป่วย
-การเตรียมผู้ป่วยผ่าตัด
-การบันทึกวิสัญญีพยาบาล
-การบันทึกในOPD Card
-การบันทึกนัดผู้ป่วย
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
S2 ทักษะด้านการทา
หัตถการพื้นฐานและ
หัตถการที่จาเป็นใน
หน่วยงาน
มีความสามารถและทักษะ
ในการปฏิบัติการพยาบาล
พื้นฐานและหัตถการที่
จาเป็น หัตถการที่บ่อย 5
อันดับของหน่วยงาน
หน่วยงาน............
หัตถการ 5 อันดับ
1.
2.
3.
4.
5.
1 มีทักษะในการทาหัตถการพื้นฐานของ
หน่วยงาน
1. ผลการประเมินทักษะการทาหัตถการพื้นฐานตามที่หน่วยงาน
กาหนดผ่าน100%
หน่วยงาน.............................ทักษะหัตถการพื้นฐาน
1.
2.
3.
4.
5.
2 มีทักษะในการทาหัตถการเฉพาะของ
หน่วยงานตามที่กาหนด
2. ผลการประเมินทักษะการทาหัตถการเฉพาะตามที่หน่วยงานกาหนด
ผ่าน100%
หน่วยงาน.............................ทักษะหัตถการเฉพาะ
1.
2.
3.
4.
5.
3 สามารถถ่ายทอดเทคนิคการทาหัตถการ
ให้บุคคลในหน่วยงาน
3. สามารถสอนการ ทาหัตถการด้วยตนเอง ให้กับพยาบาลใหม่
นักศึกษาพยาบาล
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
S3 การบริหารจัดการ การวางแผนการบริหาร
จัดการและวิเคราะห์
ประเมินผลการปฏิบัติงาน
ในหน้าที่และการพัฒนา
องค์การ (OD) ให้มี
ประสิทธิภาพ
1 สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ
ชี้แนะ และควบคุมกากับ) ในการพัฒนา
บุคลากรและพัฒนาองค์การได้อย่างครอบคลุม
และเหมาะสมโดยมีผู้ชี้แนะ
1. สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ ชี้แนะ และควบคุม
กากับ) โดยใช้BSC และ KPI เช่น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์
Action Plan แผนพัฒนาบุคลากร การควบคุมกากับโดย QA โดยมี
ผู้ชี้แนะ
2 สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ
ชี้แนะ และควบคุมกากับ) ในการพัฒนา
บุคลากรและพัฒนาองค์การได้อย่างครอบคลุม
เหมาะสมด้วยตนเอง
2.1 สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ ชี้แนะ และ
ควบคุมกากับ) โดยใช้BSC และ KPI เช่น การจัดทาแผน
ยุทธศาสตร์ Action Plan แผนพัฒนาบุคลากร การควบคุมกากับ
โดย QA ได้ด้วยตนเอง
2.2 สามารถร่วมวางแผนการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน
ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ
3 สามารถถ่ายทอดความรู้ในการบริหารจัดการ
ให้แก่บุคลากรในหน่วยงาน
3. เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการให้แก่บุคลากรใน
หน่วยงาน / หน่วยงานอื่น เช่น หลักสูตรการบริการการพยาบาล
1-4, QA Clinic, HA Clinic
4 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทา
สารสนเทศสาหรับผู้บริหารเพื่อจัดทาแผนใน
การพัฒนาและพัฒนางานบริหารจัดการให้แก่
ฝ่ายการฯ
4. นาหลักวิชาการด้านบริการและแนวคิดใหม่ ๆ มาใช้
ประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาการบริการจัดการบุคลากร
/ องค์กร
5 สร้างรูปแบบการบริหารจัดการบุคลากร /
องค์การ เพื่อเป็นต้นแบบการบริหารจัดการ
ทางการพยาบาล
5. พยาบาลระดับ 6 ในหน่วยงานสามารถนาหลักการบริหาร
จัดการไปบริหารจัดการด้านบริการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
S4 วินิจฉัยปัญหาและ
ตัดสินใจแก้ปัญหา
รู้ปัญหาและวินิจฉัยปัญหา
ทางการพยาบาล สามารถ
นามาจัดลาดับความสาคัญ
เพื่อการตัดสินใจแก้ปัญหา
ได้ถูกต้องในการดูแล
รักษาพยาบาล
1 สามารถวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาลและ
ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีผู้ช่วยเหลือ
สามารถวินิจฉัยปัญหาด้านการพัฒนาบุคลากร พัฒนาคุณภาพ /
งานป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัย และตัดสินใจ
แก้ปัญหาบริหารจัดการและการพยาบาล โดยมีผู้ชี้แนะ
2 สามารถวิเคราะห์วินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล
และตัดสินใจแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง
สามารถวินิจฉัยปัญหาด้านการพัฒนาบุคลากร พัฒนาคุณภาพ /
งานป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัยและตัดสินใจ
แก้ปัญหาบริหารจัดการและการพยาบาลด้วยตนเอง
3 สามารถให้ความรู้และทักษะในการวินิจฉัย
ปัญหาทางการพยาบาลและตัดสินใจแก้ปัญหา
แก่ผู้อื่น / เจ้าหน้าที่ใหม่ ภายในหน่วยงาน
สามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และให้คาปรึกษาแนะนาในการ
จัดทาโครงการพัฒนาบุคลากร / พัฒนาคุณภาพ / งานป้ องกันและ
ควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัย และตัดสินใจแก้ปัญหาโดยใช้
แนวคิดเชิงวิเคราะห์
4 มีการนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ มาวิเคราะห์วินิจฉัย
ปัญหาทางการพยาบาล และตัดสินใจแก้ปัญหา
เป็นที่ยอมรับ
นาหลักวิชาการ แนวคิดและความรู้ใหม่ ๆ มาประกอบการ
วิเคราะห์วินิจฉัยปัญหาในการพัฒนาบุคลากร / พัฒนาคุณภาพ /
งานป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัย และตัดสินใจ
แก้ปัญหา ให้คาปรึกษา แนะนา เป็นที่ยอมรับ
5 สามารถสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ
ในการตัดสินใจแก้ปัญหาทางการพยาบาล
สร้างความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการตัดสินใจแก้ปัญหา
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
A1 ทัศนคติต่อองค์กร มีความรัก ความผูกพันต่อ
องค์กร ให้ความร่วมมือใน
กิจกรรมต่างๆ ด้วยความ
เสียสละและเต็มใจ
1 ปฏิบัติตามนโยบายขององค์กร 1. สามารถปฏิบัติตามนโยบายขององค์กรได้โดย
1.1 สามารถบอกถึงพันธกิจ วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย นโยบายของ
องค์กร
1.2 ปฏิบัติตามนโยบายเพื่อบรรลุภารกิจ นโยบาย พันธกิจ
วิสัยทัศน์ ขององค์กรอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
2 มีความมุ่งมั่นจะทางานที่รับผิดชอบให้ประสพ
ความสาเร็จ
สามารถปฏิบัติงานและมีคะแนนการประเมินผลตาม KPI ไม่ต่า
กว่า 80% และมีส่วนร่วมในการพัฒนางานในหน่วยงานที่
รับผิดชอบ
3 ส่งเสริมชักจูงให้บุคลากรในหน่วยงานมี
ทัศนคติที่ดีต่อองค์กร
สามารถชักจูงให้บุคลากรในหน่วยงานมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร
ตาม Check List และมีส่วนร่วมการพัฒนางานนอกหน่วยงาน
4 เป็นตัวอย่างที่ดี ของการมีส่วนร่วมในองค์กร
และให้ความร่วมมือต่อการพัฒนาองค์กร
เป็นผู้นาทีมในการพัฒนาระบบต่าง ๆ ในองค์กร โดยความ
เสียสละและเต็มใจ
5 มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่องค์กร สร้างงานวัตกรรม การพัฒนา / รูปแบบใหม่ ๆ ที่นอกเหนือภารกิจ
จนได้รับการยกย่องและสร้างชื่อเสียงให้องค์การ
Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria
A2 ทัศนคติต่อการ
ปฏิบัติการพยาบาล
ให้บริการพยาบาลด้วย
ความเต็มใจ เสียสละปฏิบัติ
ตามมาตรฐานวิชาชีพ และ
ร่วมพัฒนาการปฏิบัติการ
พยาบาลสร้าง
ความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
1 ให้การบริการพยาบาลด้วยความเต็มใจ เสียสละ
อดทน และปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
1. สามารถอธิบายและแสดงให้เห็นพฤติกรรมการปฏิบัติการ
พยาบาลด้วยความเต็มใจ เสียสละ อดทน และปฏิบัติตาม
มาตรฐานวิชาชีพ โดยผ่านเกณฑ์การประเมินความเข้าใจด้าน
จริยธรรมและพฤติกรรมบริการ
2 แนะนาผู้ร่วมงานในทีมให้มีทัศนคติที่ดีในงาน
บริการพยาบาล
2. สามารถแนะนา กระตุ้นและส่งเสริมบุคลากรโดยให้มีทัศนคติ
ที่ดีต่อการปฏิบัติการพยาบาล เช่น การกล่าวถึงวิชาชีพในทางบวก
ชี้แนะบทบาทของพยาบาล ให้กาลังใจในกรณีเกิดปัญหาขณะ
ปฏิบัติการพยาบาล ชื่นชมผู้ปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี
3 มีความพอใจในการพยาบาล และทางาน
ร่วมกับสหวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม
3. สามารถแนะนา กระตุ้นและส่งเสริมบุคลากรโดยให้มีทัศนคติ
ที่ดีต่อการปฏิบัติการพยาบาลและการทางานร่วมกับสหสาขา
วิชาชีพ เช่น การกล่าวถึงความพอใจในการพยาบาล สหสาขา
วิชาชีพกล่าวชื่นชมผู้ปฏิบัติงาน และการชื่นชมสหสาขาวิชาชีพ
4 เป็นแบบอย่างการปฏิบัติการพยาบาลที่ดีใน
วิชาชีพต่อหน่วยงานและองค์กร
4. เป็นแบบอย่างการปฏิบัติการพยาบาลที่ดีดังนี้
4.1 สามารถชี้แนะ / ให้คาปรึกษา / อธิบาย ให้บุคลากรปฏิบัติการ
พยาบาลเป็นแบบอย่างที่ดีในวิชาชีพจนมีคะแนนการปฏิบัติงาน
≥ 80%
4.2 สามารถนาแบบอย่างที่ดีมานาเสนอให้กับหน่วยงานและ
องค์กรไปปฏิบัติตามเป็นแบบอย่างที่ดี
5 มีผลงานการพัฒนางานในสาขาการพยาบาลที่
รับผิดชอบ และสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร
5. สามารถจัดทางานวิจัยหรือเขียนบทความทางวิชาการในสาขา
การพยาบาลที่รับผิดชอบ และสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร

Contenu connexe

Tendances

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
Suradet Sriangkoon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
Papawee Laonoi
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
techno UCH
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
taem
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
Krongdai Unhasuta
 

Tendances (20)

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานBLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
BLS การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Ha and er
Ha and erHa and er
Ha and er
 
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ ฟื้นคืนชีพ (CPR)
 
Trauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurseTrauma treatment skills for nurse
Trauma treatment skills for nurse
 

En vedette

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
porkhwan
 
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
Jurarat Chidsuan
 

En vedette (20)

โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
กลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล
กลุ่มการพยาบาล
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
ตัวอย่างข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
2 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 602 p safety kanniga 60
2 p safety kanniga 60
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภาLPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
LPA ด้านที่ 2 การบริหารงานบุคคลและกิจการสภา
 
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการบันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
บันทึกข้อตกลงการปฏิบัติราชการ
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
Skilllab2
Skilllab2Skilllab2
Skilllab2
 
Supervision
SupervisionSupervision
Supervision
 
เทคนิค
เทคนิคเทคนิค
เทคนิค
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Compre step 2_2009 pcm forensic
Compre step 2_2009 pcm forensicCompre step 2_2009 pcm forensic
Compre step 2_2009 pcm forensic
 
9789740335603
97897403356039789740335603
9789740335603
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวนการพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
การพัฒนาคุณภาพจากการทบทวน
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 

Similaire à เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ

Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles of
Sunee Suvanpasu
 
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดเส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดเส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
pluakdeang Hospital
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
tepiemsak
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
tanong2516
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
Tanawat Sudsuk
 

Similaire à เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ (20)

ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
ความรู้เกี่ยวกับงานอาชีพ
 
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง  7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
7 ร่างเกณฑ์กำหนดตำแหน่ง
 
Experience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles ofExperience of nursing practice roles of
Experience of nursing practice roles of
 
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
Re accredit hospital profile presentation 25 เม.ย.55
 
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดเส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
 
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติดเส้นทางสู่Haยาเสพติด
เส้นทางสู่Haยาเสพติด
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงานเงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
เงื่อนไขการดำเนินงานและการส่งผลงาน
 
Overview NQA
Overview NQAOverview NQA
Overview NQA
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdfมาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
มาตรฐานรพ ฉบับที่ 5.pdf
 
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
 
การรวบรวมรายงานฉบับสมบูรณ์
การรวบรวมรายงานฉบับสมบูรณ์การรวบรวมรายงานฉบับสมบูรณ์
การรวบรวมรายงานฉบับสมบูรณ์
 
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
ร้่านยาคุณภาพในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
 
NQA application report writing
NQA application report  writingNQA application report  writing
NQA application report writing
 
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
Analytics of Hospital Clustering & Profiling as a Tool for Evidence-based Org...
 

Plus de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์

Plus de กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์ (20)

พระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptxพระมงกุฎ.pptx
พระมงกุฎ.pptx
 
Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่Kanniga วพบ แพร่
Kanniga วพบ แพร่
 
2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์2559 บุรีรัมย์
2559 บุรีรัมย์
 
เทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรีเทคนิค ชลบุรี
เทคนิค ชลบุรี
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
ถอดบทเรียน
ถอดบทเรียนถอดบทเรียน
ถอดบทเรียน
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 
วันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิวันยาบาลชัยภูมิ
วันยาบาลชัยภูมิ
 
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
คู่มือบริหารกลุ่มการพยาบาล รพช.
 
สรุปงานชมรม
สรุปงานชมรมสรุปงานชมรม
สรุปงานชมรม
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการเหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
เหลียวหลัง แลหน้า พัฒนาบริการ
 
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
Ppt เกณฑ์พยาบาล ระยอง (ปี 58)
 
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ยศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
ศูนย์บริการหลักประกันสุขภาพ รพ.ด่านมะขามเตี้ย
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Fte kan57
Fte kan57Fte kan57
Fte kan57
 
Hrd kan57
Hrd kan57Hrd kan57
Hrd kan57
 
บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์บริหารเชิงกลยุทธ์
บริหารเชิงกลยุทธ์
 

เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ

  • 1. เกณฑ์การวัดสมรรถนะ (Competency) พยาบาลปฏิบัติการ Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria K1 ความรู้ในการ พยาบาลผู้ป่วยราย โรค กลุ่มอาการ และ หัตถการที่สาคัญโดย โดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับ สรีรวิทยา พยาธิวิทยา เภสัช วิทยา ในการให้การ พยาบาลผู้ป่วย บุคลากรมีความรู้ในการใช้ กระบวนการพยาบาลดูแล ผู้ป่วย ในกลุ่มโรคและกลุ่ม อาการ เพื่อให้การดูแล ผู้ป่วยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ การพยาบาลผู้ป่วยที่พบ มากในหน่วยงาน 5 อันดับ หน่วยงาน............ ระบุ5 อันดับ 1. 2. 3. 4. 5. 1 มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโรค กลุ่มอาการซึ่ง ประกอบด้วยพยาธิสรีระ วิทยา อาการ การ รักษา ตามกลุ่มโรค Top5 ของหน่วยงานใน การดูแลผู้ป่วยตามเกณฑ์มาตรฐานครบถ้วน 1. สามารถสอบผ่านการประเมินความรู้ สอบได้คะแนนมากกว่า ร้อยละ 60 ในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 พยาธิสรีรวิทยา 1.2 การประเมินอาการและการจัดการ 1.3 การรักษา 1.4 Medication 1.5 การวางแผนการพยาบาล 2 มีความรู้ ทักษะเรื่องการประเมินและการ บริหารจัดการ ผู้ป่วยในภาวะวิกฤต การดูแล ผู้ป่วยระยะสุดท้าย 2. สามารถสอบผ่านการประเมินทักษะเรื่องต่อไปนี้ได้คะแนน มากกว่า ร้อยละ 60 2.1 การคัดกรองและวินิจฉัยผู้ป่วยระยะวิกฤต, 2.2 การประเมินอาการ การจัดการดูแลรักษา และ Medication ใน ภาวะวิกฤต 2.3 การประเมินและจัดการผู้ป่วยEnd of Life Care 3 มีความรู้และสามารถสอนผู้ป่วย ผู้แลผู้ป่วย เจ้าหน้าที่ ทีมสุขภาพ ด้วยตนเอง 3. จานวนครั้งที่เป็นผู้นาทีมในหอผู้ป่วย /จัดการสัมมนา/เป็นวิทยากรและ เป็นที่ปรึกษา 3.1 เป็นผู้นาทีมในหอผู้ป่วย /วิทยากรในการให้ความรู้เรื่องการพยาบาล พื้นฐาน / สอน นักศึกษาพยาบาล/ เจ้าหน้าที่ใหม่ ในหอผู้ป่วยได้ 3.2 เป็นวิทยากรให้คาปรึกษาในการจัดทาแผน วิเคราะห์ ติดตามการทา - กรณีศึกษาต่างๆ - การฝึกปฏิบัติในคลินิก - ทาแผนปฐมนิเทศในหน่วยงานและกลุ่มงาน
  • 2. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria K1 ความรู้ในการ พยาบาลผู้ป่วยราย โรค กลุ่มอาการ และ หัตถการที่สาคัญโดย โดยใช้ความรู้ เกี่ยวกับสรีรวิทยา พยาธิวิทยา เภสัช วิทยา ในการให้การ พยาบาลผู้ป่วย บุคลากรมีความรู้ในการใช้ กระบวนการพยาบาลดูแล ผู้ป่วย ในกลุ่มโรคและกลุ่ม อาการ เพื่อให้การดูแล ผู้ป่วยได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4 มีความรู้และสามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ ทางการพยาบาลในสาขาของตนเอง 4. เป็นผู้นาทีมหรือคณะทางานหรือที่ปรึกษาในการทา 4.1 EBP 4.2 PI Clinic (PI Nursing) 4.3 QA Nursing 4.4 RCA โดยใช้ความรู้ทางการพยาบาล 5 เผยแพร่ความรู้ และเป็นต้นแบบการพยาบาล / สร้างกระบวนการพยาบาลเฉพาะทาง 5. จานวนเอกสารเผยแพร่ความรู้หรือ ต้นแบบการพยาบาล 5.1 การเขียนคู่มือ/เอกสารเผยแพร่/บทความ/สื่ออื่นๆ เผยแพร่ ให้กับภายในและภายนอกองค์กร 5.2 ออกแบบและจัดทาสื่อสนับสนุนการสอนทางการพยาบาล K2 ความรู้เรื่องการ พัฒนาคุณภาพการ บริการรักษาพยาบาล บุคลากรมีความรู้เรื่อง คุณภาพได้แก่ QA,HA,HPH,PMQA, HNQA,RM CQI,RCA, KPI,IC, 1 มีความรู้เรื่องการพัฒนาคุณภาพในแต่ละ มาตรฐาน การประกันคุณภาพ การประเมิน ตนเอง การค้นหาความเสี่ยงรายงานความเสี่ยง 1. คะแนนสอบในเรื่องระบบคุณภาพผ่าน ร้อยละ70 ในเรื่อง 1.1 TQM, CQI, QA,TQA, HA 1.2 การบริหารความเสี่ยง การทา RCA และ FMEA 1.3 Infection Control 1.4 KM / BSC 1.5 Competency 2 มีความรู้การวิเคราะห์ RCA / FMEA เพื่อ นาไปสู่การประกันสุขภาพ 2. เป็นคณะทางานในทีมคุณภาพและสามารถในการประเมิน ตนเอง/หน่วยงานเพื่อวิเคราะห์ และสรุปประเด็นใน เรื่องดังต่อไปนี้เพื่อนาไปสู่การประกันคุณภาพ 2.1 การทา RCA / FMEA ได้ด้วยตนเอง 2.2 วิเคราะห์ผลการทา RCA / FMEA ของหน่วยงาน 2.3 สามารถร่วมทา RCA / FMEA ในปัญหาระดับฝ่ายการฯ
  • 3. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria K2 ความรู้เรื่องการ พัฒนาคุณภาพการ บริการรักษาพยาบาล บุคลากรมีความรู้เรื่อง คุณภาพได้แก่ RM, QA, CQI 3 มีความรู้และเข้าใจในการพัฒนาคุณภาพ อย่างต่อเนื่อง (CQI) และมีการทางาน ร่วมกันเป็นทีม 3.เป็นคณะทางานหรือหัวหน้าทีมในการ วิเคราะห์ และสรุปประเด็นใน เรื่องดังต่อไปนี้ 3.1 รายงานการทบทวน การเชื่อมโยงประเด็นสาคัญของเครื่องชี้วัด ของหน่วยงานเพื่อการพัฒนาคุณภาพ 3.2 สามารถร่วมกาหนดวิเคราะห์เครื่องชี้วัดของหน่วยงานโดยการใช้ BSC 3.3 รวบรวมข้อมูล / สารสนเทศ มาจัดทาแผนในการพัฒนาคุณภาพ ของหน่วยงาน 4 มีความรู้ในการเป็นหัวหน้าทีม สามารถ ติดตามและควบคุมกากับได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4. เป็นหัวหน้าทีมในหน่วยงาน หรือเป็นวิทยากรในการให้ความรู้ และ ให้คาปรึกษาและติดตามควบคุมกากับเรื่องดังต่อไปนี้ 4.1 กระบวนการคุณภาพ 4.2 การบริหารความเสี่ยง (Risk Profile, RCA, FMEA) 4.3 QA (QA Nursing, QAUP, QA CPG) 4.4 CQI (Clinical CQI, PI1, PI2) 4.5 UM 4.6 KM 4.7 สามารถเป็นผู้เยี่ยมสารวจ (IS) ด้วยตนเอง ทั้งภายใน / ภายนอก หน่วยงาน 5. เผยแพร่ความรู้ และสร้างรูปแบบ RCA / QA หรือผลงานวิจัยให้แก่หน่วยงาน หรือ ขยายผลให้หน่วยงานอื่น 5. สามารถสรุปและเขียนรายงาน / บทความ ทางด้านคุณภาพ และ นาเสนอหรือเผยแพร่ทั้งในเวทีในหน่วยงาน นอกหน่วยงาน หรือ มี ผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพ
  • 4. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria S1 การใช้กระบวนการ พยาบาลและบันทึก ทางการพยาบาล มีความสามารถในการนา กระบวนการพยาบาลมาใช้ สามารถวินิจฉัย แก้ปัญหา เฉพาะหน้าเพื่อให้การดูแล ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม และบันทึกกิจกรรม ทางการพยาบาลได้อย่าง ถูกต้องครบถ้วน 1 มีการใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแล ผู้ป่วยและมีการบันทึกที่ชัดเจน ครบถ้วน ถูกต้อง และใช้เป็นหลักฐานทางกฏหมาย ได้ 1.ผลการตรวจสอบการใช้กระบวนการพยาบาลโดยการตรวจสอบ บันทึกทางการพยาบาลได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์มากกว่าร้อยละ 80 1.1 การใช้กระบวนการตามเกณฑ์การบันทึกของสานักการพยาบาล 1.2 การบันทึกทางการพยาบาลตามเกณฑ์สานักงานหลักประกัน สุขภาพ 1.3 มีการใช้การวางแผนการพยาบาลในผู้ป่วยที่กาหนดทุกราย 1.4 มีการจาแนกประเภทผู้ป่วยอย่าถูกต้อง 2 มีการนาผลและการใช้ข้อมูล การทบทวน การใช้กระบวนการพยาบาลเพื่อการ พัฒนาการดูแลผู้ป่วย ร่วมกันระหว่าง สหสาขาวิชาชีพ 2.มีการประชุมวิเคราะห์การใช้กระบวนการพยาบาลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2.1 รายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินวิเคราะห์และการพัฒนา การใช้กระบวนการพยาบาลให้สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ 2.2 รายงานผลการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินวิเคราะห์ การใช้ กระบวนการพยาบาลให้สอดคล้องกับ สหวิชาชีพ 3 มีการวิเคราะห์และปรับปรุงกระบวนการ ดูแลผู้ป่วยอย่างเหมาะสม สอนและให้ คาแนะนาแก่ พยาบาลฝึกงาน เจ้าหน้าที่ ใหม่ เรื่องกระบวนการพยาบาลได้ด้วย ตนเอง 3. มีความสามารถในการจัดการสอน การถ่ายทอดทักษะ การฝึกอบรม และเป็นวิทยากรดังนี้ 3.1 จัดทาแนวทางการสอนในเรื่องกระบวนการพยาบาล 3.1.1 Basic Nursing care 3.1.2 การวางแผนการพยาบาลใน5อันดับโรค 3.1.3 Advance CPR 3.1.4 การบันทึกทาง การพยาบาล 3.1.5 การใช้โปรแกรม computer บันทึกข้อมูลผู้ป่วย
  • 5. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria S1 การใช้กระบวนการ พยาบาลและบันทึก ทางการพยาบาล มีความสามารถในการนา กระบวนการพยาบาลมาใช้ สามารถวินิจฉัย แก้ปัญหา เฉพาะหน้าเพื่อให้การดูแล ผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม และบันทึกกิจกรรม ทางการพยาบาลได้อย่าง ถูกต้องครบถ้วน 4 มีการนาองค์ความรู้และสร้างนวัตกรรม ใหม่ ๆ ทางการพยาบาลมาใช้ในการดูแล ผู้ป่วยจนเกิดการยอมรับในสาขาตนเอง 4. มีผลการพัฒนาระบบการให้กระบวนการพยาบาลและ บันทึกการพยาบาลโดย 4.1 จานวนแนวทางการใช้กระบวนการพยาบาล และรูปแบบบันทึก ทางการพยาบาล ที่ร่วมกาหนด 4.2 มีส่วนร่วมพัฒนารูปแบบการบันทึกและติดตามประเมินตาม แนวทางที่พัฒนาแล้ว 4.3 วิเคราะห์ และพัฒนารูปแบบบันทึกทางการพยาบาลจากผลการ ประเมิน และการเยี่ยมสารวจภายใน 5 เผยแพร่ความรู้ใหม่ ๆ และนวัตกรรม ทางการพยาบาลแก่หน่วยงานอื่น 5. จัดทาคู่มือ แนวทางปฏิบัติและหรือสื่อการสอนเรื่องการใช้ กระบวนการพยาบาล 5.1 มีการจัดทาแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการบันทึกทางการพยาบาล -การบันทึกแรกรับ - การบันทึกการให้ยา - การใช้แบบวางแผนการพยาบาล - การแสดงความยินยอมหรือไม่ยินยอมรับการรักษา - การวางการจาหน่ายผู้ป่วย -การเตรียมผู้ป่วยผ่าตัด -การบันทึกวิสัญญีพยาบาล -การบันทึกในOPD Card -การบันทึกนัดผู้ป่วย
  • 6. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria S2 ทักษะด้านการทา หัตถการพื้นฐานและ หัตถการที่จาเป็นใน หน่วยงาน มีความสามารถและทักษะ ในการปฏิบัติการพยาบาล พื้นฐานและหัตถการที่ จาเป็น หัตถการที่บ่อย 5 อันดับของหน่วยงาน หน่วยงาน............ หัตถการ 5 อันดับ 1. 2. 3. 4. 5. 1 มีทักษะในการทาหัตถการพื้นฐานของ หน่วยงาน 1. ผลการประเมินทักษะการทาหัตถการพื้นฐานตามที่หน่วยงาน กาหนดผ่าน100% หน่วยงาน.............................ทักษะหัตถการพื้นฐาน 1. 2. 3. 4. 5. 2 มีทักษะในการทาหัตถการเฉพาะของ หน่วยงานตามที่กาหนด 2. ผลการประเมินทักษะการทาหัตถการเฉพาะตามที่หน่วยงานกาหนด ผ่าน100% หน่วยงาน.............................ทักษะหัตถการเฉพาะ 1. 2. 3. 4. 5. 3 สามารถถ่ายทอดเทคนิคการทาหัตถการ ให้บุคคลในหน่วยงาน 3. สามารถสอนการ ทาหัตถการด้วยตนเอง ให้กับพยาบาลใหม่ นักศึกษาพยาบาล
  • 7. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria S3 การบริหารจัดการ การวางแผนการบริหาร จัดการและวิเคราะห์ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ในหน้าที่และการพัฒนา องค์การ (OD) ให้มี ประสิทธิภาพ 1 สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ ชี้แนะ และควบคุมกากับ) ในการพัฒนา บุคลากรและพัฒนาองค์การได้อย่างครอบคลุม และเหมาะสมโดยมีผู้ชี้แนะ 1. สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ ชี้แนะ และควบคุม กากับ) โดยใช้BSC และ KPI เช่น การจัดทาแผนยุทธศาสตร์ Action Plan แผนพัฒนาบุคลากร การควบคุมกากับโดย QA โดยมี ผู้ชี้แนะ 2 สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ ชี้แนะ และควบคุมกากับ) ในการพัฒนา บุคลากรและพัฒนาองค์การได้อย่างครอบคลุม เหมาะสมด้วยตนเอง 2.1 สามารถบริหารจัดการ (วางแผน ดาเนินการ ชี้แนะ และ ควบคุมกากับ) โดยใช้BSC และ KPI เช่น การจัดทาแผน ยุทธศาสตร์ Action Plan แผนพัฒนาบุคลากร การควบคุมกากับ โดย QA ได้ด้วยตนเอง 2.2 สามารถร่วมวางแผนการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงาน ร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ 3 สามารถถ่ายทอดความรู้ในการบริหารจัดการ ให้แก่บุคลากรในหน่วยงาน 3. เป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่องการบริหารจัดการให้แก่บุคลากรใน หน่วยงาน / หน่วยงานอื่น เช่น หลักสูตรการบริการการพยาบาล 1-4, QA Clinic, HA Clinic 4 รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อจัดทา สารสนเทศสาหรับผู้บริหารเพื่อจัดทาแผนใน การพัฒนาและพัฒนางานบริหารจัดการให้แก่ ฝ่ายการฯ 4. นาหลักวิชาการด้านบริการและแนวคิดใหม่ ๆ มาใช้ ประกอบการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อพัฒนาการบริการจัดการบุคลากร / องค์กร 5 สร้างรูปแบบการบริหารจัดการบุคลากร / องค์การ เพื่อเป็นต้นแบบการบริหารจัดการ ทางการพยาบาล 5. พยาบาลระดับ 6 ในหน่วยงานสามารถนาหลักการบริหาร จัดการไปบริหารจัดการด้านบริการพยาบาลอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 8. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria S4 วินิจฉัยปัญหาและ ตัดสินใจแก้ปัญหา รู้ปัญหาและวินิจฉัยปัญหา ทางการพยาบาล สามารถ นามาจัดลาดับความสาคัญ เพื่อการตัดสินใจแก้ปัญหา ได้ถูกต้องในการดูแล รักษาพยาบาล 1 สามารถวินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาลและ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีผู้ช่วยเหลือ สามารถวินิจฉัยปัญหาด้านการพัฒนาบุคลากร พัฒนาคุณภาพ / งานป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัย และตัดสินใจ แก้ปัญหาบริหารจัดการและการพยาบาล โดยมีผู้ชี้แนะ 2 สามารถวิเคราะห์วินิจฉัยปัญหาทางการพยาบาล และตัดสินใจแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง สามารถวินิจฉัยปัญหาด้านการพัฒนาบุคลากร พัฒนาคุณภาพ / งานป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัยและตัดสินใจ แก้ปัญหาบริหารจัดการและการพยาบาลด้วยตนเอง 3 สามารถให้ความรู้และทักษะในการวินิจฉัย ปัญหาทางการพยาบาลและตัดสินใจแก้ปัญหา แก่ผู้อื่น / เจ้าหน้าที่ใหม่ ภายในหน่วยงาน สามารถถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และให้คาปรึกษาแนะนาในการ จัดทาโครงการพัฒนาบุคลากร / พัฒนาคุณภาพ / งานป้ องกันและ ควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัย และตัดสินใจแก้ปัญหาโดยใช้ แนวคิดเชิงวิเคราะห์ 4 มีการนาองค์ความรู้ใหม่ ๆ มาวิเคราะห์วินิจฉัย ปัญหาทางการพยาบาล และตัดสินใจแก้ปัญหา เป็นที่ยอมรับ นาหลักวิชาการ แนวคิดและความรู้ใหม่ ๆ มาประกอบการ วิเคราะห์วินิจฉัยปัญหาในการพัฒนาบุคลากร / พัฒนาคุณภาพ / งานป้ องกันและควบคุมการติดเชื้อ / งานวิจัย และตัดสินใจ แก้ปัญหา ให้คาปรึกษา แนะนา เป็นที่ยอมรับ 5 สามารถสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการตัดสินใจแก้ปัญหาทางการพยาบาล สร้างความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ ในการตัดสินใจแก้ปัญหา
  • 9. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria A1 ทัศนคติต่อองค์กร มีความรัก ความผูกพันต่อ องค์กร ให้ความร่วมมือใน กิจกรรมต่างๆ ด้วยความ เสียสละและเต็มใจ 1 ปฏิบัติตามนโยบายขององค์กร 1. สามารถปฏิบัติตามนโยบายขององค์กรได้โดย 1.1 สามารถบอกถึงพันธกิจ วิสัยทัศน์ เป้ าหมาย นโยบายของ องค์กร 1.2 ปฏิบัติตามนโยบายเพื่อบรรลุภารกิจ นโยบาย พันธกิจ วิสัยทัศน์ ขององค์กรอย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ 2 มีความมุ่งมั่นจะทางานที่รับผิดชอบให้ประสพ ความสาเร็จ สามารถปฏิบัติงานและมีคะแนนการประเมินผลตาม KPI ไม่ต่า กว่า 80% และมีส่วนร่วมในการพัฒนางานในหน่วยงานที่ รับผิดชอบ 3 ส่งเสริมชักจูงให้บุคลากรในหน่วยงานมี ทัศนคติที่ดีต่อองค์กร สามารถชักจูงให้บุคลากรในหน่วยงานมีทัศนคติที่ดีต่อองค์กร ตาม Check List และมีส่วนร่วมการพัฒนางานนอกหน่วยงาน 4 เป็นตัวอย่างที่ดี ของการมีส่วนร่วมในองค์กร และให้ความร่วมมือต่อการพัฒนาองค์กร เป็นผู้นาทีมในการพัฒนาระบบต่าง ๆ ในองค์กร โดยความ เสียสละและเต็มใจ 5 มีผลงานที่สร้างชื่อเสียงให้แก่องค์กร สร้างงานวัตกรรม การพัฒนา / รูปแบบใหม่ ๆ ที่นอกเหนือภารกิจ จนได้รับการยกย่องและสร้างชื่อเสียงให้องค์การ
  • 10. Category Competency name Competency Definition Level/scale Behavior Indicator Criteria A2 ทัศนคติต่อการ ปฏิบัติการพยาบาล ให้บริการพยาบาลด้วย ความเต็มใจ เสียสละปฏิบัติ ตามมาตรฐานวิชาชีพ และ ร่วมพัฒนาการปฏิบัติการ พยาบาลสร้าง ความก้าวหน้าทางวิชาชีพ 1 ให้การบริการพยาบาลด้วยความเต็มใจ เสียสละ อดทน และปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ 1. สามารถอธิบายและแสดงให้เห็นพฤติกรรมการปฏิบัติการ พยาบาลด้วยความเต็มใจ เสียสละ อดทน และปฏิบัติตาม มาตรฐานวิชาชีพ โดยผ่านเกณฑ์การประเมินความเข้าใจด้าน จริยธรรมและพฤติกรรมบริการ 2 แนะนาผู้ร่วมงานในทีมให้มีทัศนคติที่ดีในงาน บริการพยาบาล 2. สามารถแนะนา กระตุ้นและส่งเสริมบุคลากรโดยให้มีทัศนคติ ที่ดีต่อการปฏิบัติการพยาบาล เช่น การกล่าวถึงวิชาชีพในทางบวก ชี้แนะบทบาทของพยาบาล ให้กาลังใจในกรณีเกิดปัญหาขณะ ปฏิบัติการพยาบาล ชื่นชมผู้ปฏิบัติงานที่เป็นแบบอย่างที่ดี 3 มีความพอใจในการพยาบาล และทางาน ร่วมกับสหวิชาชีพได้อย่างเหมาะสม 3. สามารถแนะนา กระตุ้นและส่งเสริมบุคลากรโดยให้มีทัศนคติ ที่ดีต่อการปฏิบัติการพยาบาลและการทางานร่วมกับสหสาขา วิชาชีพ เช่น การกล่าวถึงความพอใจในการพยาบาล สหสาขา วิชาชีพกล่าวชื่นชมผู้ปฏิบัติงาน และการชื่นชมสหสาขาวิชาชีพ 4 เป็นแบบอย่างการปฏิบัติการพยาบาลที่ดีใน วิชาชีพต่อหน่วยงานและองค์กร 4. เป็นแบบอย่างการปฏิบัติการพยาบาลที่ดีดังนี้ 4.1 สามารถชี้แนะ / ให้คาปรึกษา / อธิบาย ให้บุคลากรปฏิบัติการ พยาบาลเป็นแบบอย่างที่ดีในวิชาชีพจนมีคะแนนการปฏิบัติงาน ≥ 80% 4.2 สามารถนาแบบอย่างที่ดีมานาเสนอให้กับหน่วยงานและ องค์กรไปปฏิบัติตามเป็นแบบอย่างที่ดี 5 มีผลงานการพัฒนางานในสาขาการพยาบาลที่ รับผิดชอบ และสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร 5. สามารถจัดทางานวิจัยหรือเขียนบทความทางวิชาการในสาขา การพยาบาลที่รับผิดชอบ และสร้างชื่อเสียงให้กับองค์กร