SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  85
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือการใชงานระบบOBECLMS – อาจารย




การอบรมเชิงปฏิบติการ “การบริหารจัดการเวบไซตโรงเรยนโคกสีพิทยาสรรพ (OBECLMS)
               ั                       ็         ี
            และการบริหารจดการ Blog ของหนวยงานภายในโรงเรยน”
                          ั                                 ี
        ภายใตโครงการ “การบริหารจัดการ OBECLMS
      และ Blog หนวยงานภายในโรงเรียนโคกสีพิทยาสรรพ
สารบัญ
เรื่อง                                           หนา
1. ระบบUsername
   1.1. การสมัครสมาชิก                            1
   1.2. จัดการสมาชิกระบบ                          2
   1.3. การเขาสูระบบ/ ออกจากระบบ                3
   1.4. แกไขขอมูลสวนตัว                        4
   1.5. การเปลี่ยนภาษาที่หนาแสดงผล               5

2. ระบบ CMS
   2.1. อธิบายการใชงาน                           6

3. ระบบ Portfolio
   3.1. การเขาใชงานและการจัดการขอมูลพื้นฐาน    8
   3.2. แฟมประวัติ                               13
   3.3. แฟมจัดเก็บผลงาน                          14
   3.4. กระดานขาว                                15
   3.5. อัลบั้มภาพ                                16
   3.6. จดหมาย                                    19
   3.7. คนหาสมาชิก                               21
   3.8. สมุดบันทึก                                21
   3.9. สํารวจความคิดเห็น                         22
   3.10.ขาวจากเว็บหลัก                           22
   3.11.ลิงคที่เกี่ยวของ                        23
   3.12.สถิติการเขาชม                            23
   3.13.การใชงานระบบแฟมสะสมผลงาน                13
สารบัญ
เรื่อง                                        หนา
4. LMS

  4.1 จัดการกับระบบการใหบริการ                26
  4.2 การจัดการรายวิชา                         28
  4.3 การจัดการสรางไฟล                       29
  4.4 การสรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code      31
  4.5 การสรางขอความ                          32
  4.6 เครื่องมือ WIRIS editor                  33
  4.7 การสรางลิงค                            35
  4.8 การสรางการบาน                          36
  4.9 การสรางขอสอบ                           37
  4.10 การจัดการรีเซตการสอบ                    49
  4.11 การสรางเนื้อหาโดยเลือกจากคลัง          50
  4.12 การดูคะแนนและการตัดเกรด                 51
  4.13 สถิติการทําขอสอบ                       54
  4.14 สถิติการเขาใชงาน                      55
  4.15 การเพิ่มผูสอน                          56
  4.16 เพิ่มผูเรียนในรายวิชา                  56
  4.17 การตรวจสอบผูลงทะเบียน                  57
  4.18 การแกไขรายวิชา                         57
  4.19 สรางขาวประชาสัมพันธ                  58
  4.20 สรางปฏิทินประจําวิชา                   58
  4.21 การเพิ่มแบบประเมินการสอน                59
  4.22 การเพิ่มหมวดการประเมิน                  59
  4.23 กระดานสนทนา                             61
  4.24 กระดานสนทนาออนไลน                      62
สารบัญ
เรื่อง                                             หนา
     4.25 การดูสมาชิกออนไลน                        62
     4.26 การ Download สื่อประสม                    63
     4.27 การเปลี่ยนภาษาที่หนาแสดงผล               64


5.   ระบบ MMS

     5.1    โครงสรางระบบขอมูล                     65
     5.2    กระดานขาวประจําศูนยขอมูล             66

6.   ระบบ E-Library
     6.1 e-Library ระบบหองสมุดเสมือน               68
     6.2 การใชงานการคนหาแบบพื้นฐาน                69
     6.3 การใชงานการคนหาแบบละเอียด                70
     6.4 การใชงานสถิติการใชงาน                    71
1

                                            สารบัญภาพ
    รูปที่                                                              หนา
รูปที่ 1.1.1 เขาสูระบบ                                                 1

รูปที่ 1.1.2 คลิกปุมสมัครสมาชิกใหมเพื่อทําการสมัคร                     1

รูปที่1.1.5 สมัครสมาชิก                                                  2

รูปที่ 1.1.6การสมัครสมาชิกสําเร็จ Username สําหรับนักเรียน               2

รูปที่ 1.2.5 การ Login เขาใชงาน                                        3

รูปที่ 1.2.6 แสดงชื่อที่เขาระบบ                                         3

รูปที่ 1.2.7 แสดงชื่อที่เขาระบบพรอมกับสถานะของผูใช                   3

รูปที่ 1.2.8 การออกจากระบบ                                               3

รูปที่ 1.4.1 การแกไขขอมูลสวนตัว                                       4

รูปที่ 3 เมนูแฟมสะสมงาน                                                 7

รูปที่ 3.1 แสดงหนาแจงเตือนเมื่อไม Loginเขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน    7

รูปที่ 3.2แสดงหนา Login เขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน                     7

รูปที่ 3.1.1 แกไขขอมูลพื้นฐานขอความสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน            8

รูปที่ 3.1.2กรอกขอมูลพื้นฐาน                                            8

รูปที่ 3.1.3ขอมูลพื้นฐานสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน                         8

รูปที่ 3.1.4แสดงการเพิ่มรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน                       9

รูปที่ 3.1.5แสดงรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน                               9

รูปที่ 3.1.6แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน                      10

รูปที่ 3.1.7แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน                      10
2

                                            สารบัญภาพ
    รูปที่                                                            หนา
รูปที่ 3.1.8เมนูการแกไข                                               11

รูปที่ 3.1.9แสดงการแกไขขอมูลสวนตัว                                  11

รูปที่ 3.1.10 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน                    12

รูปที่ 3.1.11 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน                    12

รูปที่ 3.2.1เรียกใชเมนูประวัติสวนตัว                                 13

รูปที่ 3.2.2การเพิ่มแฟมขอมูลสวนตัว                                  13

รูปที่ 3.2.3แสดงการเพิ่ม/แกไข/ลบ ปของกิจกรรมของแฟมประวัติสวนตัว    13

รูปที่ 3.3.1เรียกใชเมนูแฟมสะสมผลงาน                                  14

รูปที่ 3.2.2เพิ่มขอมูลแฟมผลงาน                                       14

รูปที่ 3.3.3แสดงการจัดการแฟมจัดเก็บผลงาน                              14

รูปที่ 3.4.1เรียกใชเมนูกระดานขาว                                     15

รูปที่ 3.4.2การตั้งประเด็นใหม                                         15

รูปที่ 3.4.3 การตั้งประเด็น                                            16

รูปที่ 3.4.4 การตั้งประเด็น                                            16

รูปที่ 3.5.1เมนูกระดานขาว                                             17

รูปที่ 3.5.2 แสดงการเพิ่มอัลบั้มภาพ                                    17

รูปที่ 3.5.3 แสดงการเพิ่มรูปภาพในอัลบั้ม                               17

รูปที่ 3.5.4 แสดงหนาของอัลบั้มภาพ                                     18

รูปที่ 3.6.1การเรียกใชเมนู                                            19
3

                                             สารบัญภาพ
    รูปที่                                               หนา
รูปที่ 3.6.2 แสดงหนาของกลองจดหมาย                       19

รูปที่ 3.6.3 แสดงหนาของการสรางจดหมาย                    20

รูปที่ 3.6.4 แสดงหนาของการเลือกผูสง                    20

รูปที่ 3.6.5 แสดงหนาของขอความที่สงมาถึงผูใช          20

รูปที่ 3.6.6แสดงหนาของเนื้อหาขอความ                     20

รูปที่ 3.7.1 คนหาสมาชิก                                  21

รูปที่ 3.8.1 แสดงหนาของสมุดบันทึก                        21

รูปที่ 3.8.2การเพิ่มเนื้อหา                               21

รูปที่ 3.9.1 แสดงการจัดการแบบสํารวจความคิดเห็น            22

รูปที่ 3.10.1 แสดงขาวจากหนาหลัก                         22

รูปที่ 3.11 แสดงลิงคที่เกี่ยวของ                        23

รูปที่ 3.12แสดงสถิติผูเขาชม                             23

รูปที่ 3.13.1 แสดงกลองฝากขอความ                         24

รูปที่ 3.13.2 แสดงหัวขอดาวนโหลด                         24

รูปที่ 3.13.3 แสดงขอความโหวต                             24

รูปที่ 3.13.4 แสดงหัวขอกระดานขาว                        25

รูปที่ 3.13.5 แสดงภาพภายในอัลบั้ม                         25

รูปที่ 3.13.6 แสดงประวัติสวนตัว                          25

รูปที่ 4.1.1 ในสวนของวิชาที่ทานสอน                      26
4

                                                สารบัญภาพ
    รูปที่                                                  หนา
รูปที่ 4.1.2 การเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน                       26

รูปที่ 4.1.3 หนาการเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน                   27

รูปที่ 4.1.4 รายวิชาที่ทานสอน                               27

รูปที่ 4.2.1 จัดการรายวิชาที่ทานสอน                         28

รูปที่ 4.2.2 การสรางโฟลเดอร                                28

รูปที่ 4.2.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทโฟลเดอร                  28

รูปที่ 4.3.1 การสรางไฟล                                    29

รูปที่ 4.3.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทไฟล                       29

รูปที่ 4.3.3 การเพิ่มเปนสื่อเปนภาพและวีดีโอ                29

รูปที่ 4.3.4 การแตกไฟล .zip                                 30

รูปที่ 4.3.5 แสดงหนาขอความ                                 30

รูปที่ 4.4.1 การสรางไฟลประเภท Embed Code                   31

รูปที่ 4.4.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code                 31

รูปที่ 4.4.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code                31

รูปที่ 4.5.1 การสรางขอความ                                 32

รูปที่ 4.6.1 เครื่องมือWIRIS editor                          33

รูปที่ 4.6.2 การใชเครื่องมือ WIRIS editor                   33

รูปที่ 4.6.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทขอความ                   34

รูปที่ 4.7.1 การสรางลิงคสําหรับ เว็บไซต                   35
5

                                             สารบัญภาพ
    รูปที่                                                        หนา
รูปที่ 4.7.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทลิงคสําหรับเว็บไซต             35

รูปที่ 4.8.1 การสรางการบาน                                       36

รูปที่ 4.8.2 สรางเนื้อหาประเภทการบาน                             36

รูปที่ 4.9.1 การสรางการบาน                                       37

รูปที่ 4.9.2 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ                              37

รูปที่ 4.9.3 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ                              37

รูปที่ 4.9.4 สรางคําถามใหม                                       38

รูปที่ 4.9.5 การสรางชุดคําถามใหม                                 38

รูปที่ 4.9.6 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบเลือกตอบ                  39

รูปที่ 4.9.7 ตัวอยางการสรางคําถามแบบเลือกตอบ                     39

รูปที่ 4.9.8 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบคําตอบมากกวา 1 คําตอบ    40

รูปที่ 4.9.9 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด             41

รูปที่ 4.9.10 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด            41

รูปที่ 4.9.11 ตัวอยางการสรางคําตอบลวง                            42

รูปที่ 4.9.12 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบจัดเรียงลําดับคําตอบ     42

รูปที่ 4.9.13 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบเติมคําในชองวาง        43

รูปที่ 4.9.14 ตัวอยางการเพิ่มชุดคําตอบเขาไปในขอสอบ              43

รูปที่ 4.9.15 เพิ่มขอสอบเขาไปแลว                                44

รูปที่ 4.9.16 การกําหนดคะแนนขอสอบ                                 44
6

                                              สารบัญภาพ
    รูปที่                                                หนา
รูปที่ 4.9.17 แสดงตัวอยางรายละเอียดขอสอบ                 45

รูปที่ 4.9.18 คลังขอสอบ                                   45

รูปที่ 4.9.19 ชื่อกลุมทดสอบ                               46

รูปที่ 4.9.20 การสรางกลุมขอสอบใหมเพิ่มเขามา           46

รูปที่ 4.9.21 แสดงการเพิ่มสําเร็จ                          47

รูปที่ 4.9.22เลือกหากลุมขอสอบ                            47

รูปที่ 4.9.23 นักเรียนยังทําขอสอบไมได                   47

รูปที่ 4.9.25 ดูมุมมองของนักเรียน                          48

รูปที่ 4.9.26 ขอสอบมุมมองนักเรียน                         48

รูปที่ 4.10.1 การจัดการรีเซตการสอบ                         49

รูปที่ 4.10.2 เลือกกลุมนักเรียน
                                                          49

รูปที่ 4.10.3 รายชื่อผูเรียนในกลุมทั้งหมด                49

รูปที่ 4.10.4 ยืนยันการลบ                                  49

รูปที่ 4.11.1 เลือกไฟลจากคลัง                             50

รูปที่ 4.11.2 เลือกไฟลจากคลัง                             50

รูปที่ 4.11.3 การอัพโหลดไฟลเขาไปในคลังขอมูล             50

รูปที่ 4.12.1 การดูคะแนนสอบของนักเรียน                     51

รูปที่ 4.12.2 รายละเอียดคะแนนของนักเรียน                   51

รูปที่ 4.12.3การดูคะแนนแบบกราฟของนักเรียน                  52
7

                                             สารบัญภาพ
    รูปที่                                               หนา
รูปที่ 4.12.4 แกไขคะแนนเต็มของรายวิชานี้                 52

รูปที่ 4.12.5 แกไขระดับคะแนน                             53

รูปที่ 4.12.6 การสงออกคะแนน                              53

รูปที่ 4.13.1 สถิติการทําขอสอบ                           54

รูปที่ 4.13.2 แบบรายบุคคลสามารถเลือกนักเรียนเพื่อดูได    54

รูปที่ 4.13.3 แบบภาพรวมในการทําขอสอบ                     54

รูปที่ 4.14.1 สถิติการเขาใชงาน                          55

รูปที่ 4.14.2 รายละเอียดการเขาใชงานบุคคล                55

รูปที่ 4.15 การเพิ่มผูสอน                                55

รูปที่ 4.16 คนหาผูเรียน                                 56

รูปที่ 4.17 การตรวจสอบผูลงทะเบียนในรายวิชา               56

รูปที่ 4.18 การแกไขรายละเอียดวิชา                        57

รูปที่ 4.19 การสรางขาวประชาสัมพันธ                     57

รูปที่ 4.20 การสรางปฏิทินประจําวิชา                      58

รูปที่ 4.21.1 การเพิ่มหัวขอประเมินการสอน                 58

รูปที่ 4.21.2 การใสรายละเอียดแบบประเมินการสอน            58

รูปที่ 4.21.3 การสรางหัวขอแบบประเมิน                    58

รูปที่ 4.22.1 การเพิ่มหมวดการประเมิน                      59

รูปที่ 4.22.2 เพิ่มเนื้อหาแบบประเมิน                      59
8

                                               สารบัญภาพ
    รูปที่                                                             หนา
รูปที่ 4.22.3 การเพิ่มแบบสอบถามยอยลงในหมวด                             59

รูปที่ 4.22.3 แบบสอบถามยอยแบบขอความ                                   59

รูปที่ 4.22.4 แบบสอบถามยอยแบบเลือกตอบไดเพียงขอเดียว และแบบหลายขอ    60

รูปที่ 4.22.5 แบบประเมินการสอน                                          60

รูปที่ 4.23 การตั้งประเด็นของกระดานสนทนา                                61

รูปที่ 4.24 ตัวอยางชองสนทนาออนไลน                                    62

รูปที่ 4.25 สนทนาออนไลน                                                62

รูปที่ 4.26.1 คนหาสื่อประสมที่ตองการใชงาน                            63

รูปที่ 4.26.2 การโหลดสื่อประสม                                          63

รูปที่ 5.1 1 การเขาสูระบบ MMS                                         65

รูปที่ 5.1.2 หนาของระบบ MMS                                            65

รูปที่ 5.2.1 กระดานขาวประจําศูนยขอมูล                                66

รูปที่ 5.2.2 แสดงหัวขอประเด็นตาง ๆ                                    66

รูปที่ 5.2.3แสดงผลการคนหา                                              67

รูปที่ 5.2.4 แสดงหนาการตั้งประเด็น                                     67

รูปที่ 5.2.5ผลการตั้งประเด็นใหม                                        67

รูปที่ 6.1 ระบบหองสมุดเสมือน                                           68

รูปที่ 6.2.1แสดงผลการคนหาแบบทั่วไป                                     69

รูปที่ 6.2.2 แสดงรายละเอียดเพิ่มเติม                                    69
9

                                         สารบัญภาพ
   รูปที่                                            หนา
รูปที่ 6.3.1 แสดงรายละเอียดการคนหาแบบละเอียด         70

รูปที่ 6.3.2 แสดงผลการคนหาแบบละเอียด                 70

รูปที่ 6.4.1 ระบบ e-Library & MMS                     71

รูปที่ 6.4.2 แสดงสถิติการใชงานแบงตามหมวดหมู        71

รูปที่ 6.4.3 แสดงรายละเอียดของหมวดเบ็ดเตล็ด           72

รูปที่ 6.4.4 แสดงรายละเอียดของหัวขอบรรณานุกรม        72
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย         1




คูมือการใชงานระบบOBECLMS
   1. ระบบ USER

       จะแสดงสวนจัดการเกี่ยวกับสมาชิกภายในระบบทั้งหมด ไมวาจะเปน การสมัครสมาชิก คนหา
สมาชิกแกไขสิทธิ์สมาชิก ตางถูกจัดการดวยสวนนี้ทั้งหมด

         1.1 การสมัครสมาชิกสามารถทําไดโดยคลิก “เขาสูระบบ” มุมบนขวามือ ดังรูปที่ 1.1.1




                                                รูปที่ 1.1.1 เขาสูระบบ

       เมื่ อ คลิ ก เข า สู ร ะบบแล ว จะเข า สู ห น า ต า งเข า สู ร ะบบ ให ค ลิ ก “สมั ค รสมาชิ ก ใหม ” เพื่ อ
สมัครสมาชิก ดังรูปที่ 1.1.2หนาตางสมัครสมาชิกจะแสดงขึ้นมา




                              รูปที่ 1.1.2 คลิกปุมสมัครสมาชิกใหมเพื่อทําการสมัคร




                                                            พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   2


การสมัครUsername สําหรับอาจารย
       ในสวนนี้เปนเรื่องของการจัดการเกี่ยวกับสมาชิกภายในระบบทั้งหมด ไมวาจะเปนการสมัคร
สมาชิก คนหาสมาชิกแกไขสิทธิ์สมาชิก ตางถูกจัดการดวยสวนนี้ทั้งหมด

       การสมัครสมาชิกของอาจารย




                                     รูปที่ 1.1.3 สมัครสมาชิก

                        เมื่อสมัครสมาชิกเรียบรอยแลวจะปรากฏขอความดังรูปที่ 1.1.4




                    รูปที่ 1.1.4 การสมัครสมาชิกสําเร็จ Username สําหรับอาจารย




                                                พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   3


    1.2 การ Login เขาสูระบบ
         การ Login ใชงานสําหรับอาจารย
         เมื่อคลิก “เขาสูระบบ” มุมบนขวามือ จะเจอหนาตางเขาสูระบบ ใส ชื่อผูใช รหัสผาน และปอนรหัส
ลับในสวนของรหัสลับนี้เพื่อปองกันจากผูไมหวังดีที่จะเขามาเจาะระบบทางการล็อกอิน เรียกวา SQL
Injection โดยระบบจะสรางรหัสขึ้นมา 5 ตัวแสดงขึ้น ใหพิมพตามที่ชองปอนรหัสลับ โดยพิมพใหถูกตอง
แลวคลิก              ดังรูปที่ 1.2.1




                                    รูปที่ 1.2.1 การ Login เขาใชงาน

       เมื่อเขาสูระบบแลว ระบบจะแสดงขอความตอนรับ ชื่อ และสถานะของผูใชใหทราบวา ผูใชเขา
ระบบดวยชื่อและสถานะอะไร ดังรูปที่ 1.2.2




                                     รูปที่ 1.2.2 แสดงชื่อที่เขาระบบ



                         รูปที่ 1.2.3 แสดงชื่อที่เขาระบบพรอมกับสถานะของผูใช

        การออกจากระบบทําไดโดยคลิก                       จะมีหนาตางแสดงขอความออกจากระบบ




                                      รูปที่ 1.2.4 การออกจากระบบ
                                                    พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   4


1.3 แกไขขอมูลสวนตัว
        จะแสดงการแกไข เพิ่มขอมูลสวนตัวของแตละผูใชงาน คลิกปุม        เมื่อแกไขประวัติ
สวนตัวเรียบรอยแลว คลิก “อัพเดตประวัติสวนตัว” ดังรูปที่ 1.4.1




                         รูปที่ 1.4.1 การแกไขขอมูลสวนตัว
                                         พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   5


      1.4 การเปลี่ยนภาษาที่หนาแสดงผล
          โดยเว็บไซตจะสามารถเปลี่ยนไดถึงสองภาษาคือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จะอยูที่มุมซาย
บนของเว็บโดยถาเปนระบบนี้จะเปลี่ยนภาษาในสวน ของแทบเมนูดานขางและหัวขอหลัก



                   ถาตองการเปลี่ยนภาษาเปนภาษาอังกฤษ ใหคลิกที่รูป
                   ถาตองการเปลี่ยนภาษาเปนภาษาไทย ใหคลิกที่รูป
                   ถาตองการซอนหรือแสดงภาพแบนเนอรที่เปนแฟลตใหคลิกที่ไอคอนรูป




                                              พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   6



2.ระบบCMS
         อาจารยจะไมสามารถจัดการในสวนนี้ได สวนนี้เฉพาะผูดูแลระบบจัดการเทานั้นระบบ CMS เปน
ระบบที่ใชในการบริหารจัดการขอมูลพื้นฐานตาง ๆ ของเว็บไซต แตถามีการใหสิทธิ์ในการจัดการสวนนี้
จากผูดูแลระบบก็จะสามารถ จัดการภาพกิจกรรม ผลงานของเรา และการเพิ่มขาวประสาสัมพันธตางๆ




                                                พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   7



3.ระบบแฟมสะสมงาน(Portfolio)
          สวนนี้เปนการเขาใชงานในสวนของการจัดการขอมูลพื้นฐานสวนตัวของผูใช ดวยการเขาใชงาน
การสูเขาระบบแฟมสะสมผลงานนั้นทุกครั้งจําเปนจะตองการปอนชื่อผูใช และรหัสผาน ซึ่งระบบLoginนั้น
ในสวนนี้จะมีเมนูอยูที่ดานขวามือของผูใช ดังรูปที่ 3




                                     รูปที่ 3 เมนูแฟมสะสมงาน

          กอนที่จะเขาไปจัดการแฟมสะสมผลงานของตนเองหรือเขาชมของคนอื่นไดนั้น ตองทําการ Login
เขาสูระบบกอน ถาหากยังไมไดปอนชื่อเขาระบบ ระบบจะทําการแจงเตือนเพื่อใหทําการ Login กอนเขา
ระบบดังรูปที่ 3.1




              รูปที่ 3.1 แสดงหนาแจงเตือนเมื่อไม Loginเขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน

       การ Login เขาใชงาน มีรูปแบบเดียวกับการLogin เขาสูระบบระบบเว็บไซดดังรูปที3.2
                                                                                    ่




                      รูปที่ 3.2แสดงหนา Login เขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน

       เมื่อเขาสูระบบแฟมสะสมผลงานแลว จะปรากฏสวนประกอบของระบบประกอบโมดูลตาง ๆ ดังนี้
                                                 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   8


3.1 ขอมูลพื้นฐาน
        เปนสวนที่แสดงขอมูลของผูใชงาน ซึ่งผูใชงานเองสามารถแกไขขอมูลสวนนี้ไดโดยการแกไข
ขอความสวนหัวและสวนทายของแฟมสะสมผลงาน ดังนี้

การแกขอมูลสวนหัวของขอมูลพื้นฐาน
   เลือก ที่อยูในสวนหัวของระบบแฟมสะสมผลงานเพื่อแกไขขอมูลพื้นฐาน ดังรูป




               รูปที่ 3.1.1 แกไขขอมูลพื้นฐานขอความสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน

กรอกขอมูลพื้นฐานที่ตองการจะแกในสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน จากนั้นเลือก               ดังรูป




                                 รูปที่ 3.1.2กรอกขอมูลพื้นฐาน

                       ขอมูลสวนหัวของแฟมสะสมผลงานที่ทําการแกไข




                     รูปที่ 3.1.3ขอมูลพื้นฐานสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน




                                               พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   9


การจัดการรูปภาพสวนหัว
       สวนนี้เปนการตกแตงแฟมสะสมผลงานของผูใช โดยการเพิ่มเติมรูปภาพที่ผูใชตองการในสวนหัว
ของแฟมสะสมผลงาน และพื้นหลังของแฟมสะสมผลงานโดยการนําเขารูปภาพจากภายนอกโดยเลือก
                 เลือกรูปที่ตองการลงในสวนของการเพิ่มรูปภาพจากนั้นเลือก             ดังรูป




                      รูปที่ 3.1.4แสดงการเพิ่มรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน




                          รูปที่ 3.1.5แสดงรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน




                                               พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   10


การจัดการรูปภาพพื้นหลัง
       สวนนี้เปนการตกแตงแฟมสะสมผลงานของผูใช โดยการเพิ่มเติมรูปภาพที่ผูใชตองการในสวนหัว
ของแฟมสะสมผลงาน และพื้นหลังของแฟมสะสมผลงานโดยการนําเขารูปภาพจากภายนอกโดยเลือก
                 เลือกรูปที่ตองการลงในสวนของการเพิ่มรูปภาพจากนั้นเลือก             ดังรูป




                      รูปที่ 3.1.6แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน




                                                           2




                      รูปที่ 3.1.7แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน




                                               พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   11


    แกไขขอมูลสวนตัว
    สวนนี้เปนสวนที่ผูใชสามารถแกไขขอมูลสวนตัวตาง ๆ ของผูใชไดเอง โดยมีการใชงานที่งายและ
สามารถแกไขไดเมื่อตองการ ไมจําเปนตองรอผูดูแลระบบ(Admin) มีขั้นตอนดังนี้
เลือกหัวขอ                      ที่อยูดานลางของรูป ดังรูปรูปที่ 3.1.8




                                        รูปที่ 3.1.8เมนูการแกไข

        หนาตางการแกไขขอมูลสวนตัว ดังรูป


                                                             สวนที่ 1

                                                              สวนที่ 2

                                                              สวนที่ 3
                                                              3
                                                              สวนที่ 4

                                 รูปที่ 3.1.9แสดงการแกไขขอมูลสวนตัว
        จากรูปที่ 3.1.9ขอมูลสวนตัวประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้
               สวนที่ 1. ชื่อ-นามสกุล และรหัสผาน (ผูใชสามารถเปลี่ยนรหัสผานได)
               สวนที่ 2. ขอมูลทั่วไป – วันเดือนปเกิด เพศ ศาสนา สัญชาติ
               สวนที่ 3. ขอมูลที่ติดตอ – ที่อยู อีเมล หมายเลขโทรศัพท MSN HI5
               สวนที่ 4. การแกไขรูปภาพ
                                                   พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   12


เปลี่ยนหนากาก

       สวนนี้เปนสวนที่ใหผูใชสามารถเปลี่ยนรูปแบบของแฟมสะสมงาน ซึ่งจะมีรูปแบบใหเลือก 10
รูปแบบ โดยใหเลือกรูปแบบที่ตองการ ดังรูปที่ 3.1.10




                        รูปที่ 3.1.10 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน


          เมื่อไดรูปแบบที่ตองการแลวเลือก            รูปแบบของ แฟม จะ เปลี่ยนไปตามหนากากที่
ผูใชเลือกดังรูปที่ 3.1.11




                         รูปที่ 3.1.11 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน
                                                 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   13


    3.2 แฟมประวัติ

        เปนสวนของการเก็บรายละเอียดประวัติ ของผูใชงาน ซึ่งประกอบดวย ประวัติการศึกษา ดูงาน
ประวัติการทํางาน ประวัติการหยุดงาน ประวัติการอบรม และภารกิจที่ไดรับมอบหมายผูใชสามารถใส
ขอมูลในแตละหัวขอไดโดยเลือก                    ที่อยูดานบนดังรูปที่ 3.2.1
                                                        




                                    รูปที่ 3.2.1เรียกใชเมนูประวัติสวนตัว
            เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางประวัติสวนตัว เลือก                          ดังรูปที่ 3.2.2




                                    รูปที่ 3.2.2การเพิ่มแฟมขอมูลสวนตัว

        เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางประวัติสวนตัว ใหผูใชเพิ่ม ป พ.ศ. ที่จะบันทึกขอมูลดังรูป แลว
เลือก              เพื่อเพิ่มขอมูล ดังรูปที่ 3.2.3




                        รูปที่ 3.2.3แสดงการเพิ่ม/แกไข/ลบ ปของกิจกรรมของแฟมประวัติสวนตัว
         เมื่อผูใชงานเพิ่มป พ.ศ. เรียบรอยแลว ระบบจะแสดงขอมูลดังรูปที่ 7.3 ผูใชงานสามารถจัดการ
ขอมูลที่มีโดยการเลือกสัญญาลักษณดงนี้    ั
                             คือ การแกไขขอมูล
                             คือ ลบขอมูล
                       / คือ แสดง / ซอน
                                                       พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   14


    3.3 แฟมจัดเก็บผลงาน
        เปนสวนที่ให ผูใชนําผลงานตาง ๆ ของตนเองขึ้นไปเก็บไว อยางเปนหมวดหมูโดยที่ ผูใชสามารถ
เลือกใหแสดงหัวขอตาง ๆได แกไขขอมูล และลบขอมูลได โดยมีวิธีการดังนี้ผูใชสามารถใสขอมูลในแตละ
หัวขอไดโดยเลือก                    ที่อยูดานบนดังรูป3.3.1




                                รูปที่ 3.3.1เรียกใชเมนูแฟมสะสมผลงาน

        เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางแฟมสะสมผลงานให เลือก                                  ระบบจะเปด
หนาตางในการเพิ่มขอมูล ผูใชงานสามารถกําหนดชื่อหัวขอหลัก จากนั้นเลือก                ดังรูป 3.2.2




                                   รูปที่ 3.2.2เพิ่มขอมูลแฟมผลงาน

        ภายในหัวขอหลัก ผูใชงานสามารถเพิ่ม/ Download ขอมูลยอยได และยังสามารถเลือกการจัดการ
ขอมูลไดตามสัญลักษณ ดังรูปที3.3.3
                              ่
                       คือ การแกไขขอมูล
                       คือ ลบขอมูล
                  / คือ แสดง / ซอน
                       คือ การเพิ่มเนื้อหา / หัวขอยอย




                             รูปที่ 3.3.3แสดงการจัดการแฟมจัดเก็บผลงาน
                                                  พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย     15


    3.4 กระดานขาว

          เปนสวนที่ใหบุคคลทั่วไปสามารถเขามาแสดงความคิดเห็นตาง ๆ เกี่ยวกับแฟมสะสมผลงานได
โดยการแสดงความคิดเห็นแตละครั้งระบบจะทําการเก็บ ชื่อผูแสดงความคิดเห็น ทั้งนี้ยังมีระบบกรองคํา
หยาบเพื่อปองกันคําที่ไมสุภาพจากบุคคลภายนอกที่เขามาแสดงความคิดเห็น และหากกระทูใดแสดงความ
คิด เห็ น ที่ไ ม เหมาะสม ผูใ ช สามารถทํ า การลบความคิ ด เห็ น นั้น ออกได ซึ่ ง มีวิ ธี ก ารจั ด การโดยเลื อ ก
                ที่อยูดานบนดังรูป3.4.1




                                      รูปที่ 3.4.1เรียกใชเมนูกระดานขาว

                 เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางแฟมสะสมผลงานให เลือก




                                         รูปที่ 3.4.2การตั้งประเด็นใหม

         ระบบจะเปดหนาตางในการเพิ่มขอมูล ผูใชงานสามารถตั้งประเด็นใหมได พรอมทั้งสามารถแนบ
เอกสารได เมื่อเพิ่มขอมูลแลว จากนั้นเลือก                 ดังรูปที่ 3.4.3




                                                       พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   16




                        รูปที่ 3.4.3 การตั้งประเด็น




                        รูปที่ 3.4.4 การตั้งประเด็น

ภายในหัวขอหลัก   ผูใชงานสามารถเลือกการจัดการขอมูลไดตามสัญลักษณ ดังรูปที3.4.4
                                                                             ่
         คือ       การแกไขขอมูล
         คือ       ลบขอมูล
     / คือ         แสดง / ซอน




                                    พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย            17


    3.5 อัลบั้มภาพ

           เปนสวนที่ให ผูใชงานนั้นสามารถที่จะเพิ่มอัลบั้มภาพ ของตนเองไดโดยไมจํากัด โดยมีรายละเอียด
ดังนี้ เลือก              ที่อยูดานบนดังรูปที่ 3.5.1




                                          รูปที่ 3.5.1เมนูกระดานขาว
        เลื อ ก                เพื่อ ทํ า การเพิ่ ม รู ป ที่ต อ งการ เมื่ อ เลือ กรู ป ที่ ตอ งการเรี ย บร อ ยแล ว เลื อ ก
            ขอมูลจะถูกบันทึกอัตโนมัติ เมื่อบันทึกขอมูลชื่อ อัลบั้ม เรียบรอย ระบบจะแสดงหนาตางใน
การเพิ่มรูปภาพทันที ดังรูปที่ 3.5.2




                                      รูปที่ 3.5.2 แสดงการเพิ่มอัลบั้มภาพ




                                 รูปที่ 3.5.3 แสดงการเพิ่มรูปภาพในอัลบั้ม
                                                          พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   18


        หลังจากสรางอัลบั้มภาพเสร็จแลว และอัพโหลดรูปแลว จะถูกแสดงดังรูปที่ 3.5.3 ซึ่งผูใชสามารถ
จัดการขอมูลรูปภาพตามสัญลักษณดังนี้
                       คือ การแกไขขอมูล
                       คือ ลบขอมูล
                  / คือ แสดง / ซอน




                                  รูปที่ 3.5.4 แสดงหนาของอัลบั้มภาพ




                                                  พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   19


    3.6 จดหมาย

        เปนสวนที่ผูใชงานสามารถที่จะสงขอความใหสมาชิกของแฟมสะสมผลงานไดเปนรายบุคคล และ
สามารถสงภาพไปกับขอความได และมีกลองขอความสวนตัวที่สามารถดูขอความที่สงมาจากสมาชิกของ
แฟมสะสมผลงาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ เลือก           ที่อยูดานบนดังรูปที่ 3.6.1




                                      รูปที่ 3.6.1การเรียกใชเมนู

        เมื่อเขามาที่ก ลองขอความมีก ารจัด การจดหมาย สรางจดหมายจดหมายทั้งหมด จดหมายใหม
จดหมายอานแลว รายชื่อผูสงจดหมาย ลบขอจดหมายและมีก ารแจงเตือนจดหมายถึงจํานวนจดหมาย
ทั้งหมด และจดหมายใหม สําหรับเจาของแฟมสะสมผลงาน(รูปที่ 3.6.1 หมายเลข2)




                               รูปที่ 3.6.2 แสดงหนาของกลองจดหมาย

        การสงจดหมาย ทําการคลิก ที่สรางจดหมาย(รูปที่ 3.6.2หมายเลข1)->ทําการเลือกสมาชิก (รูปที่
3.128 หมายเลข2) ->คนหาสมาชิก ->ทําการเลือกสมาชิกโดยถูกที่ชองใตรูป (รูปที่ 3.6.3 หมายเลข1) ->เมื่อ
เลือกผูสงเสร็จแลวใหทําการคลิกที่กลับไปสงจดหมายที่อยูดานบน (รูปที่ 3.6.3 หมายเลข2) ->เขียนหัวขอ
เรื่อง เลือกรูปภาพ เขียนจดหมาย->คลิกที่สงจดหมาย


                                                   พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   20




                                                         1




                           รูปที่ 3.6.3 แสดงหนาของการสรางจดหมาย




                               รูปที่ 3.6.4 แสดงหนาของการเลือกผูสง
       เมื่อขอความสงมาถึงครั้งแรกจะมีภาพ           และเมื่ออานขอความแลว จะหายไป สามารถลบ
ขอความไดโดยคลิกที่   ทําการอานขอความโดยคลิกที่




                         รูปที่ 3.6.5 แสดงหนาของขอความที่สงมาถึงผูใช




                            รูปที่ 3.6.6แสดงหนาของเนื้อหาขอความ
                                                พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   21


    3.7 คนหาสมาชิก

        สําหรับใหผูใชงานสามารถคนหาสมาชิก ไดทั้ง 3 รูปแบบคือ คนหาสมาชิกทั้งหมด นักเรียน และ
อาจารย โดยการใสคําคนหาหรือไมใสก็ได เมื่อไดรายชื่อสมาชิกแลว คลิกที่     หรือที่รูปภาพประจําตัว
เพื่อเขาสูแฟมสะสมผลงานของผูใชคนอื่น




                                       รูปที่ 3.7.1 คนหาสมาชิก

    3.8 สมุดบันทึก

      ผูใชสามารถเขียนขอความทีตองการใหผูที่เขามาอานแฟมสะสมผลงานอานได และสามารถนําโคด
ภาพสไลด มาใสเพื่อทําภาพโชวได ดังรูปที่ 3.8.1




                                     รูปที่ 3.8.1 แสดงหนาของสมุดบันทึก
        เพิ่มหมวดเนื้อหาผูใชสามารถเพิ่มหมวดเนื้อหาที่จะแสดงใหผูที่มาเยี่ยมชมไดเห็น โดยการพิมพที่
ชื่อหมวดเนื้อหาหลักและสามารถเพิ่มเนื้อหายอยภายในไดดังรูปที่ 3.8.2




                                       รูปที่ 3.8.2การเพิ่มเนื้อหา
                                                   พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   22


   3.9 สํารวจความคิดเห็น

        เปนสวนที่จะใหเจาของแฟมสามารถเขามาตั้งคําถามตาง ๆ เพื่อใหบุคคลทั่วไปที่เขามาเยี่ยมชม
แฟมผลงาน เขามาตอบคําถาม ซึ่งการทํางานของโมดูลจะเปน ขั้นตอนคือ สามารถสรางและจัดการ ใส
เนื้อหาหรือคําถามตาง ๆ แสดงเนื้อหา ดังรูปที่ 3.9




                          รูปที่ 3.9.1 แสดงการจัดการแบบสํารวจความคิดเห็น



   3.10 ขาวจากเว็บหลัก

       เปนการนําขาวจากระบบ CMS ที่เปนระบบหลักมาแสดง 4 ขาวลาสุดเพื่อใหเจาของแฟมสามารถดู
ขาวจากระบบ CMS ลาสุดไดจากแฟมสะสมผลงานของตนเองได ดังรูปที่ 3.10




                                 รูปที่ 3.10.1 แสดงขาวจากหนาหลัก



                                                 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   23


    3.11 ลิงคที่เกี่ยวของ

        เปนสวนที่ให ผูใชสามารถใสลิงคตาง ๆ ที่เกี่ยวของหรือที่ตนสนใจ เขาไปในแฟมซึ่งลักษณะของ
ลิงคสามารถใสเนื้อหาไดทั้งรูปภาพและขอความได โดยเลือก เพื่อเพิ่มขอมูลลิงคตางตาง ดังรูปที่ 3.11




                                    รูปที่ 3.11 แสดงลิงคที่เกี่ยวของ



    3.12 สถิติการเขาชม

       สถิติการเขาชมเปนสวนที่จะบอกรายละเอียดเกี่ยวสถิติการเขาชมแฟมผลงานในสวนของจํานวนผู
เขาชมแฟมสะสมผลงานทั้งหมดและจํานวนของผูที่กําลังเยี่ยมชมขณะนั้นแสดงเนื้อหาดังรูปที3.12
                                                                                    ่




                                      รูปที่ 3.12แสดงสถิติผูเขาชม




                                                    พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   24


   3.13 การใชงานระบบแฟมสะสมผลงาน

       สามารถที่จะเขาไปดูระบบแฟมสะสมของสมาชิกคนอื่นได โดยระบบคนหาสมาชิก การใชงาน
ระบบแฟมสะสมผลงานของสมาชิกคนอื่นนั้น ผูใชงานสามารถใชงานไดดังนี้

           ระบบฝากขอความผูใชสามารถฝากขอความใหกับเจาของแฟมสะสมผลงานได




                              รูปที่ 3.13.1 แสดงกลองฝากขอความ

           ระบบแฟมจัดเก็บผลงาน ผูใชสามารถดาวนโหลดขอมูลของแฟมสะสมผลงานได
                                  




                              รูปที่ 3.13.2 แสดงหัวขอดาวนโหลด

           ระบบโหวต ผูใชโหวตใหกับเจาของแฟมสะสมผลงานได




                                รูปที่ 3.13.3 แสดงขอความโหวต
                                             พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   25


          ระบบกระดานขาวผูใชเขียนตอบขอความในกระดานขาวของเจาของแฟม
สะสมผลงานได




                             รูปที่ 3.13.4 แสดงหัวขอกระดานขาว

          ระบบอัลบั้ม ผูใชสามารถดูภาพในอัลบั้มของเจาของแฟมสะสมผลงานได




                             รูปที่ 3.13.5 แสดงภาพภายในอัลบั้ม

          ระบบประวัติ ผูใชสามารถดูประวัติเจาของแฟมสะสมผลงานได




                            รูปที่ 3.13.6 แสดงประวัติสวนตัว
                                              พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   26



4.ระบบLMS
LMS อาจารย
        สวนของอาจารยจะสามารถจัดการในสวนนี้ไดเชน เพิ่มรายวิชาที่สอน สรางขอสอบ เพิ่มสื่อใน
รายวิชา ตัดเกรดจากคะแนนนักเรียนที่ลงทะเบียนในรายวิชา รีเซตขอสอบและรายชื่อนักเรียนได เปนตน

   4.1. จัดการกับระบบการใหบริการ
           จะแสดงรายวิชาที่ ครู – อาจารย ไดสอนโดย ครู – อาจารย จะมีสิทธิ์จัดการในสวนนี่ คลิก
       “รายวิชาที่ทานสอน” ดังรูปที่ 4.1.1




                               รูปที่ 4.1.1 ในสวนของวิชาที่ทานสอน

การเพิ่มรายวิชาที่สอน
         หนาตางจะแสดงรายละเอียดรายวิชาที่สอนโดยหนานี้จะไมไอคอนสําหรับจัดการไดและสามารถ
คลิกเขารายวิชาที่เคยเพิ่มไดแลวยังสามารถเพิ่มวิชาที่สอนไดโดยคลิกที่เพิ่มรายวิชาดังรูป




                               รูปที่ 4.1.2 การเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน

             ในหนานี้จะแสดงรายละเอียดของวิชาที่เราจะเพิ่มเขาไปในระบบ ดังรูปที่ 4.1.3




                                                 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   27




                     รูปที่ 4.1.3 หนาการเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน

เราจะเห็นรายวิชาที่เราไดเพิ่มเขามา จากนั้นคลิก “ชื่อวิชาที่เราตองการ” ดังรูปที่ 4.1.4




                            รูปที่ 4.1.4 รายวิชาที่ทานสอน

                                           พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   28


4.2. การจัดการรายวิชา
        นั้นจะมีรายละเอียดของวิชาเชน สวนของการสรางเนื้อหาโดยการนําสื่อตางๆเขามา เพื่อใชใน
    การเรียนการสอนการใหการบาน-สงการบานนักเรียน มีการสอบในระบบOnline แบบประเมิน
    และมีกระดานสนทนา เปนตน ดังรูปที่ 4.2.1




                              รูปที่ 4.2.1 จัดการรายวิชาที่ทานสอน

การสรางโฟลเดอร เพื่อที่จะไดเก็บเนื้อหาไดอยางเปนหมวดหมู คลิกที่ “รูปโฟลเดอร”ดังรูปที่ 4.2.2




                                  รูปที่ 4.2.2 การสรางโฟลเดอร

       จากนั้นใหเราใสชอโฟลเดอรและคําอธิบาย เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูปที่ 4.2.3
                        ื่




                          รูปที่ 4.2.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทโฟลเดอร




                                                พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   29


   4.3. การจัดการสรางไฟล
       เพื่อใชในการแนบไฟลตางๆ ทั้งไฟลรูปภาพ ไฟลเอกสาร วีดีโอ เพลง แฟลต จนไปถึงการแนบ
   ฐานขอมูลก็ได เพื่อใชในการเรียนการสอนคลิกที่ “รูปไฟล”ดังรูปที่ 4.3.1




                                       รูปที่ 4.3.1 การสรางไฟล

                 จากนั้นใหเราใสรายระเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูปที่ 4.3.2




                                รูปที่ 4.3.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทไฟล

การ Up loadZIP
         สวนนี้แสดงขอมูลในการอัพโหลดขอมูล หรือ เพิ่มขอมูลโดยใชเอกสารที่มีนอกจากการเพิ่มเปน
สื่อเปนภาพและวีดีโอยังสามารถเพิ่มเปนนามสกุล . Zip




                            รูปที่ 4.3.3 การเพิ่มเปนสื่อเปนภาพและวีดีโอ



                                                   พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   30


      เลือกชนิดที่ตองการเพิ่มขอมูลถาหากเลือกขอมูลเปน Zip จะมีการใหเลือกไฟลเริ่มตนใน
การแตกไฟล .zip ดังรูป




                                     รูปที่ 4.3.4 การแตกไฟล .zip

        เลือกเอกสารที่ใชนามสกุล zip ในชองไฟลที่จะอัพโหลด และเติมขอมูลใหครบจากนั้นกด
            เมื่อเพิ่มขอมูลเรียบรอยระบบจะแสดงหนาขอความ ดังรูปที่ 4.3.5




                                    รูปที่ 4.3.5 แสดงหนาขอความ




                                                  พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   31


4.4. การสรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code
            ในสวนนี้สามารถนําเนื้อหาในสวนที่เปนโคดมาใส เพื่อใชในการเรียนการสอนคลิก“รูป
        ไฟลEmbed” ดังรูป




                        รูปที่ 4.4.1 การสรางไฟลประเภท Embed Code

                 จากนั้นใหเราใสรายระเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป




                       รูปที่ 4.4.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code

ตัวอยางการแสดงผลของ Embed Code และจะปรากฏโคดดานลางเพื่อนําไปเผยแพรที่อื่นได ดังรูป




                       รูปที่ 4.4.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code

                                              พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   32


4.5. การสรางขอความ
            เพื่อใชในการอธิบายตางๆในสวนของรายวิชานี้ที่เปดสอนใหผูที่ลงทะเบียน
    ในรายวิชานี้ไดรับทราบ เพือใชในการเรียนการสอนคลิกที่ “รูปขอความ”ดังรูป
                              ่




                                รูปที่ 4.5.1 การสรางขอความ




                                             พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   33




     4.6. เครื่องมือ WIRIS editor
                  เปนเครื่องมือสําหรับการใสอักขระพิเศษ ทางคณิตศาสตรเชน รากเมตริก เลขยก
กําลัง เปนตนซึ่งจะสามารถใชในสวนของตัวขอสอบไดหรือสวนอื่นๆที่มีแทบเมนู Editorโดยผูใชจะตองมี
การดาวนโหลดจาวาในเครื่องดวยจึงจะสามารถใชในสวนสัญลักษณนี้ได หากในเครื่องยังไมมีจาวาก็
สามารถดาวนโหลดโปรแกรมจาวาไดฟรีจากลิงคhttp://www.java.com/en/download/index.jsp เมื่อตองการ
ใชสัญลักษณตางๆทางคณิตศาสตรใหคลิกที่ไอคอนดังรูป




                                 รูปที่ 4.6.1 เครื่องมือWIRIS editor

       ตัวอยาง การใชเครื่องมือ WIRIS editorเลือกใสขอมูลที่ตองการ แลวคลิก “Accept”ดังรูป




                              รูปที่ 4.6.2 การใชเครื่องมือ WIRIS editor


                                                  พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   34


จากนั้นใสรายละเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป




     รูปที่ 4.6.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทขอความ




                          พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   35


4.7. การสรางลิงค
            เพื่อใชเปนสวนหนึ่งในการสอนโดยเปนขอมูลสําหรับตัวอยางในเว็บไซต การ
    สรางคลิกที่ “ลิงค” ดังรูปที่ 4.7.1




                           รูปที่ 4.7.1 การสรางลิงคสําหรับ เว็บไซต

                 จากนั้นใหเราใสรายระเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป




                    รูปที่ 4.7.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทลิงคสําหรับเว็บไซต




                                               พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   36


4.8. การสรางการบาน
            เพื่อใชเก็บคะแนนของผูเรียนซึ่งสามารถสรางการบานใหนักเรียนสงทั้งเปน
    แบบงานเดี่ยวและงานกลุม สามารถกําหนดคะแนนได และสามารถกําหนดวันเริ่มสง
    วันหมดเขตได คลิกที่ไอคอนดังรูป




                                 รูปที่ 4.8.1 การสรางการบาน

              จากนั้นใหเราใสรายละเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มงาน/การบาน” ดังรูป




                           รูปที่ 4.8.2 สรางเนื้อหาประเภทการบาน




                                              พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   37


   4.9. การสรางขอสอบ
               เพื่อใชเก็บคะแนนของผูเรียนสามารถกําหนดคะแนนได โดยขอสอบ
สามารถเลือกไดวาตองการเก็บคะแนนหรือไม ถาเก็บจะเก็บแบบไหน เก็บครั้งสุดทายหรือคะแนนเฉลี่ย
สามารถเลือกจํานวนครั้งที่ใหสอบได กําหนดเวลาสอบได สามารถกําหนดวาเมื่อสอบเสร็จจะใหนักเรียนดู
เฉลยหรือไม โดยขอสอบสามารถสรางไดโดยคลิกที่ “รูปขอสอบ”ดังรูป




                                    รูปที่ 4.9.1 การสรางการบาน

                    จากนั้นใหเราใสรายละเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป




                               รูปที่ 4.9.2 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ

                  การใสแบบคําถามลงในชุดขอสอบ เลือกชุดขอสอบที่สราง ดังรูป




                              รูปที่ 4.9.3 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ
                                                 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   38


       การสรางชุดขอสอบ
       เลือกสรางคําถามใหมทีละคําถาม โดยจะมีประเภทขอสอบหลายประเภทใหไดเลือกสรางตาม
ตองการได ขั้นแรกก็ใหคลิกเขาไปยังชุดขอสอบที่ตองการจะสรางดังรูป




                                         รูปที่ 4.9.4 สรางคําถามใหม

      คําถามเพิ่มเขาไปขางใน แตการจะสรางคําถามเพิ่มไดในชุดขอสอบ ตองยังไมมีนักเรียนเขามาทํา
การสอบ จึงจะสามารถจัดการขอสอบชุดนั้นได ดังรูป




                                  รูปที่ 4.9.5 การสรางชุดคําถามใหม

ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice)
         โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้น โดยจะสามารถแนบไฟลรูปภาพประกอบ
ไดเพื่อใหนักเรียนเขาใจขอสอบไดมากขึ้น สวนคํานวณของคําตอบ สามารถสรางตัวเลือกตอบไดตั้งแต 2
คําตอบ ถึง 5 คําตอบ ซึ่งคําตอบแตละขอก็ยังสามารถแนบไฟลรูปภาพประกอบไดเชนเดียวกัน ดังรูป




                                                  พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   39




                     รูปที่ 4.9.6 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบเลือกตอบ

หลังจากที่สรางคําถาม–ตอบเรียบรอย กดเลือกคําตอบที่ถูกตอง เสร็จแลวคลิก “สรางคําถาม” ดังรูป




                      รูปที่ 4.9.7 ตัวอยางการสรางคําถามแบบเลือกตอบ

                                             พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   40


ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบคําตอบมากกวาหนึ่ง(Multiple Correct Answer)
        โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้นจะแตกตางกับเลือกตอบตรงที่ขอสอบ    
ประเภทนี้สามารถใหนักเรียนตอบคําถามไดมากกวา 1ขอ สวนคํานวณของคําตอบ สามารถสรางตัว
เลือกตอบใชหรือไมใชไดตั้งแต 2 คําตอบ ถึง 5 คําตอบ ซึ่งคําตอบแตละขอก็ยังสามารถแนบไฟลรูปภาพ
ประกอบ ดังรูป




                  รูปที่ 4.9.8 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบคําตอบมากกวา 1 คําตอบ

                                                 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย   41


ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบถูก-ผิด (True/False)
        โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้น โดยจะมีคําถามยังสามารถแนบไฟลรูปภาพ
ประกอบได ซึ่งคําตอบจะมีใหเลือกแค 2 อยางคือ ถูก กับ ผิดเทานั้น ดังรูป




                    รูปที่ 4.9.9 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด

ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบแบบจับคู( Match the Pairs)
        โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้น สวนคํานวณของคําตอบสามารถสรางตัว
เลือกตอบไดตั้งแต2 คําตอบ ถึง 5 คําตอบและยังสามารถสรางขอสอบลวงไดอีกดวย ดังรูป




                    รูปที่ 4.9.10 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด

                                              พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู
คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู

Contenu connexe

Similaire à คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู

เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนbennypong
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

Similaire à คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู (9)

Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
รูปทรงกลม
รูปทรงกลมรูปทรงกลม
รูปทรงกลม
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
Exe2[1]
Exe2[1]Exe2[1]
Exe2[1]
 
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขนเกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
เกมส์รถถังออนไลน์ ผลงานนักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 

Plus de Koksi Vocation

คู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียน
คู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียนคู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียน
คู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียนKoksi Vocation
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555Koksi Vocation
 
โครงการงานธุรกิจ 2555
โครงการงานธุรกิจ 2555โครงการงานธุรกิจ 2555
โครงการงานธุรกิจ 2555Koksi Vocation
 
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555 โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555 Koksi Vocation
 
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555Koksi Vocation
 
โครงการงานเกษตร 2555
โครงการงานเกษตร 2555โครงการงานเกษตร 2555
โครงการงานเกษตร 2555Koksi Vocation
 
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555Koksi Vocation
 
ข้อมูลครูอัมรา1 2555
ข้อมูลครูอัมรา1 2555ข้อมูลครูอัมรา1 2555
ข้อมูลครูอัมรา1 2555Koksi Vocation
 
ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555
ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555
ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555Koksi Vocation
 
ข้อมูลครูสำราญ1 2555
ข้อมูลครูสำราญ1 2555ข้อมูลครูสำราญ1 2555
ข้อมูลครูสำราญ1 2555Koksi Vocation
 
ข้อมูลครูวิเชต1 2555
ข้อมูลครูวิเชต1 2555ข้อมูลครูวิเชต1 2555
ข้อมูลครูวิเชต1 2555Koksi Vocation
 
ข้อมูลครูจรัญญา1 2555
ข้อมูลครูจรัญญา1 2555ข้อมูลครูจรัญญา1 2555
ข้อมูลครูจรัญญา1 2555Koksi Vocation
 
ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553
ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553
ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553Koksi Vocation
 
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์Koksi Vocation
 
ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553
ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553
ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553Koksi Vocation
 
แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์
แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์
แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์Koksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรม
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรมแบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรม
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรมKoksi Vocation
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4Koksi Vocation
 

Plus de Koksi Vocation (20)

คู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียน
คู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียนคู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียน
คู่มือการบริหารจัดการ Blog ของหน่วยงานภายในโรงเรียน
 
Nsc2013 finalists
Nsc2013 finalistsNsc2013 finalists
Nsc2013 finalists
 
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
โครงการเทคโนโลยีสารสนเทศ 2555
 
โครงการงานธุรกิจ 2555
โครงการงานธุรกิจ 2555โครงการงานธุรกิจ 2555
โครงการงานธุรกิจ 2555
 
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555 โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
โครงการงานบ้านและงานประดิษฐ์ 2555
 
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
โครงการงานช่างอุตสาหกรรม 2555
 
โครงการงานเกษตร 2555
โครงการงานเกษตร 2555โครงการงานเกษตร 2555
โครงการงานเกษตร 2555
 
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
ข้อมูลครูอำนาจ1 2555
 
ข้อมูลครูอัมรา1 2555
ข้อมูลครูอัมรา1 2555ข้อมูลครูอัมรา1 2555
ข้อมูลครูอัมรา1 2555
 
ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555
ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555
ข้อมูลครูอภิวัฒน์1 2555
 
ข้อมูลครูสำราญ1 2555
ข้อมูลครูสำราญ1 2555ข้อมูลครูสำราญ1 2555
ข้อมูลครูสำราญ1 2555
 
ข้อมูลครูวิเชต1 2555
ข้อมูลครูวิเชต1 2555ข้อมูลครูวิเชต1 2555
ข้อมูลครูวิเชต1 2555
 
ข้อมูลครูจรัญญา1 2555
ข้อมูลครูจรัญญา1 2555ข้อมูลครูจรัญญา1 2555
ข้อมูลครูจรัญญา1 2555
 
ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553
ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553
ผลการเรียนรายวิชาของครูสำราญ 2_2553
 
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
แนวทางการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553
ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553
ผลการเรียนวิชาครูอัมรา 2_2553
 
แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์
แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์
แนวทางการประเมินการอ่านคิดวิเคราะห์
 
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรม
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรมแบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรม
แบบเสนอโครงการปรับปรุงห้องปฏิบัติการคหกรรม
 
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
แบบเสนอโครงการจัดการเรียนรู้'งานเกษตร ช่วงชั้นที่ 3 4
 

คู่มือการใช้งานระบบObeclmsสำหรับครู

  • 1. คูมือการใชงานระบบOBECLMS – อาจารย การอบรมเชิงปฏิบติการ “การบริหารจัดการเวบไซตโรงเรยนโคกสีพิทยาสรรพ (OBECLMS) ั ็ ี และการบริหารจดการ Blog ของหนวยงานภายในโรงเรยน” ั ี ภายใตโครงการ “การบริหารจัดการ OBECLMS และ Blog หนวยงานภายในโรงเรียนโคกสีพิทยาสรรพ
  • 2. สารบัญ เรื่อง หนา 1. ระบบUsername 1.1. การสมัครสมาชิก 1 1.2. จัดการสมาชิกระบบ 2 1.3. การเขาสูระบบ/ ออกจากระบบ 3 1.4. แกไขขอมูลสวนตัว 4 1.5. การเปลี่ยนภาษาที่หนาแสดงผล 5 2. ระบบ CMS 2.1. อธิบายการใชงาน 6 3. ระบบ Portfolio 3.1. การเขาใชงานและการจัดการขอมูลพื้นฐาน 8 3.2. แฟมประวัติ 13 3.3. แฟมจัดเก็บผลงาน 14 3.4. กระดานขาว 15 3.5. อัลบั้มภาพ 16 3.6. จดหมาย 19 3.7. คนหาสมาชิก 21 3.8. สมุดบันทึก 21 3.9. สํารวจความคิดเห็น 22 3.10.ขาวจากเว็บหลัก 22 3.11.ลิงคที่เกี่ยวของ 23 3.12.สถิติการเขาชม 23 3.13.การใชงานระบบแฟมสะสมผลงาน 13
  • 3. สารบัญ เรื่อง หนา 4. LMS 4.1 จัดการกับระบบการใหบริการ 26 4.2 การจัดการรายวิชา 28 4.3 การจัดการสรางไฟล 29 4.4 การสรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code 31 4.5 การสรางขอความ 32 4.6 เครื่องมือ WIRIS editor 33 4.7 การสรางลิงค 35 4.8 การสรางการบาน 36 4.9 การสรางขอสอบ 37 4.10 การจัดการรีเซตการสอบ 49 4.11 การสรางเนื้อหาโดยเลือกจากคลัง 50 4.12 การดูคะแนนและการตัดเกรด 51 4.13 สถิติการทําขอสอบ 54 4.14 สถิติการเขาใชงาน 55 4.15 การเพิ่มผูสอน 56 4.16 เพิ่มผูเรียนในรายวิชา 56 4.17 การตรวจสอบผูลงทะเบียน 57 4.18 การแกไขรายวิชา 57 4.19 สรางขาวประชาสัมพันธ 58 4.20 สรางปฏิทินประจําวิชา 58 4.21 การเพิ่มแบบประเมินการสอน 59 4.22 การเพิ่มหมวดการประเมิน 59 4.23 กระดานสนทนา 61 4.24 กระดานสนทนาออนไลน 62
  • 4. สารบัญ เรื่อง หนา 4.25 การดูสมาชิกออนไลน 62 4.26 การ Download สื่อประสม 63 4.27 การเปลี่ยนภาษาที่หนาแสดงผล 64 5. ระบบ MMS 5.1 โครงสรางระบบขอมูล 65 5.2 กระดานขาวประจําศูนยขอมูล 66 6. ระบบ E-Library 6.1 e-Library ระบบหองสมุดเสมือน 68 6.2 การใชงานการคนหาแบบพื้นฐาน 69 6.3 การใชงานการคนหาแบบละเอียด 70 6.4 การใชงานสถิติการใชงาน 71
  • 5. 1 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 1.1.1 เขาสูระบบ 1 รูปที่ 1.1.2 คลิกปุมสมัครสมาชิกใหมเพื่อทําการสมัคร 1 รูปที่1.1.5 สมัครสมาชิก 2 รูปที่ 1.1.6การสมัครสมาชิกสําเร็จ Username สําหรับนักเรียน 2 รูปที่ 1.2.5 การ Login เขาใชงาน 3 รูปที่ 1.2.6 แสดงชื่อที่เขาระบบ 3 รูปที่ 1.2.7 แสดงชื่อที่เขาระบบพรอมกับสถานะของผูใช 3 รูปที่ 1.2.8 การออกจากระบบ 3 รูปที่ 1.4.1 การแกไขขอมูลสวนตัว 4 รูปที่ 3 เมนูแฟมสะสมงาน 7 รูปที่ 3.1 แสดงหนาแจงเตือนเมื่อไม Loginเขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน 7 รูปที่ 3.2แสดงหนา Login เขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน 7 รูปที่ 3.1.1 แกไขขอมูลพื้นฐานขอความสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน 8 รูปที่ 3.1.2กรอกขอมูลพื้นฐาน 8 รูปที่ 3.1.3ขอมูลพื้นฐานสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน 8 รูปที่ 3.1.4แสดงการเพิ่มรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน 9 รูปที่ 3.1.5แสดงรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน 9 รูปที่ 3.1.6แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน 10 รูปที่ 3.1.7แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน 10
  • 6. 2 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 3.1.8เมนูการแกไข 11 รูปที่ 3.1.9แสดงการแกไขขอมูลสวนตัว 11 รูปที่ 3.1.10 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน 12 รูปที่ 3.1.11 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน 12 รูปที่ 3.2.1เรียกใชเมนูประวัติสวนตัว 13 รูปที่ 3.2.2การเพิ่มแฟมขอมูลสวนตัว 13 รูปที่ 3.2.3แสดงการเพิ่ม/แกไข/ลบ ปของกิจกรรมของแฟมประวัติสวนตัว 13 รูปที่ 3.3.1เรียกใชเมนูแฟมสะสมผลงาน 14 รูปที่ 3.2.2เพิ่มขอมูลแฟมผลงาน 14 รูปที่ 3.3.3แสดงการจัดการแฟมจัดเก็บผลงาน 14 รูปที่ 3.4.1เรียกใชเมนูกระดานขาว 15 รูปที่ 3.4.2การตั้งประเด็นใหม 15 รูปที่ 3.4.3 การตั้งประเด็น 16 รูปที่ 3.4.4 การตั้งประเด็น 16 รูปที่ 3.5.1เมนูกระดานขาว 17 รูปที่ 3.5.2 แสดงการเพิ่มอัลบั้มภาพ 17 รูปที่ 3.5.3 แสดงการเพิ่มรูปภาพในอัลบั้ม 17 รูปที่ 3.5.4 แสดงหนาของอัลบั้มภาพ 18 รูปที่ 3.6.1การเรียกใชเมนู 19
  • 7. 3 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 3.6.2 แสดงหนาของกลองจดหมาย 19 รูปที่ 3.6.3 แสดงหนาของการสรางจดหมาย 20 รูปที่ 3.6.4 แสดงหนาของการเลือกผูสง 20 รูปที่ 3.6.5 แสดงหนาของขอความที่สงมาถึงผูใช 20 รูปที่ 3.6.6แสดงหนาของเนื้อหาขอความ 20 รูปที่ 3.7.1 คนหาสมาชิก 21 รูปที่ 3.8.1 แสดงหนาของสมุดบันทึก 21 รูปที่ 3.8.2การเพิ่มเนื้อหา 21 รูปที่ 3.9.1 แสดงการจัดการแบบสํารวจความคิดเห็น 22 รูปที่ 3.10.1 แสดงขาวจากหนาหลัก 22 รูปที่ 3.11 แสดงลิงคที่เกี่ยวของ 23 รูปที่ 3.12แสดงสถิติผูเขาชม 23 รูปที่ 3.13.1 แสดงกลองฝากขอความ 24 รูปที่ 3.13.2 แสดงหัวขอดาวนโหลด 24 รูปที่ 3.13.3 แสดงขอความโหวต 24 รูปที่ 3.13.4 แสดงหัวขอกระดานขาว 25 รูปที่ 3.13.5 แสดงภาพภายในอัลบั้ม 25 รูปที่ 3.13.6 แสดงประวัติสวนตัว 25 รูปที่ 4.1.1 ในสวนของวิชาที่ทานสอน 26
  • 8. 4 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 4.1.2 การเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน 26 รูปที่ 4.1.3 หนาการเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน 27 รูปที่ 4.1.4 รายวิชาที่ทานสอน 27 รูปที่ 4.2.1 จัดการรายวิชาที่ทานสอน 28 รูปที่ 4.2.2 การสรางโฟลเดอร 28 รูปที่ 4.2.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทโฟลเดอร 28 รูปที่ 4.3.1 การสรางไฟล 29 รูปที่ 4.3.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทไฟล 29 รูปที่ 4.3.3 การเพิ่มเปนสื่อเปนภาพและวีดีโอ 29 รูปที่ 4.3.4 การแตกไฟล .zip 30 รูปที่ 4.3.5 แสดงหนาขอความ 30 รูปที่ 4.4.1 การสรางไฟลประเภท Embed Code 31 รูปที่ 4.4.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code 31 รูปที่ 4.4.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code 31 รูปที่ 4.5.1 การสรางขอความ 32 รูปที่ 4.6.1 เครื่องมือWIRIS editor 33 รูปที่ 4.6.2 การใชเครื่องมือ WIRIS editor 33 รูปที่ 4.6.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทขอความ 34 รูปที่ 4.7.1 การสรางลิงคสําหรับ เว็บไซต 35
  • 9. 5 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 4.7.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทลิงคสําหรับเว็บไซต 35 รูปที่ 4.8.1 การสรางการบาน 36 รูปที่ 4.8.2 สรางเนื้อหาประเภทการบาน 36 รูปที่ 4.9.1 การสรางการบาน 37 รูปที่ 4.9.2 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ 37 รูปที่ 4.9.3 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ 37 รูปที่ 4.9.4 สรางคําถามใหม 38 รูปที่ 4.9.5 การสรางชุดคําถามใหม 38 รูปที่ 4.9.6 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบเลือกตอบ 39 รูปที่ 4.9.7 ตัวอยางการสรางคําถามแบบเลือกตอบ 39 รูปที่ 4.9.8 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบคําตอบมากกวา 1 คําตอบ 40 รูปที่ 4.9.9 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด 41 รูปที่ 4.9.10 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด 41 รูปที่ 4.9.11 ตัวอยางการสรางคําตอบลวง 42 รูปที่ 4.9.12 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบจัดเรียงลําดับคําตอบ 42 รูปที่ 4.9.13 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบเติมคําในชองวาง 43 รูปที่ 4.9.14 ตัวอยางการเพิ่มชุดคําตอบเขาไปในขอสอบ 43 รูปที่ 4.9.15 เพิ่มขอสอบเขาไปแลว 44 รูปที่ 4.9.16 การกําหนดคะแนนขอสอบ 44
  • 10. 6 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 4.9.17 แสดงตัวอยางรายละเอียดขอสอบ 45 รูปที่ 4.9.18 คลังขอสอบ 45 รูปที่ 4.9.19 ชื่อกลุมทดสอบ 46 รูปที่ 4.9.20 การสรางกลุมขอสอบใหมเพิ่มเขามา 46 รูปที่ 4.9.21 แสดงการเพิ่มสําเร็จ 47 รูปที่ 4.9.22เลือกหากลุมขอสอบ 47 รูปที่ 4.9.23 นักเรียนยังทําขอสอบไมได 47 รูปที่ 4.9.25 ดูมุมมองของนักเรียน 48 รูปที่ 4.9.26 ขอสอบมุมมองนักเรียน 48 รูปที่ 4.10.1 การจัดการรีเซตการสอบ 49 รูปที่ 4.10.2 เลือกกลุมนักเรียน  49 รูปที่ 4.10.3 รายชื่อผูเรียนในกลุมทั้งหมด 49 รูปที่ 4.10.4 ยืนยันการลบ 49 รูปที่ 4.11.1 เลือกไฟลจากคลัง 50 รูปที่ 4.11.2 เลือกไฟลจากคลัง 50 รูปที่ 4.11.3 การอัพโหลดไฟลเขาไปในคลังขอมูล 50 รูปที่ 4.12.1 การดูคะแนนสอบของนักเรียน 51 รูปที่ 4.12.2 รายละเอียดคะแนนของนักเรียน 51 รูปที่ 4.12.3การดูคะแนนแบบกราฟของนักเรียน 52
  • 11. 7 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 4.12.4 แกไขคะแนนเต็มของรายวิชานี้ 52 รูปที่ 4.12.5 แกไขระดับคะแนน 53 รูปที่ 4.12.6 การสงออกคะแนน 53 รูปที่ 4.13.1 สถิติการทําขอสอบ 54 รูปที่ 4.13.2 แบบรายบุคคลสามารถเลือกนักเรียนเพื่อดูได 54 รูปที่ 4.13.3 แบบภาพรวมในการทําขอสอบ 54 รูปที่ 4.14.1 สถิติการเขาใชงาน 55 รูปที่ 4.14.2 รายละเอียดการเขาใชงานบุคคล 55 รูปที่ 4.15 การเพิ่มผูสอน 55 รูปที่ 4.16 คนหาผูเรียน 56 รูปที่ 4.17 การตรวจสอบผูลงทะเบียนในรายวิชา 56 รูปที่ 4.18 การแกไขรายละเอียดวิชา 57 รูปที่ 4.19 การสรางขาวประชาสัมพันธ 57 รูปที่ 4.20 การสรางปฏิทินประจําวิชา 58 รูปที่ 4.21.1 การเพิ่มหัวขอประเมินการสอน 58 รูปที่ 4.21.2 การใสรายละเอียดแบบประเมินการสอน 58 รูปที่ 4.21.3 การสรางหัวขอแบบประเมิน 58 รูปที่ 4.22.1 การเพิ่มหมวดการประเมิน 59 รูปที่ 4.22.2 เพิ่มเนื้อหาแบบประเมิน 59
  • 12. 8 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 4.22.3 การเพิ่มแบบสอบถามยอยลงในหมวด 59 รูปที่ 4.22.3 แบบสอบถามยอยแบบขอความ 59 รูปที่ 4.22.4 แบบสอบถามยอยแบบเลือกตอบไดเพียงขอเดียว และแบบหลายขอ 60 รูปที่ 4.22.5 แบบประเมินการสอน 60 รูปที่ 4.23 การตั้งประเด็นของกระดานสนทนา 61 รูปที่ 4.24 ตัวอยางชองสนทนาออนไลน 62 รูปที่ 4.25 สนทนาออนไลน 62 รูปที่ 4.26.1 คนหาสื่อประสมที่ตองการใชงาน 63 รูปที่ 4.26.2 การโหลดสื่อประสม 63 รูปที่ 5.1 1 การเขาสูระบบ MMS 65 รูปที่ 5.1.2 หนาของระบบ MMS 65 รูปที่ 5.2.1 กระดานขาวประจําศูนยขอมูล 66 รูปที่ 5.2.2 แสดงหัวขอประเด็นตาง ๆ 66 รูปที่ 5.2.3แสดงผลการคนหา 67 รูปที่ 5.2.4 แสดงหนาการตั้งประเด็น 67 รูปที่ 5.2.5ผลการตั้งประเด็นใหม 67 รูปที่ 6.1 ระบบหองสมุดเสมือน 68 รูปที่ 6.2.1แสดงผลการคนหาแบบทั่วไป 69 รูปที่ 6.2.2 แสดงรายละเอียดเพิ่มเติม 69
  • 13. 9 สารบัญภาพ รูปที่ หนา รูปที่ 6.3.1 แสดงรายละเอียดการคนหาแบบละเอียด 70 รูปที่ 6.3.2 แสดงผลการคนหาแบบละเอียด 70 รูปที่ 6.4.1 ระบบ e-Library & MMS 71 รูปที่ 6.4.2 แสดงสถิติการใชงานแบงตามหมวดหมู 71 รูปที่ 6.4.3 แสดงรายละเอียดของหมวดเบ็ดเตล็ด 72 รูปที่ 6.4.4 แสดงรายละเอียดของหัวขอบรรณานุกรม 72
  • 14. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 1 คูมือการใชงานระบบOBECLMS 1. ระบบ USER จะแสดงสวนจัดการเกี่ยวกับสมาชิกภายในระบบทั้งหมด ไมวาจะเปน การสมัครสมาชิก คนหา สมาชิกแกไขสิทธิ์สมาชิก ตางถูกจัดการดวยสวนนี้ทั้งหมด 1.1 การสมัครสมาชิกสามารถทําไดโดยคลิก “เขาสูระบบ” มุมบนขวามือ ดังรูปที่ 1.1.1 รูปที่ 1.1.1 เขาสูระบบ เมื่ อ คลิ ก เข า สู ร ะบบแล ว จะเข า สู ห น า ต า งเข า สู ร ะบบ ให ค ลิ ก “สมั ค รสมาชิ ก ใหม ” เพื่ อ สมัครสมาชิก ดังรูปที่ 1.1.2หนาตางสมัครสมาชิกจะแสดงขึ้นมา รูปที่ 1.1.2 คลิกปุมสมัครสมาชิกใหมเพื่อทําการสมัคร พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 15. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 2 การสมัครUsername สําหรับอาจารย ในสวนนี้เปนเรื่องของการจัดการเกี่ยวกับสมาชิกภายในระบบทั้งหมด ไมวาจะเปนการสมัคร สมาชิก คนหาสมาชิกแกไขสิทธิ์สมาชิก ตางถูกจัดการดวยสวนนี้ทั้งหมด การสมัครสมาชิกของอาจารย รูปที่ 1.1.3 สมัครสมาชิก เมื่อสมัครสมาชิกเรียบรอยแลวจะปรากฏขอความดังรูปที่ 1.1.4 รูปที่ 1.1.4 การสมัครสมาชิกสําเร็จ Username สําหรับอาจารย พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 16. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 3 1.2 การ Login เขาสูระบบ การ Login ใชงานสําหรับอาจารย เมื่อคลิก “เขาสูระบบ” มุมบนขวามือ จะเจอหนาตางเขาสูระบบ ใส ชื่อผูใช รหัสผาน และปอนรหัส ลับในสวนของรหัสลับนี้เพื่อปองกันจากผูไมหวังดีที่จะเขามาเจาะระบบทางการล็อกอิน เรียกวา SQL Injection โดยระบบจะสรางรหัสขึ้นมา 5 ตัวแสดงขึ้น ใหพิมพตามที่ชองปอนรหัสลับ โดยพิมพใหถูกตอง แลวคลิก ดังรูปที่ 1.2.1 รูปที่ 1.2.1 การ Login เขาใชงาน เมื่อเขาสูระบบแลว ระบบจะแสดงขอความตอนรับ ชื่อ และสถานะของผูใชใหทราบวา ผูใชเขา ระบบดวยชื่อและสถานะอะไร ดังรูปที่ 1.2.2 รูปที่ 1.2.2 แสดงชื่อที่เขาระบบ รูปที่ 1.2.3 แสดงชื่อที่เขาระบบพรอมกับสถานะของผูใช การออกจากระบบทําไดโดยคลิก จะมีหนาตางแสดงขอความออกจากระบบ รูปที่ 1.2.4 การออกจากระบบ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 17. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 4 1.3 แกไขขอมูลสวนตัว จะแสดงการแกไข เพิ่มขอมูลสวนตัวของแตละผูใชงาน คลิกปุม เมื่อแกไขประวัติ สวนตัวเรียบรอยแลว คลิก “อัพเดตประวัติสวนตัว” ดังรูปที่ 1.4.1 รูปที่ 1.4.1 การแกไขขอมูลสวนตัว พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 18. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 5 1.4 การเปลี่ยนภาษาที่หนาแสดงผล โดยเว็บไซตจะสามารถเปลี่ยนไดถึงสองภาษาคือ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จะอยูที่มุมซาย บนของเว็บโดยถาเปนระบบนี้จะเปลี่ยนภาษาในสวน ของแทบเมนูดานขางและหัวขอหลัก  ถาตองการเปลี่ยนภาษาเปนภาษาอังกฤษ ใหคลิกที่รูป  ถาตองการเปลี่ยนภาษาเปนภาษาไทย ใหคลิกที่รูป  ถาตองการซอนหรือแสดงภาพแบนเนอรที่เปนแฟลตใหคลิกที่ไอคอนรูป พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 19. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 6 2.ระบบCMS อาจารยจะไมสามารถจัดการในสวนนี้ได สวนนี้เฉพาะผูดูแลระบบจัดการเทานั้นระบบ CMS เปน ระบบที่ใชในการบริหารจัดการขอมูลพื้นฐานตาง ๆ ของเว็บไซต แตถามีการใหสิทธิ์ในการจัดการสวนนี้ จากผูดูแลระบบก็จะสามารถ จัดการภาพกิจกรรม ผลงานของเรา และการเพิ่มขาวประสาสัมพันธตางๆ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 20. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 7 3.ระบบแฟมสะสมงาน(Portfolio) สวนนี้เปนการเขาใชงานในสวนของการจัดการขอมูลพื้นฐานสวนตัวของผูใช ดวยการเขาใชงาน การสูเขาระบบแฟมสะสมผลงานนั้นทุกครั้งจําเปนจะตองการปอนชื่อผูใช และรหัสผาน ซึ่งระบบLoginนั้น ในสวนนี้จะมีเมนูอยูที่ดานขวามือของผูใช ดังรูปที่ 3 รูปที่ 3 เมนูแฟมสะสมงาน กอนที่จะเขาไปจัดการแฟมสะสมผลงานของตนเองหรือเขาชมของคนอื่นไดนั้น ตองทําการ Login เขาสูระบบกอน ถาหากยังไมไดปอนชื่อเขาระบบ ระบบจะทําการแจงเตือนเพื่อใหทําการ Login กอนเขา ระบบดังรูปที่ 3.1 รูปที่ 3.1 แสดงหนาแจงเตือนเมื่อไม Loginเขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน การ Login เขาใชงาน มีรูปแบบเดียวกับการLogin เขาสูระบบระบบเว็บไซดดังรูปที3.2 ่ รูปที่ 3.2แสดงหนา Login เขาสูระบบของแฟมสะสมผลงาน เมื่อเขาสูระบบแฟมสะสมผลงานแลว จะปรากฏสวนประกอบของระบบประกอบโมดูลตาง ๆ ดังนี้ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 21. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 8 3.1 ขอมูลพื้นฐาน เปนสวนที่แสดงขอมูลของผูใชงาน ซึ่งผูใชงานเองสามารถแกไขขอมูลสวนนี้ไดโดยการแกไข ขอความสวนหัวและสวนทายของแฟมสะสมผลงาน ดังนี้ การแกขอมูลสวนหัวของขอมูลพื้นฐาน เลือก ที่อยูในสวนหัวของระบบแฟมสะสมผลงานเพื่อแกไขขอมูลพื้นฐาน ดังรูป รูปที่ 3.1.1 แกไขขอมูลพื้นฐานขอความสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน กรอกขอมูลพื้นฐานที่ตองการจะแกในสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน จากนั้นเลือก ดังรูป รูปที่ 3.1.2กรอกขอมูลพื้นฐาน ขอมูลสวนหัวของแฟมสะสมผลงานที่ทําการแกไข รูปที่ 3.1.3ขอมูลพื้นฐานสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 22. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 9 การจัดการรูปภาพสวนหัว สวนนี้เปนการตกแตงแฟมสะสมผลงานของผูใช โดยการเพิ่มเติมรูปภาพที่ผูใชตองการในสวนหัว ของแฟมสะสมผลงาน และพื้นหลังของแฟมสะสมผลงานโดยการนําเขารูปภาพจากภายนอกโดยเลือก เลือกรูปที่ตองการลงในสวนของการเพิ่มรูปภาพจากนั้นเลือก ดังรูป รูปที่ 3.1.4แสดงการเพิ่มรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน รูปที่ 3.1.5แสดงรูปสวนหัวของแฟมสะสมผลงาน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 23. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 10 การจัดการรูปภาพพื้นหลัง สวนนี้เปนการตกแตงแฟมสะสมผลงานของผูใช โดยการเพิ่มเติมรูปภาพที่ผูใชตองการในสวนหัว ของแฟมสะสมผลงาน และพื้นหลังของแฟมสะสมผลงานโดยการนําเขารูปภาพจากภายนอกโดยเลือก เลือกรูปที่ตองการลงในสวนของการเพิ่มรูปภาพจากนั้นเลือก ดังรูป รูปที่ 3.1.6แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน 2 รูปที่ 3.1.7แสดงการเพิ่มรูปพื้นหลังของแฟมสะสมผลงาน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 24. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 11 แกไขขอมูลสวนตัว สวนนี้เปนสวนที่ผูใชสามารถแกไขขอมูลสวนตัวตาง ๆ ของผูใชไดเอง โดยมีการใชงานที่งายและ สามารถแกไขไดเมื่อตองการ ไมจําเปนตองรอผูดูแลระบบ(Admin) มีขั้นตอนดังนี้ เลือกหัวขอ ที่อยูดานลางของรูป ดังรูปรูปที่ 3.1.8 รูปที่ 3.1.8เมนูการแกไข หนาตางการแกไขขอมูลสวนตัว ดังรูป สวนที่ 1 สวนที่ 2 สวนที่ 3 3 สวนที่ 4 รูปที่ 3.1.9แสดงการแกไขขอมูลสวนตัว จากรูปที่ 3.1.9ขอมูลสวนตัวประกอบดวยสวนตาง ๆ ดังนี้ สวนที่ 1. ชื่อ-นามสกุล และรหัสผาน (ผูใชสามารถเปลี่ยนรหัสผานได) สวนที่ 2. ขอมูลทั่วไป – วันเดือนปเกิด เพศ ศาสนา สัญชาติ สวนที่ 3. ขอมูลที่ติดตอ – ที่อยู อีเมล หมายเลขโทรศัพท MSN HI5 สวนที่ 4. การแกไขรูปภาพ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 25. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 12 เปลี่ยนหนากาก สวนนี้เปนสวนที่ใหผูใชสามารถเปลี่ยนรูปแบบของแฟมสะสมงาน ซึ่งจะมีรูปแบบใหเลือก 10 รูปแบบ โดยใหเลือกรูปแบบที่ตองการ ดังรูปที่ 3.1.10 รูปที่ 3.1.10 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน เมื่อไดรูปแบบที่ตองการแลวเลือก รูปแบบของ แฟม จะ เปลี่ยนไปตามหนากากที่ ผูใชเลือกดังรูปที่ 3.1.11 รูปที่ 3.1.11 แสดงการเปลี่ยนหนากากของแฟมสะสมผลงาน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 26. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 13 3.2 แฟมประวัติ เปนสวนของการเก็บรายละเอียดประวัติ ของผูใชงาน ซึ่งประกอบดวย ประวัติการศึกษา ดูงาน ประวัติการทํางาน ประวัติการหยุดงาน ประวัติการอบรม และภารกิจที่ไดรับมอบหมายผูใชสามารถใส ขอมูลในแตละหัวขอไดโดยเลือก ที่อยูดานบนดังรูปที่ 3.2.1  รูปที่ 3.2.1เรียกใชเมนูประวัติสวนตัว เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางประวัติสวนตัว เลือก ดังรูปที่ 3.2.2 รูปที่ 3.2.2การเพิ่มแฟมขอมูลสวนตัว เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางประวัติสวนตัว ใหผูใชเพิ่ม ป พ.ศ. ที่จะบันทึกขอมูลดังรูป แลว เลือก เพื่อเพิ่มขอมูล ดังรูปที่ 3.2.3 รูปที่ 3.2.3แสดงการเพิ่ม/แกไข/ลบ ปของกิจกรรมของแฟมประวัติสวนตัว เมื่อผูใชงานเพิ่มป พ.ศ. เรียบรอยแลว ระบบจะแสดงขอมูลดังรูปที่ 7.3 ผูใชงานสามารถจัดการ ขอมูลที่มีโดยการเลือกสัญญาลักษณดงนี้ ั คือ การแกไขขอมูล คือ ลบขอมูล / คือ แสดง / ซอน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 27. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 14 3.3 แฟมจัดเก็บผลงาน เปนสวนที่ให ผูใชนําผลงานตาง ๆ ของตนเองขึ้นไปเก็บไว อยางเปนหมวดหมูโดยที่ ผูใชสามารถ เลือกใหแสดงหัวขอตาง ๆได แกไขขอมูล และลบขอมูลได โดยมีวิธีการดังนี้ผูใชสามารถใสขอมูลในแตละ หัวขอไดโดยเลือก ที่อยูดานบนดังรูป3.3.1 รูปที่ 3.3.1เรียกใชเมนูแฟมสะสมผลงาน เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางแฟมสะสมผลงานให เลือก ระบบจะเปด หนาตางในการเพิ่มขอมูล ผูใชงานสามารถกําหนดชื่อหัวขอหลัก จากนั้นเลือก ดังรูป 3.2.2 รูปที่ 3.2.2เพิ่มขอมูลแฟมผลงาน ภายในหัวขอหลัก ผูใชงานสามารถเพิ่ม/ Download ขอมูลยอยได และยังสามารถเลือกการจัดการ ขอมูลไดตามสัญลักษณ ดังรูปที3.3.3 ่ คือ การแกไขขอมูล คือ ลบขอมูล / คือ แสดง / ซอน คือ การเพิ่มเนื้อหา / หัวขอยอย รูปที่ 3.3.3แสดงการจัดการแฟมจัดเก็บผลงาน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 28. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 15 3.4 กระดานขาว เปนสวนที่ใหบุคคลทั่วไปสามารถเขามาแสดงความคิดเห็นตาง ๆ เกี่ยวกับแฟมสะสมผลงานได โดยการแสดงความคิดเห็นแตละครั้งระบบจะทําการเก็บ ชื่อผูแสดงความคิดเห็น ทั้งนี้ยังมีระบบกรองคํา หยาบเพื่อปองกันคําที่ไมสุภาพจากบุคคลภายนอกที่เขามาแสดงความคิดเห็น และหากกระทูใดแสดงความ คิด เห็ น ที่ไ ม เหมาะสม ผูใ ช สามารถทํ า การลบความคิ ด เห็ น นั้น ออกได ซึ่ ง มีวิ ธี ก ารจั ด การโดยเลื อ ก ที่อยูดานบนดังรูป3.4.1 รูปที่ 3.4.1เรียกใชเมนูกระดานขาว เมื่อเลือกแลวจะปรากฏหนาตางแฟมสะสมผลงานให เลือก รูปที่ 3.4.2การตั้งประเด็นใหม ระบบจะเปดหนาตางในการเพิ่มขอมูล ผูใชงานสามารถตั้งประเด็นใหมได พรอมทั้งสามารถแนบ เอกสารได เมื่อเพิ่มขอมูลแลว จากนั้นเลือก ดังรูปที่ 3.4.3 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 29. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 16 รูปที่ 3.4.3 การตั้งประเด็น รูปที่ 3.4.4 การตั้งประเด็น ภายในหัวขอหลัก ผูใชงานสามารถเลือกการจัดการขอมูลไดตามสัญลักษณ ดังรูปที3.4.4 ่ คือ การแกไขขอมูล คือ ลบขอมูล / คือ แสดง / ซอน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 30. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 17 3.5 อัลบั้มภาพ เปนสวนที่ให ผูใชงานนั้นสามารถที่จะเพิ่มอัลบั้มภาพ ของตนเองไดโดยไมจํากัด โดยมีรายละเอียด ดังนี้ เลือก ที่อยูดานบนดังรูปที่ 3.5.1 รูปที่ 3.5.1เมนูกระดานขาว เลื อ ก เพื่อ ทํ า การเพิ่ ม รู ป ที่ต อ งการ เมื่ อ เลือ กรู ป ที่ ตอ งการเรี ย บร อ ยแล ว เลื อ ก ขอมูลจะถูกบันทึกอัตโนมัติ เมื่อบันทึกขอมูลชื่อ อัลบั้ม เรียบรอย ระบบจะแสดงหนาตางใน การเพิ่มรูปภาพทันที ดังรูปที่ 3.5.2 รูปที่ 3.5.2 แสดงการเพิ่มอัลบั้มภาพ รูปที่ 3.5.3 แสดงการเพิ่มรูปภาพในอัลบั้ม พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 31. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 18 หลังจากสรางอัลบั้มภาพเสร็จแลว และอัพโหลดรูปแลว จะถูกแสดงดังรูปที่ 3.5.3 ซึ่งผูใชสามารถ จัดการขอมูลรูปภาพตามสัญลักษณดังนี้ คือ การแกไขขอมูล คือ ลบขอมูล / คือ แสดง / ซอน รูปที่ 3.5.4 แสดงหนาของอัลบั้มภาพ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 32. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 19 3.6 จดหมาย เปนสวนที่ผูใชงานสามารถที่จะสงขอความใหสมาชิกของแฟมสะสมผลงานไดเปนรายบุคคล และ สามารถสงภาพไปกับขอความได และมีกลองขอความสวนตัวที่สามารถดูขอความที่สงมาจากสมาชิกของ แฟมสะสมผลงาน ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ เลือก ที่อยูดานบนดังรูปที่ 3.6.1 รูปที่ 3.6.1การเรียกใชเมนู เมื่อเขามาที่ก ลองขอความมีก ารจัด การจดหมาย สรางจดหมายจดหมายทั้งหมด จดหมายใหม จดหมายอานแลว รายชื่อผูสงจดหมาย ลบขอจดหมายและมีก ารแจงเตือนจดหมายถึงจํานวนจดหมาย ทั้งหมด และจดหมายใหม สําหรับเจาของแฟมสะสมผลงาน(รูปที่ 3.6.1 หมายเลข2) รูปที่ 3.6.2 แสดงหนาของกลองจดหมาย การสงจดหมาย ทําการคลิก ที่สรางจดหมาย(รูปที่ 3.6.2หมายเลข1)->ทําการเลือกสมาชิก (รูปที่ 3.128 หมายเลข2) ->คนหาสมาชิก ->ทําการเลือกสมาชิกโดยถูกที่ชองใตรูป (รูปที่ 3.6.3 หมายเลข1) ->เมื่อ เลือกผูสงเสร็จแลวใหทําการคลิกที่กลับไปสงจดหมายที่อยูดานบน (รูปที่ 3.6.3 หมายเลข2) ->เขียนหัวขอ เรื่อง เลือกรูปภาพ เขียนจดหมาย->คลิกที่สงจดหมาย พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 33. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 20 1 รูปที่ 3.6.3 แสดงหนาของการสรางจดหมาย รูปที่ 3.6.4 แสดงหนาของการเลือกผูสง เมื่อขอความสงมาถึงครั้งแรกจะมีภาพ และเมื่ออานขอความแลว จะหายไป สามารถลบ ขอความไดโดยคลิกที่ ทําการอานขอความโดยคลิกที่ รูปที่ 3.6.5 แสดงหนาของขอความที่สงมาถึงผูใช รูปที่ 3.6.6แสดงหนาของเนื้อหาขอความ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 34. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 21 3.7 คนหาสมาชิก สําหรับใหผูใชงานสามารถคนหาสมาชิก ไดทั้ง 3 รูปแบบคือ คนหาสมาชิกทั้งหมด นักเรียน และ อาจารย โดยการใสคําคนหาหรือไมใสก็ได เมื่อไดรายชื่อสมาชิกแลว คลิกที่ หรือที่รูปภาพประจําตัว เพื่อเขาสูแฟมสะสมผลงานของผูใชคนอื่น รูปที่ 3.7.1 คนหาสมาชิก 3.8 สมุดบันทึก ผูใชสามารถเขียนขอความทีตองการใหผูที่เขามาอานแฟมสะสมผลงานอานได และสามารถนําโคด ภาพสไลด มาใสเพื่อทําภาพโชวได ดังรูปที่ 3.8.1 รูปที่ 3.8.1 แสดงหนาของสมุดบันทึก เพิ่มหมวดเนื้อหาผูใชสามารถเพิ่มหมวดเนื้อหาที่จะแสดงใหผูที่มาเยี่ยมชมไดเห็น โดยการพิมพที่ ชื่อหมวดเนื้อหาหลักและสามารถเพิ่มเนื้อหายอยภายในไดดังรูปที่ 3.8.2 รูปที่ 3.8.2การเพิ่มเนื้อหา พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 35. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 22 3.9 สํารวจความคิดเห็น เปนสวนที่จะใหเจาของแฟมสามารถเขามาตั้งคําถามตาง ๆ เพื่อใหบุคคลทั่วไปที่เขามาเยี่ยมชม แฟมผลงาน เขามาตอบคําถาม ซึ่งการทํางานของโมดูลจะเปน ขั้นตอนคือ สามารถสรางและจัดการ ใส เนื้อหาหรือคําถามตาง ๆ แสดงเนื้อหา ดังรูปที่ 3.9 รูปที่ 3.9.1 แสดงการจัดการแบบสํารวจความคิดเห็น 3.10 ขาวจากเว็บหลัก เปนการนําขาวจากระบบ CMS ที่เปนระบบหลักมาแสดง 4 ขาวลาสุดเพื่อใหเจาของแฟมสามารถดู ขาวจากระบบ CMS ลาสุดไดจากแฟมสะสมผลงานของตนเองได ดังรูปที่ 3.10 รูปที่ 3.10.1 แสดงขาวจากหนาหลัก พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 36. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 23 3.11 ลิงคที่เกี่ยวของ เปนสวนที่ให ผูใชสามารถใสลิงคตาง ๆ ที่เกี่ยวของหรือที่ตนสนใจ เขาไปในแฟมซึ่งลักษณะของ ลิงคสามารถใสเนื้อหาไดทั้งรูปภาพและขอความได โดยเลือก เพื่อเพิ่มขอมูลลิงคตางตาง ดังรูปที่ 3.11 รูปที่ 3.11 แสดงลิงคที่เกี่ยวของ 3.12 สถิติการเขาชม สถิติการเขาชมเปนสวนที่จะบอกรายละเอียดเกี่ยวสถิติการเขาชมแฟมผลงานในสวนของจํานวนผู เขาชมแฟมสะสมผลงานทั้งหมดและจํานวนของผูที่กําลังเยี่ยมชมขณะนั้นแสดงเนื้อหาดังรูปที3.12 ่ รูปที่ 3.12แสดงสถิติผูเขาชม พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 37. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 24 3.13 การใชงานระบบแฟมสะสมผลงาน สามารถที่จะเขาไปดูระบบแฟมสะสมของสมาชิกคนอื่นได โดยระบบคนหาสมาชิก การใชงาน ระบบแฟมสะสมผลงานของสมาชิกคนอื่นนั้น ผูใชงานสามารถใชงานไดดังนี้ ระบบฝากขอความผูใชสามารถฝากขอความใหกับเจาของแฟมสะสมผลงานได รูปที่ 3.13.1 แสดงกลองฝากขอความ ระบบแฟมจัดเก็บผลงาน ผูใชสามารถดาวนโหลดขอมูลของแฟมสะสมผลงานได  รูปที่ 3.13.2 แสดงหัวขอดาวนโหลด ระบบโหวต ผูใชโหวตใหกับเจาของแฟมสะสมผลงานได รูปที่ 3.13.3 แสดงขอความโหวต พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 38. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 25 ระบบกระดานขาวผูใชเขียนตอบขอความในกระดานขาวของเจาของแฟม สะสมผลงานได รูปที่ 3.13.4 แสดงหัวขอกระดานขาว ระบบอัลบั้ม ผูใชสามารถดูภาพในอัลบั้มของเจาของแฟมสะสมผลงานได รูปที่ 3.13.5 แสดงภาพภายในอัลบั้ม ระบบประวัติ ผูใชสามารถดูประวัติเจาของแฟมสะสมผลงานได รูปที่ 3.13.6 แสดงประวัติสวนตัว พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 39. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 26 4.ระบบLMS LMS อาจารย สวนของอาจารยจะสามารถจัดการในสวนนี้ไดเชน เพิ่มรายวิชาที่สอน สรางขอสอบ เพิ่มสื่อใน รายวิชา ตัดเกรดจากคะแนนนักเรียนที่ลงทะเบียนในรายวิชา รีเซตขอสอบและรายชื่อนักเรียนได เปนตน 4.1. จัดการกับระบบการใหบริการ จะแสดงรายวิชาที่ ครู – อาจารย ไดสอนโดย ครู – อาจารย จะมีสิทธิ์จัดการในสวนนี่ คลิก “รายวิชาที่ทานสอน” ดังรูปที่ 4.1.1 รูปที่ 4.1.1 ในสวนของวิชาที่ทานสอน การเพิ่มรายวิชาที่สอน หนาตางจะแสดงรายละเอียดรายวิชาที่สอนโดยหนานี้จะไมไอคอนสําหรับจัดการไดและสามารถ คลิกเขารายวิชาที่เคยเพิ่มไดแลวยังสามารถเพิ่มวิชาที่สอนไดโดยคลิกที่เพิ่มรายวิชาดังรูป รูปที่ 4.1.2 การเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน ในหนานี้จะแสดงรายละเอียดของวิชาที่เราจะเพิ่มเขาไปในระบบ ดังรูปที่ 4.1.3 พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 40. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 27 รูปที่ 4.1.3 หนาการเพิ่มรายวิชาที่ทานสอน เราจะเห็นรายวิชาที่เราไดเพิ่มเขามา จากนั้นคลิก “ชื่อวิชาที่เราตองการ” ดังรูปที่ 4.1.4 รูปที่ 4.1.4 รายวิชาที่ทานสอน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 41. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 28 4.2. การจัดการรายวิชา นั้นจะมีรายละเอียดของวิชาเชน สวนของการสรางเนื้อหาโดยการนําสื่อตางๆเขามา เพื่อใชใน การเรียนการสอนการใหการบาน-สงการบานนักเรียน มีการสอบในระบบOnline แบบประเมิน และมีกระดานสนทนา เปนตน ดังรูปที่ 4.2.1 รูปที่ 4.2.1 จัดการรายวิชาที่ทานสอน การสรางโฟลเดอร เพื่อที่จะไดเก็บเนื้อหาไดอยางเปนหมวดหมู คลิกที่ “รูปโฟลเดอร”ดังรูปที่ 4.2.2 รูปที่ 4.2.2 การสรางโฟลเดอร จากนั้นใหเราใสชอโฟลเดอรและคําอธิบาย เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูปที่ 4.2.3 ื่ รูปที่ 4.2.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทโฟลเดอร พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 42. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 29 4.3. การจัดการสรางไฟล เพื่อใชในการแนบไฟลตางๆ ทั้งไฟลรูปภาพ ไฟลเอกสาร วีดีโอ เพลง แฟลต จนไปถึงการแนบ ฐานขอมูลก็ได เพื่อใชในการเรียนการสอนคลิกที่ “รูปไฟล”ดังรูปที่ 4.3.1 รูปที่ 4.3.1 การสรางไฟล จากนั้นใหเราใสรายระเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูปที่ 4.3.2 รูปที่ 4.3.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทไฟล การ Up loadZIP สวนนี้แสดงขอมูลในการอัพโหลดขอมูล หรือ เพิ่มขอมูลโดยใชเอกสารที่มีนอกจากการเพิ่มเปน สื่อเปนภาพและวีดีโอยังสามารถเพิ่มเปนนามสกุล . Zip รูปที่ 4.3.3 การเพิ่มเปนสื่อเปนภาพและวีดีโอ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 43. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 30 เลือกชนิดที่ตองการเพิ่มขอมูลถาหากเลือกขอมูลเปน Zip จะมีการใหเลือกไฟลเริ่มตนใน การแตกไฟล .zip ดังรูป รูปที่ 4.3.4 การแตกไฟล .zip เลือกเอกสารที่ใชนามสกุล zip ในชองไฟลที่จะอัพโหลด และเติมขอมูลใหครบจากนั้นกด เมื่อเพิ่มขอมูลเรียบรอยระบบจะแสดงหนาขอความ ดังรูปที่ 4.3.5 รูปที่ 4.3.5 แสดงหนาขอความ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 44. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 31 4.4. การสรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code ในสวนนี้สามารถนําเนื้อหาในสวนที่เปนโคดมาใส เพื่อใชในการเรียนการสอนคลิก“รูป ไฟลEmbed” ดังรูป รูปที่ 4.4.1 การสรางไฟลประเภท Embed Code จากนั้นใหเราใสรายระเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป รูปที่ 4.4.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code ตัวอยางการแสดงผลของ Embed Code และจะปรากฏโคดดานลางเพื่อนําไปเผยแพรที่อื่นได ดังรูป รูปที่ 4.4.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทEmbed Code พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 45. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 32 4.5. การสรางขอความ เพื่อใชในการอธิบายตางๆในสวนของรายวิชานี้ที่เปดสอนใหผูที่ลงทะเบียน ในรายวิชานี้ไดรับทราบ เพือใชในการเรียนการสอนคลิกที่ “รูปขอความ”ดังรูป ่ รูปที่ 4.5.1 การสรางขอความ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 46. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 33 4.6. เครื่องมือ WIRIS editor เปนเครื่องมือสําหรับการใสอักขระพิเศษ ทางคณิตศาสตรเชน รากเมตริก เลขยก กําลัง เปนตนซึ่งจะสามารถใชในสวนของตัวขอสอบไดหรือสวนอื่นๆที่มีแทบเมนู Editorโดยผูใชจะตองมี การดาวนโหลดจาวาในเครื่องดวยจึงจะสามารถใชในสวนสัญลักษณนี้ได หากในเครื่องยังไมมีจาวาก็ สามารถดาวนโหลดโปรแกรมจาวาไดฟรีจากลิงคhttp://www.java.com/en/download/index.jsp เมื่อตองการ ใชสัญลักษณตางๆทางคณิตศาสตรใหคลิกที่ไอคอนดังรูป รูปที่ 4.6.1 เครื่องมือWIRIS editor ตัวอยาง การใชเครื่องมือ WIRIS editorเลือกใสขอมูลที่ตองการ แลวคลิก “Accept”ดังรูป รูปที่ 4.6.2 การใชเครื่องมือ WIRIS editor พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 47. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 34 จากนั้นใสรายละเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป รูปที่ 4.6.3 สรางเนื้อหาวิชาประเภทขอความ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 48. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 35 4.7. การสรางลิงค เพื่อใชเปนสวนหนึ่งในการสอนโดยเปนขอมูลสําหรับตัวอยางในเว็บไซต การ สรางคลิกที่ “ลิงค” ดังรูปที่ 4.7.1 รูปที่ 4.7.1 การสรางลิงคสําหรับ เว็บไซต จากนั้นใหเราใสรายระเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป รูปที่ 4.7.2สรางเนื้อหาวิชาประเภทลิงคสําหรับเว็บไซต พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 49. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 36 4.8. การสรางการบาน เพื่อใชเก็บคะแนนของผูเรียนซึ่งสามารถสรางการบานใหนักเรียนสงทั้งเปน แบบงานเดี่ยวและงานกลุม สามารถกําหนดคะแนนได และสามารถกําหนดวันเริ่มสง วันหมดเขตได คลิกที่ไอคอนดังรูป รูปที่ 4.8.1 การสรางการบาน จากนั้นใหเราใสรายละเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มงาน/การบาน” ดังรูป รูปที่ 4.8.2 สรางเนื้อหาประเภทการบาน พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 50. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 37 4.9. การสรางขอสอบ เพื่อใชเก็บคะแนนของผูเรียนสามารถกําหนดคะแนนได โดยขอสอบ สามารถเลือกไดวาตองการเก็บคะแนนหรือไม ถาเก็บจะเก็บแบบไหน เก็บครั้งสุดทายหรือคะแนนเฉลี่ย สามารถเลือกจํานวนครั้งที่ใหสอบได กําหนดเวลาสอบได สามารถกําหนดวาเมื่อสอบเสร็จจะใหนักเรียนดู เฉลยหรือไม โดยขอสอบสามารถสรางไดโดยคลิกที่ “รูปขอสอบ”ดังรูป รูปที่ 4.9.1 การสรางการบาน จากนั้นใหเราใสรายละเอียด เสร็จแลวคลิก “เพิ่มขอมูล” ดังรูป รูปที่ 4.9.2 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ การใสแบบคําถามลงในชุดขอสอบ เลือกชุดขอสอบที่สราง ดังรูป รูปที่ 4.9.3 สรางเนื้อหาประเภทขอสอบ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 51. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 38 การสรางชุดขอสอบ เลือกสรางคําถามใหมทีละคําถาม โดยจะมีประเภทขอสอบหลายประเภทใหไดเลือกสรางตาม ตองการได ขั้นแรกก็ใหคลิกเขาไปยังชุดขอสอบที่ตองการจะสรางดังรูป รูปที่ 4.9.4 สรางคําถามใหม คําถามเพิ่มเขาไปขางใน แตการจะสรางคําถามเพิ่มไดในชุดขอสอบ ตองยังไมมีนักเรียนเขามาทํา การสอบ จึงจะสามารถจัดการขอสอบชุดนั้นได ดังรูป รูปที่ 4.9.5 การสรางชุดคําถามใหม ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้น โดยจะสามารถแนบไฟลรูปภาพประกอบ ไดเพื่อใหนักเรียนเขาใจขอสอบไดมากขึ้น สวนคํานวณของคําตอบ สามารถสรางตัวเลือกตอบไดตั้งแต 2 คําตอบ ถึง 5 คําตอบ ซึ่งคําตอบแตละขอก็ยังสามารถแนบไฟลรูปภาพประกอบไดเชนเดียวกัน ดังรูป พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 52. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 39 รูปที่ 4.9.6 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบเลือกตอบ หลังจากที่สรางคําถาม–ตอบเรียบรอย กดเลือกคําตอบที่ถูกตอง เสร็จแลวคลิก “สรางคําถาม” ดังรูป รูปที่ 4.9.7 ตัวอยางการสรางคําถามแบบเลือกตอบ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 53. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 40 ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบคําตอบมากกวาหนึ่ง(Multiple Correct Answer) โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้นจะแตกตางกับเลือกตอบตรงที่ขอสอบ  ประเภทนี้สามารถใหนักเรียนตอบคําถามไดมากกวา 1ขอ สวนคํานวณของคําตอบ สามารถสรางตัว เลือกตอบใชหรือไมใชไดตั้งแต 2 คําตอบ ถึง 5 คําตอบ ซึ่งคําตอบแตละขอก็ยังสามารถแนบไฟลรูปภาพ ประกอบ ดังรูป รูปที่ 4.9.8 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบคําตอบมากกวา 1 คําตอบ พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 54. คูมือการใชงานระบบสําหรับอาจารย 41 ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบถูก-ผิด (True/False) โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้น โดยจะมีคําถามยังสามารถแนบไฟลรูปภาพ ประกอบได ซึ่งคําตอบจะมีใหเลือกแค 2 อยางคือ ถูก กับ ผิดเทานั้น ดังรูป รูปที่ 4.9.9 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด ตัวอยางการสรางคําถามประเภทขอสอบแบบจับคู( Match the Pairs) โดยจะปรากฏฟอรมสําหรับการสรางขอสอบในชุดนั้น สวนคํานวณของคําตอบสามารถสรางตัว เลือกตอบไดตั้งแต2 คําตอบ ถึง 5 คําตอบและยังสามารถสรางขอสอบลวงไดอีกดวย ดังรูป รูปที่ 4.9.10 ตัวอยางการสรางชุดคําถามแบบขอสอบถูก-ผิด พัฒนาระบบโดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี