SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
พีรเดช ทองอําไพ*
       สารควบคุมการเจริญเติบโต หรือที่เรียกกันทั่วไปวา ฮอรโมน จัดเปนกลุมของสารที่กําลังไดรับ
ความสนใจอยางมากในปจจุบันนี้ เนื่องจากสามารถใชประโยชนไดกวางขวางและเห็นผลไดคอนขางเดนชัด
โดยมากใชในการติดผล เรง หรือชะลอการแก การสุก ซึ่งลักษณะตางๆ เหลานี้ถูกควบคุมโดยสารแตละชนิด
                         
แตกตางกันไป ดังนัน ถามีการเลือกใชไดอยางถูกตองก็จะทําใหเ ราสามารถควบคมการเตบโตของพชไดตาม
                  ้                                                        ุ     ิ      ื 
ตองการ
 

          เมื่อกลาวถึงฮอรโมนพืช (plant hormones) ก็เชื่อวาทุกทานคงเคยไดยินและรูจักวาเปนสารที่ใชฉีด
พนใหตนไมเ พอใหมการออกดอก ติดผลตามที่ตองการ แตโดยความจริงแลว คําวา ฮอรโมนพชนมความ
                 ่ื  ี                                                                         ื ้ี ี
หมายในเชิงวิชาการวา เปนสารอินทรียที่พืชสรางขึ้นเอง ในปริมาณนอยมาก แตมีผลในดานการสงเสริม
หรือยับยั้งการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายในตนพืชนั้นๆ ทั้งนี้ไมรวมพวกนํ้าตาลหรือสารอาหารทีเ่ ปน
อาหารพืชโดยตรง จะเห็นไดวาพืชสรางฮอรโมนขึนนอยมาก โดยมปรมาณเพยงพอทจะควบคมการเตบโต
                                                ้                  ี ิ      ี       ่ี        ุ        ิ
ภายในตนพืชนั้นๆ ดังนัน การสกัดสารฮอรโมนออกมาจากตนพืช เพอไปพนใหตนไมอนๆ จงเปนเรองยาก
                           ้                                       ่ื       ่ื ึ  ่ ื
และไมคุมคา จึงไดมีการคนควาและสังเคราะหสารตางๆ ซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมนธรรมชาติขึ้นมาใช
ประโยชนแทน เมือเปนเชนนี้ สารทีเ่ รานํามาฉีดพนใหตนพืชเพื่อใหเกิดลักษณะตามที่เราตองการนั้น จึงไม
                     ่
ใชฮอรโมนพืช แตจดเปนสารสังเคราะห ซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมน จึงไดมีการบัญญัติศัพททางวิชาการ
                         ั
ขึ้นมา วาสารควบคมการเจรญเตบโตของพช (plant growth regulators) ซึ่งมีความหมายถึงฮอรโมนพืชและ
                      ุ     ิ ิ          ื
สารสังเคราะห มีคุณสมบัติในการกระตุนยับยั้งหรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางสรีรวิ ทยาของพืชได

        การเติบโตของพืชในทุกขั้นตอนลวนแลวแตถูกควบคุมโดยฮอรโมนทั้งสิ ้น ไมวาจะเปนการงอก
ของเมล็ดจนกระทงตนตาย ดังนัน การใชสารสังเคราะหซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมนฉีดพนใหกับตนพื ชจง
                 ่ั        ้                                                                 ึ
เปนการเปลี่ยนระดับความสมดุลของฮอรโมนภายใน ทําใหตนพืชแสดงลักษณะตางๆ ออกมานอกเหนือการ
ควบคุมของธรรมชาติ แตกอนที่จะใชสารสังเคราะหเหลานี้ใหไดผลควรที่จะตองศึกษาคุณสมบตฮอรโมน
                                                                                     ัิ 
และสารสังเคราะหชนิดตางๆ โดยละเอียดเสียกอน

         สารควบคุมาการเจริญเติบโตแตละชนิดมีคุณสมบัติแตกตางกันไป ซึ่งสามารถแบงออกเปนกลุม
ยอยได 7 กลุมดวยกัน คือ

 *
     รองศาสตราจารย ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม
                                                                   ิ
1. ออกซน (auxins)
                ิ                 เปนกลุมของสารที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการขยายขนาดของเซลล (cell
enlargement) การแบงตัวของเซลลในแคมเบียม การขยายขนาดของใบ การเกิดราก การขยายขนาดของผล
ปองกันการหลุดรวงของใบ ดอก ผล ยับยั้งการแตกตาขาง ฮอรโมนทพชสรางขนกคอ ไอเอเอ (IAA) โดย
                                                                   ่ี ื  ้ึ ็ ื
สรางมากที่บริเวณปลายยอด ปลายราก ผลออน และบริเวณทีมเี นือเยือเจริญ (meristematic tissue) อยูมาก
                                                         ่ ้ ่
ปริมาณ ไอเอเอ ภายในเนื้อเยื่อพืชแตละสวนมีมากนอยแตกตางกันไป โดยจะมีอยูมากในสวนที่กําลงเจรญ
                                                                                              ั ิ
เติบโต การรักษาระดับปริมาณภายในเนื้อเยื่อพืชถูกควบคุมโดยระบบการสรางและการทําลายพรอมๆ กัน
ไป ถาเปนเนอเยอทกําลงเจรญเตบโตจะมการสรางมากกวาการทําลาย และในทางตรงกันขาม ในเนอเยอทมี
             ้ื ่ื ่ี ั ิ ิ           ี                                                  ้ื ่ื ่ี
อายุมากขึ้น จะมีการทําลายมากกวาการสราง




                                           ตัวอยางสารพวก ออกซิน (NAA)

              สารสังเคราะหที่จัดอยูในกลุมออกซิน ที่ใชกันมาก ไดแก

              เอ็นเอเอ (NAA)

              ไอบีเอ (IBA)

              4-ซีพีเอ (4-CPA)

              2,4 –ดี (2,4-D)

         2. จิ บเบอเรลลิน (gibberellins)                    เป  นสารที่ เกี่ ย วข  องกั บ การยื ดตัวของเซลล  (cell
elongation) ทําลายการพักตัวของพืช กระตุนการออกดอกของพืชบางชนิด และยับยั้งการออกดอกของพืช
บางชนิด สารกลุมนี้มีทั้งที่พืชสรางขึ้นเอง และเชื้อราบางชนิดสรางขึ้น ในปจจุบันพบจิบเบอเรลินทั้งหมด
102 ชนิด โดยททกชนดเรยกชอเหมอนกนคอ จิบเบอเรลลิน เอ หรือ จเี อ (gibberellin A) (GA) แตมีหมาย
                 ่ี ุ ิ ี ่ื ื ั ื
เลขตามหลังตั้งแต 1 ถึง 71 เชน จเี อ 3, จเี อ 4, จเี อ 7 (GA3, GA4, GA7) สาร จเี อ 3 เปนจบเบอเรลลนท่ีนํามาใช
                                                                                              ิ         ิ
มากทางการเกษตร โดยมีชื่อเรียกเฉพาะของสาร จเี อ 3 วา จิบเบอเรลลิกแอซิค (gibberellic acid) พืชสามารถ
สราง จีเอ 3 ไดโดยมปรมาณนอยมาก ซึ่ง จเี อ 3 ที่นํามาใชทางการเกษตรนั้น ไดมาจากการเพาะเลี้ยงเชื้อรา
                     ี ิ       
บางชนิดแลวสกดจเี อ 3 ออกมา เนื่องจากปจจุบันยังไมสามารถสังเคราะห จเี อ ไดดวยวิธีทางเคมี
             ั
ตัวอยางสารจิบเบอเรลลิน

        3. ไซโตไคนิน (cytokinins) เกี่ยวของกับการแบงเซลลของพืช ชะลอการแกชราและกระตุน
การแตกตาขาง พบมากในบริเวณเนื้อเยื่อเจริญและในคัพภะ (embryo) สวนใหญแลวไซโตไคนินมีการ
เคลื่อนยายนอย แตมีคุณสมบัติสํ าคัญในการดึงสารอาหารตางๆ มายังแหลงที่มีไซโตไคนินสะสมอยู
(cytokinin-induced translocation) ฮอรโมนที่พบในพืช ไดแก ซีอาติน (zeatin) สวนสารสังเคราะหที่อยูใน
กลุมไซโตไคนิน ไดแก บีเอพี (BAP)และไคเนติน (Kinetin)

     4. เอทิลีนและสารปลดปลอยเอทิลีน (ethylene and ethylene relasing
compounds) เอทิลีนเปนกาซชนิดหนึ่งและจัดเปนฮอรโมนพืช เนื่องจากพืชสรางขึ้นมาได โดยมผลควบ
                                                                                       ี
คุมการแกชรา การสุก รวมทังการออกดอกของพืชบางชนิด และเกี่ยวของกับการหลุดรวงของใบ ดอก ผล
                           ้
การเหลืองของใบ การงอกของหวพช และเมล็ดพืชบางชนิด เอทิลีนจะสรางมากในสวนของพืชที่กําลังเขาสู
                              ั ื
ระยะชราภาพ (senescence) เชน ในผลแกหรือใบแกใกลหลุดรวง เนื่องจากเอทิลีนเปนกาซ ดังนัน จึงฟุง
                                                                                             ้
กระจายไปไดทั่ว จึงไมมีการเคลื่อนยายเหมือนกับฮอรโมนในกลุมอื่นๆ สารอินทรียบางชนิดมีคุณสมบัติ
คลายเอทิลีน เชน อะเซทลีน (acetylene) โปรปลีน (propylene) ดังนั้น จึงอาจนําสารเหลานี้มาใชประโยชน
                       ิ
ทางการเกษตรไดเชนกัน ยกตัวอยางไดแกการใชอะเซทิลีนในการบมผลไม และเรงการออกดอกของ
สับปะรด เปนตน แตเนื่องจากวาสารที่กลาวมานี้เปนกาซ จึงมีความยุงยากในการใชและไมสามารถควบคุม
ความเขมขนไดแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชในแปลงปลูกพืช ดังนัน จึงไดมีการสังเคราะหสารบาง
                                                                        ้
ชนิด ซึ่งเปนของเหลวแตสามารถปลดปลอยหรือสลายตัวได กาซเอทิลีน ซึ่งไดแก เอทีฟอน (ethephon)

        สารเอทีฟอน จัดวาเปนสารที่นํ ามาใชประโยชนมากที่สุดในโลกชนิดหนึ่งและในปจจุบันใชกัน
อยางกวางขวางในอุตสาหกรรมสับปะรด โดยใชเพื่อบังคับใหสับปะรดออกดอกสมํ่าเสมอทั้งแปลง




                               ประโยชนของสารควบคมการเจรญเตบโต
                                               ุ      ิ ิ
5. สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช (plant growth retardants) สารกลุมนี้ไมจัด
เปนฮอรโมนพืช แตเ ปนสารสงเคราะหทงหมด มีคุณสมบัติสําคัญ คือ ยับยั้งการสรางหรือยับยั้งการทํางาน
                           ั       ้ั
ของฮอรโมนจบเบอเรลลนในพช จึงมีผลลดการยืดตัวของเซลล ทําใหปลองสั้น ใบหนา เขียวเขม กระตน
                ิ        ิ   ื                                                                ุ
การออกดอกของพืชบางชนิด และมีคุณสมบัติอื่นๆ ไดแก ทําใหพืชทนทานตอสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม
เชน รอนจัด เยนจด ดนแหง ดินเกลือ เพิ่มผลผลิตพืชบางชนิด เพิ่มการติดผลของพืชบางชนิด สารชะลอการ
                   ็ ั ิ 
เจริญเตบโตทสําคัญไดแก
        ิ     ่ี

           แอนซมดอล (ancymidol)
               ิ ิ

           คลอมควอท (chlormequat)
               ี

           แพกโคลบวทราโซล (paclobutrazol)
                  ิ

           เมพิควอทคลอไรด (mepiquat chloride)

       6. สารยบยงการเจรญเตบโต (plant growth inhibitors)
              ั ้ั     ิ ิ                                                 สารกลุมนี้มีหนาที่ในการ
ถวงดุลกับสารเรงการเติบโตพวกออกซิน จิบเบอเรลลิน และไซโตไคนิน เพื่อใหการเติบโตเปนไปอยางพอ
เหมาะพอดี สวนใหญมีหนาที่ยับยั้งการแบงเซลล และการเติบโตของเซลล ทําใหเกิดการพักตัว (dormancy)
และเกี่ยวของกับการหลุดรวงของอวัยวะพืช ฮอรโมนในกลุมนี้มีพบในพืชมีกวา 200 ชนด แตที่สําคัญที่สุด
                                                                                 ิ
และรูจักกันดีคือ เอบีเอ (ABA) (abscisic acid) ในทางการเกษตรมีการใชประโยชนจากสารกลุมนี้นอยมาก
อยางไรก็ตาม มีการใชสารสังเคราะหเพื่อประโยชนบางอยางเชน ยับยั้งการงอกของหัวมันฝรั่งและหอมหัว
ใหญ ระหวางการเก็บรักษา ใชแทนการเดดยอด (pinching) เพื่อกระตุนใหแตกตาขาง รวมทั้งยับยั้งการเติบ
                                        ็
โตทางกิ่งในซึ่งมีผลในการกระตุนดอกไดในพืชบางชนิด สารสังเคราะหที่สําคัญ ไดแก

           คลอฟลรนอล (chlorflurenol)
                ูี

           ไดกูแลก โซเดยม (dikegulac sodium)
                       ี

           มาเลอิก ไฮดราไซด (maleic hydrazide)

           ทไอบเี อ (TIBA)
            ี
7. สารอืนๆ (miscellaneous)
                ่                           เปนกลุมสารที่มีคุณสมบัติแตกตางจากทั้ง 6 กลุมที่กลาวมา
ขางตน สวนใหญใชเพื่อประโยชนเฉพาะอยาง เชน เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล ปองกนผลรวง ชวยในการ
                                                                              ั      
แบงเซลล อยางไรก็ตามยังจัดวามีประโยชนคอนขางนอยและการใชยังไมกวางขวาง ยกตัวอยางสารเหลานี้
ไดแก เออรโกสติม อโทนิก เปนตน

 ประโยชนของสารควบคมการเจรญเตบโต
                 ุ      ิ ิ
          สารควบคุมการเจริญเติบโตนํ ามาใชประโยชนไดกวางขวาง ทั้งทางดานการเพิ่มผลผลิต การผลิต
พืชนอกฤดู ลดแรงงานในการผลิตพืช เปนตน การใชสารใหไดผลตามที่ตองการนั้น จะตองทราบคุณสมบัติ
ของสารแตละชนิดและเลือกใชใหถูกกับวัตถุประสงคที่ตองการ จึงขอยกตัวอยางการใชประโยชนจากสาร
เหลานี้เพียงบางประการเพื่อใชเปนแนวทางในการผลิตพืชตอไป

        1. ออกซิน   คุณสมบัติที่สําคญของออกซนขอหนงคอ ความสามารถในการกระตนการเกิดราก
                                    ั       ิ       ่ึ ื                     ุ
และการเจรญของราก จงไดมการนําออกซินมาใชกับกิ่งปกชําหรอกงตอนของพชทวๆ ไป เพือเรงใหเกิดราก
           ิ       ึ  ี                               ื ่ิ     ื ่ั       ่
เร็วขึ้นและมากขึ้น




                                 การใชฮอรโมนชวยเรงรากของกิ่งปกชํา

        นอกจากนี้พืชบางชนิดออกรากไดยาก แตถามีการใชออกซินเขาชวยก็จะทํ าใหออกรากไดงายขึ้น
สารที่นิยมใชในการเรงรากคือ เอนเอเอ (NAA) และ ไอบีเอ (IBA) ซ่ึงท้ัง 2 ชนิดนีจดวาเปนออกซินอยาง
                                  ็                                               ้ั
ออน มีพิษตอพืชนอย รากที่เกิดขึ้นจากการใชสาร 2 ชนิดนี้จึงมักไมมีอาการผิดปกติ แตถาใชสารพวก 2,4-ดี
หรือ 4-ซีพีเอ ซึ่งมีฤทธิ์ของออกซินสูง จะทําใหรากผดปกติ คือกุดสั้น รากหนาเปนกระจุก ประโยชนของ
                                               ิ
ออกซินอีกขอหนึงคือ ใชปองกันผลรวงไดในพืชหลายชนิด เชน มะมวง มะนาว สม ลางสาด ขนน มะละกอ
                  ่                                                                         ุ
เนื่องจากออกซินมีคุณสมบัติยับยั้งการสรางรอยแยก (abscission layer) ในบริเวณขั้วผลได อยางไรก็ตาม
ออกซินไมสามารถยับยังการรวงของผลไดในบางกรณี เชน การรวงเนองจากโรคและแมลงเขาทําลาย การ
                       ้                                        ่ื                       
รวงของผลที่ไมมีการปฏิสนธิเกิดขึ้น หรือการรวงเนื่องจากความผิดปกติของผล ออกซินที่นิยมใชในการ
ปองกันการรวงของผลคือ เอนเอเอ 2,4-ดี และ 4-ซีพีเอ แตจะไมใช ไอบีเอ เนืองจาก ไอบีเอ กอใหเกิดพิษกับ
                            ็                                             ่
ใบพืช
ทางดานการเรงดอกนน อาจกลาวไดวา ออกซนไมมีคณสมบตทางดานนโดยตรง ในตางประเทศ
                           ้ั                    ิ    ุ      ั ิ  ้ี                
เคยมีการใช เอนเอเอ เพอเรงดอกสบปะรด ซึ่งก็ไดผลดีพอสมควร ตอมาจงพบวาการทสบปะรดออกดอกได
                 ็      ่ื     ั                             ึ           ่ี ั
นั้น เกิดข้ึนจากการท่ี เอ็นเอเอ ไปกระตุนใหตนสับปะรดสรางเอทิลีนขึ้นมา และเอทิลีนนั้นเองเปนตัว
กระตนใหเ กดดอก
     ุ      ิ

         ผลทางดานอนๆ ของออกซินไดแก การเปลี่ยนเพศดอก ซึ่งปจจุบันชาวสวนเงาะในประเทศไทยใช
                    ่ื
กันอยูทุกแหง โดยใช เอนเอเอ พนไปที่ชอดอกเงาะบางสวน ทําใหชอดอกที่ถูกสารเปลี่ยนจากดอกสมบูรณ
                         ็
เพศที่ทําหนาที่ตัวเมียกลายเปนดอกตัวผูขึ้นมาแทน ซึ่งทําใหเกิดการถายละอองเกสรและเกิดการปฏิสนธิขึ้น
ได การใชออกซินความเขมขนสูง ไมวาชนิดใดก็ตาม มักจะกอใหเกิดความเปนพิษกับพืช เชน ใบรวง ตน
                                                                                         
ชะงักการเติบโต จนกระทั่งทําใหตนตายได ดังนั้นจึงมีการใชสาร 2,4-ดี ซึ่งมีฤทธิ์ของออกซินสูงมาก เปนยา
กําจัดวัชพืชกวางขวาง

        2. จบเบอเรลลน มีคุณสมบัติสําคัญเกี่ยวของกับการยืดตัวของเซลล ดังนัน จงใชในการเรงการ
            ิ       ิ                                                      ้ ึ         
เติบโตของพืชทั่วๆ ไปได ผักกินใบหลายชนิดตอบสนองตอจิบเบอเรลลินไดดี โดยจะมีการเติบโตของเซลล
รวดเร็วขึ้น ทําใหไดผลผลิตเพิ่มขึ้น ผักบางชนิดทีมการเติบโตของตนเปนแบบกระจุก (rosette plant) เชน
                                                 ่ ี                                             
ผักกาดหอมหอ ผักกาดขาวปลี กะหลํ่าปลี ถามีการใชจิบเบอเรลลินกับพืชเหลานี้ในระยะตนกลา จะทําให
เกิดการยืดตัวของตนอยางรวดเร็ว และออกดอกได ซึ่งเปนประโยชนในแงการผลิตเมล็ดพันธุ ในกรณีของ
ไมผลยืนตนหลายชนิด เชน มะมวง สม และไมผลเขตหนาวอื่นๆ พบวา จิบเบอเรลลินมีผลเรงการเติบโตทาง
                         
ดานกิ่งใบและยับยั้งการออกดอก ดังนั้นในกรณีที่ตองการเรงใบโดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะตนกลาจึงอาจใช
จิบเบอเรลลินใหเปนประโยชนได จิบเบอเรลลินยังมีผลชวยขยายขนาดผลได เชน องน มะมวง ซึ่งใน
                                                                                ุ
ปจจุบันมีการใชอยูในบางสวนของประเทศไทย ประโยชนทางดานอนๆ ของจิบเบอเรลลิน ไดแก ใชในการ
                                                          ่ื
เปลี่ยนแปลงดอกของพืชบางชนิด เชน พืชตระกูลแตง และขาวโพดหวาน ใหมีดอกตัวผูมากขึ้น เพื่อ
ประโยชนในการถายละอองเกสรและยังใชทําลายการพักตัวของหัวมันฝรั่งและเมล็ดพืชบางชนิดได




                              การเพมขนาดของผลองน โดยใชจิบเบอเรลลิน
                                   ่ิ          ุ
3. ไซโตไคนิน          คุณสมบัติในการชวยแบงเซลลของไซโตไคนินมีประโยชนในงานเพาะเลี้ย ง
เนื้อเยื่อพืชเปนอยางมาก โดยใชผสมเขาไปในสูตรอาหารเพื่อชวยการเติบโตของแคลลัสและกระตุน ใหกอน
แคลลัสพัฒนากลายเปนตนได ประโยชนทางดานอนของไซโตไคนินมีคอนขางจํากัด นอกจากการนํามาใช
                                          ่ื                       
เรงการแตกตาของพืช ซึ่งมีประโยชนในดานการควบคุมทรงพุมและเรงการแตกตาของพืชที่ขยายพันธุดวย
การติดตาแลว ไซโตไคนินยังมีคุณสมบัติชะลอการแกชราของพืชได จึงสามารถยืดอายุการเก็บรักษาผักกิน
ใบและผลไม รวมทั้งดอกไมไดหลายชนิด แตอยางไรกตาม เรืองนีเ้ ปนเพียงงานทดลองเทานัน ยังไมสามารถ
                                                ็      ่                       ้
นํามาใชประโยชนไดจริงจัง

        4. เอทิลีนและสารปลดปลอยเอทิลีน                เปนสารเรงการสุกของผลไมจึงใชในการบมผลไม
โดยทั่วๆ ไป การสุกของผลไมตามปกติก็เกิดจากการที่ผลไมนั้นสรางเอทิลีนขึ้นมา ดังนัน การใหเอทิลีนกับ
                                                                                  ้
ผลไมที่แกจัดจึงสามารถเรงใหเกิดการสุกไดเร็วกวาปกติ โดยที่คุณภาพของผลไมไมไดเปลี่ยนไป ในตาง
ประเทศใชกาซเอทิลีนเปนตัวบมผลไมโดยตรง แตตองสรางหองบมโดยเฉพาะ สวนในประเทศไทยไมมี
หองบมจึงใชถานกาซ (calcium carbide) ในการบมผลไมแทน โดยที่ถานกาซเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าจะได
กาซอะเซทิลนออกมา ซึ่งมีผลเรงการสุกเหมือนกับเอทิลีน เกษตรกรบางรายเรมนํา เอทีฟอน เขามาใชบมผล
             ี                                                           ่ิ
ไม แตยังไมมีผูใดใหคํายืนยันในเรื่องพิษตกคางของสารนี้ เอทีฟอนเปนสารปลดปลอยเอทิลีนซึ่งนํามาใช
ประโยชนไดกวางขวาง เชน ใชในการเรงดอกสับปะรด เรงการไหลและเพิ่มปริมาณนํ้ายางพาราและยาง
มะละกอ เรงการแกของผลไมบนตนใหแกพรอมกัน เชน เงาะ มะมวง ลองกอง องน มะเขือเทศ กาแฟ เรง
                                                                            ุ                   
การแกของใบยาสูบ และมีแนวโนมที่จะนําสารนี้มาใชประโยชนไดอีกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อเรงการแก
และการสุกของผลไม




                                      การใชเอทิลีนในการบมผลไม

        5. สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช                มีผลยับยั้งจิบเบอเรลลิน ดังนัน ลักษณะใดก็ตามที่
                                                                                   ้
ถูกควบคุมโดยจิบเบอเรลลิน ก็สามารถเปลี่ยนแปลงไดโดยการใชสารชะลอการเจริญเติบโต คุณสมบัติ
สําคัญของสารกลุมนี้คือ ยับยั้งการยืดตัวของปลอง ทําใหตนเตย กะทัดรัด จึงมีประโยชนมากในการผลิตไม
                                                        ้ี
กระถางประดับเพื่อใหมีทรงพุมสวยงาม (compact) และยังมีประโยชนสําหรับการผลิตไมผลโดยระบบปลูก
ชิด (high density planting) คุณสมบัติอีกประการหนึ่งของสารคือ ทําใหพืชทนทานตอสภาพแวดลอมที่ไม
เหมาะสม ดังนัน จึงอาจใชเพิ่มผลผลิตพืชบางชนิดที่ปลูกในสภาพดังกลาวได เชน แดมโนไซด สามารถเพิ่ม
              ้                                                                     ิ
ผลผลิตผักกาดขาวปลี และผักกาดเขียวปลี ซึ่งปลูกในฤดูรอนได ประโยชนที่สําคัญของสารชะลอการ
เจริญเติบโต คือ สามารถเรงดอกไมผลบางชนิดได เชน การใช แพกโคลบิวทราโซล กับมะมวงและมะนาว
                                                  
ทําใหมีชอดอกมากขึ้นและการออกนอกฤดูกาลปกติ ทังนีเ้ นืองจากสารชะลอการเจริญเติบโตมีผลลดปริมาณ
                                                    ้ ่
จิบเบอเรลลินภายในตน ซึ่งจิบเบอเรลลินมีผลยับยั้งการออกดอก ดังนั้นเมื่อจิบเบอเรลลินนอยลงกวาปกติ จึง
ทําใหไมผลเหลานี้ออกดอกได




                    สารแพกโคลบิวทราโซล ชวยเรงการออกดอกของมะมวงนอกฤดูกาล




                           การใชสารชะลอการเติบโต ลดความสูงของไมประดับ

        6. สารยับยังการเจริญเติบโตของพืช
                   ้                                    จากคุณสมบัติสําคัญในการยับยั้งการแบงเซลลของ
พืช จงนํามาใชประโยชนไดในบางกรณีเชน การใช มาเลอิกไฮดราไซด ยับยั้งการงอกของหอมหัวใหญและ
     ึ
มันฝร่ัง ใชในการชักนําใหเกิดการพักตัวของตนสมเพื่อการสะสมอาหารสําหรบออกดอก สารยับยั้งการเติบ
                                                                           ั
โตมีผลยับยั้งการแบงเซลลในบริเวณปลายยอด หรืออาจกลาวไดวามีผลทําลายตายอด จึงทําใหออกซินไม
                                                                                           
สามารถสรางขึ้นที่ปลายยอดได เมอเปนเชนนจงทําใหตาขางเจรญออกมาแทน ซงเปนประโยชนในแงของ
                                  ่ื   ้ี ึ          ิ                   ่ึ              
การบังคับใหตนแตกกิ่งแขนงไดมาก เชน การใช มาเลอิก ไฮดราไซด เพิ่มการแตกพุมของไมพุมหรือไมที่
                                      
ปลูกตามแนวรั้ว การใชคลอฟลูรีนอล เพิ่มจํานวนหนอของสับปะรดและสับปะรดประดับ อยางไรก็ตาม
ประโยชนของสารกลุมนี้ยังมีนอยมาก เมื่อเทียบกับกลุมอื่นๆ

        7. สารอืนๆ
                ่       เปนสารซึ่งมีคุณสมบัติผิดแปลกออกไป จนไมอาจชี้เฉพาะลงไปได แตก็มีการใช
สารในกลุมนี้เพิ่มผลผลิตพืชหลายชนิดเชนกัน ไดแก การใชเออรโกสติมในการเพิ่มขนาดผลสมหรือเพิ่ม
ขนาดและนํ้าหนักของผลสตรอเบอรี่ เพมน้ําตาลในออย โดยใชไกลโฟทซีน (glyphosine) หรือการเพิ่มการ
                                       ่ิ
ติดผลของผลไมบางชนิด การขยายขนาดผลและเพิ่มผลผลิตธัญพืชโดยใช อโทนิก
ขอควรระวงในการใชสารควบคมการเจรญเตบโต
        ั             ุ      ิ ิ

       สารควบคุมการเจริญเติบโตเปนสารเคมีการเกษตรชนิดหนึง ซึ่งจัดวาเปนสารที่มีพิษเชนกัน ดังนัน
                                                               ่                                  ้
การใชสารเหลานี้จึงตองใหความระมัดระวังเชนเดียวกับการใชยาฆาแมลง เชน หามใชมือคนสาร หลีกเลี่ยง
                                                                       
การสัมผัสสารเขมขนโดยตรง สวมชุดที่สามารถปองกันการฟุงกระจายของสารและอื่นๆ ตามหลัเกณฑเพื่อ
ความปลอดภัยในการใชสารพิษ

         โดยทั่วไปแลว สารเหลานี้มักสลายตัวไดงาย ซึ่งจะทําใหเสื่อมประสิทธิภาพไดเร็ว จงควรเกบรกษา
                                                                                          ึ     ็ ั
ไวในที่เย็นและไมถูกแสง ควรผสมสารใหเพียงพอตอการใชในแตละครั้งเทานั้น และเพื่อความมั่นใจใน
ประสิทธิภาพของสารจึงไมควรใชสารที่เก็บรักษาไวนานเกิน 2 ป

ชื่อการคาของสารที่มีจําหนายในประเทศไทย
                          
       ชนิดสาร                         ชื่อการคา                            รูปของสาร
เอ็นเอเอ                แพลนโนพิกซ                              สารละลายเขมขน
                        ฟกซ                                    สารละลายเขมขน
                        แพนเทอร                                 สารละลายเขมขน
                        โกร-พลัส                                 สารละลายเขมขน
                        ฮนน่ี
                          ั                                      สารละลายเขมขน
                        นีตา-เอส
                                                                สารละลายเขมขน
                        เอ็นเอเอ                                 สารละลายเขมขน
                        ไฟโอโมน                                  สารละลายเขมขน
                        ไตรฮอรโมน                               ผง
ไอบีเอ                  เซราดิกซ                                ผง
จีเอ 3                  จิบเบอเรลลิน เกียววา                    ผงละลายนํ้า
                        โปร-กิ๊บ                                 สารละลายเขมขน
เอทีฟอน                 อีเทรล พี จี อาร                        สารละลายเขมขน
                        อีเทรล ลาเทกซ                           สารเหนยว
                                                                       ี
คลอมควอท
     ี                  อินครโซล, ซีซีซี
                                ี                                สารละลายเขมขน
แพกโคลบวทราโซล
         ิ              คลทาร, พรีดิกท, พาโคลเม็กซ
                            ั                                    สารแขวนลอย
เมพิควอท คลอไรด        ฟ กซ                                   สารละลายเขมขน
                        โปร-กา                                  สารละลายเขมขน
บรรณานุกรม
พีรเดช ทองอําไพ. 2529. ฮอรโมนพืชและสารสังเคราะห แนวทางการใชประโยชนในประเทศไทย.
       กรุงเทพมหานคร : หจก. ไดนามิคการพิมพ. 196 น.

สัมพันธ คัมภิรานนท. 2526. ฮอรโมนพืช. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาพฤกษศาสตร มหาวิทยาลัย
        เกษตรศาสตร.

Abeles, F.B. 1973. Ethylene in Plant Biology. Academic Press, New York. 302 p.

Hill, T.A. 1980. Endogenous Plant Growth Substances. Edward Arnold (Publishers) Ltd., London. 68 p.

Luckwill, L.C. 1981. Growth Regulators in Crop Production. Edward Arnold (Publishers) Ltd., London.
       59 p.

Thomas, T.H. 1982. Plant Growth Regulator Potential and Practice. BCPC Publication. The Lavenham
       Pess, Ltd., Suffolk. 271 p.

Weaver, R.J. 1972. Plant Growth Substances in Agriculture. W.H. Freeman Co., San Francisco. 594 p.

Contenu connexe

Tendances

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชฟลุ๊ค ลำพูน
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้Anana Anana
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดNokko Bio
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกWichai Likitponrak
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกWichai Likitponrak
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 

Tendances (20)

นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้ผลและเมล็ดแก้
ผลและเมล็ดแก้
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ดการเกิดผลและเมล็ด
การเกิดผลและเมล็ด
 
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2การสืบพันธุ์ของพืช2
การสืบพันธุ์ของพืช2
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
บท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอกบท3การเจริญดอก
บท3การเจริญดอก
 
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอกบทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
บทที่3การสืบพันธุ์เจริญเติบโตพืชดอก
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 

Similaire à การเจริญเติบโตของพืช

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชdnavaroj
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัยwiyadanam
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnmhq
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1krunidhswk
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8chunkidtid
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน34LIFEYES
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2Naddanai Sumranbumrung
 
การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน
การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมันการขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน
การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมันPeerawich Phaknonkul
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 

Similaire à การเจริญเติบโตของพืช (20)

เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืชเทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
เทคโนโลยีชีวภาพที่ใช้ในการขยายพันธุ์พืช
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
7
77
7
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
Plant hormone
Plant hormonePlant hormone
Plant hormone
 
Plant kingdom 1
Plant kingdom 1Plant kingdom 1
Plant kingdom 1
 
ใบความรู้ที่ 8
ใบความรู้ที่  8ใบความรู้ที่  8
ใบความรู้ที่ 8
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน3
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
ออกแบบและการวางแผนการทำโครงงาน2
 
1
11
1
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน
การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมันการขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน
การขาดธาตุโบรอนในปาล์มน้ำมัน
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 
1ข้อมูลทั่วไป
1ข้อมูลทั่วไป1ข้อมูลทั่วไป
1ข้อมูลทั่วไป
 

การเจริญเติบโตของพืช

  • 1. พีรเดช ทองอําไพ* สารควบคุมการเจริญเติบโต หรือที่เรียกกันทั่วไปวา ฮอรโมน จัดเปนกลุมของสารที่กําลังไดรับ ความสนใจอยางมากในปจจุบันนี้ เนื่องจากสามารถใชประโยชนไดกวางขวางและเห็นผลไดคอนขางเดนชัด โดยมากใชในการติดผล เรง หรือชะลอการแก การสุก ซึ่งลักษณะตางๆ เหลานี้ถูกควบคุมโดยสารแตละชนิด  แตกตางกันไป ดังนัน ถามีการเลือกใชไดอยางถูกตองก็จะทําใหเ ราสามารถควบคมการเตบโตของพชไดตาม ้ ุ ิ ื  ตองการ  เมื่อกลาวถึงฮอรโมนพืช (plant hormones) ก็เชื่อวาทุกทานคงเคยไดยินและรูจักวาเปนสารที่ใชฉีด พนใหตนไมเ พอใหมการออกดอก ติดผลตามที่ตองการ แตโดยความจริงแลว คําวา ฮอรโมนพชนมความ ่ื  ี  ื ้ี ี หมายในเชิงวิชาการวา เปนสารอินทรียที่พืชสรางขึ้นเอง ในปริมาณนอยมาก แตมีผลในดานการสงเสริม หรือยับยั้งการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาภายในตนพืชนั้นๆ ทั้งนี้ไมรวมพวกนํ้าตาลหรือสารอาหารทีเ่ ปน อาหารพืชโดยตรง จะเห็นไดวาพืชสรางฮอรโมนขึนนอยมาก โดยมปรมาณเพยงพอทจะควบคมการเตบโต  ้ ี ิ ี ่ี ุ ิ ภายในตนพืชนั้นๆ ดังนัน การสกัดสารฮอรโมนออกมาจากตนพืช เพอไปพนใหตนไมอนๆ จงเปนเรองยาก ้   ่ื     ่ื ึ  ่ ื และไมคุมคา จึงไดมีการคนควาและสังเคราะหสารตางๆ ซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมนธรรมชาติขึ้นมาใช ประโยชนแทน เมือเปนเชนนี้ สารทีเ่ รานํามาฉีดพนใหตนพืชเพื่อใหเกิดลักษณะตามที่เราตองการนั้น จึงไม ่ ใชฮอรโมนพืช แตจดเปนสารสังเคราะห ซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมน จึงไดมีการบัญญัติศัพททางวิชาการ ั ขึ้นมา วาสารควบคมการเจรญเตบโตของพช (plant growth regulators) ซึ่งมีความหมายถึงฮอรโมนพืชและ  ุ ิ ิ ื สารสังเคราะห มีคุณสมบัติในการกระตุนยับยั้งหรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการทางสรีรวิ ทยาของพืชได การเติบโตของพืชในทุกขั้นตอนลวนแลวแตถูกควบคุมโดยฮอรโมนทั้งสิ ้น ไมวาจะเปนการงอก ของเมล็ดจนกระทงตนตาย ดังนัน การใชสารสังเคราะหซึ่งมีคุณสมบัติคลายฮอรโมนฉีดพนใหกับตนพื ชจง ่ั  ้ ึ เปนการเปลี่ยนระดับความสมดุลของฮอรโมนภายใน ทําใหตนพืชแสดงลักษณะตางๆ ออกมานอกเหนือการ ควบคุมของธรรมชาติ แตกอนที่จะใชสารสังเคราะหเหลานี้ใหไดผลควรที่จะตองศึกษาคุณสมบตฮอรโมน ัิ  และสารสังเคราะหชนิดตางๆ โดยละเอียดเสียกอน สารควบคุมาการเจริญเติบโตแตละชนิดมีคุณสมบัติแตกตางกันไป ซึ่งสามารถแบงออกเปนกลุม ยอยได 7 กลุมดวยกัน คือ * รองศาสตราจารย ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วทยาเขตกําแพงแสน นครปฐม ิ
  • 2. 1. ออกซน (auxins) ิ เปนกลุมของสารที่มีหนาที่เกี่ยวของกับการขยายขนาดของเซลล (cell enlargement) การแบงตัวของเซลลในแคมเบียม การขยายขนาดของใบ การเกิดราก การขยายขนาดของผล ปองกันการหลุดรวงของใบ ดอก ผล ยับยั้งการแตกตาขาง ฮอรโมนทพชสรางขนกคอ ไอเอเอ (IAA) โดย  ่ี ื  ้ึ ็ ื สรางมากที่บริเวณปลายยอด ปลายราก ผลออน และบริเวณทีมเี นือเยือเจริญ (meristematic tissue) อยูมาก  ่ ้ ่ ปริมาณ ไอเอเอ ภายในเนื้อเยื่อพืชแตละสวนมีมากนอยแตกตางกันไป โดยจะมีอยูมากในสวนที่กําลงเจรญ ั ิ เติบโต การรักษาระดับปริมาณภายในเนื้อเยื่อพืชถูกควบคุมโดยระบบการสรางและการทําลายพรอมๆ กัน ไป ถาเปนเนอเยอทกําลงเจรญเตบโตจะมการสรางมากกวาการทําลาย และในทางตรงกันขาม ในเนอเยอทมี ้ื ่ื ่ี ั ิ ิ ี   ้ื ่ื ่ี อายุมากขึ้น จะมีการทําลายมากกวาการสราง ตัวอยางสารพวก ออกซิน (NAA) สารสังเคราะหที่จัดอยูในกลุมออกซิน ที่ใชกันมาก ไดแก เอ็นเอเอ (NAA) ไอบีเอ (IBA) 4-ซีพีเอ (4-CPA) 2,4 –ดี (2,4-D) 2. จิ บเบอเรลลิน (gibberellins) เป  นสารที่ เกี่ ย วข  องกั บ การยื ดตัวของเซลล  (cell elongation) ทําลายการพักตัวของพืช กระตุนการออกดอกของพืชบางชนิด และยับยั้งการออกดอกของพืช บางชนิด สารกลุมนี้มีทั้งที่พืชสรางขึ้นเอง และเชื้อราบางชนิดสรางขึ้น ในปจจุบันพบจิบเบอเรลินทั้งหมด 102 ชนิด โดยททกชนดเรยกชอเหมอนกนคอ จิบเบอเรลลิน เอ หรือ จเี อ (gibberellin A) (GA) แตมีหมาย ่ี ุ ิ ี ่ื ื ั ื เลขตามหลังตั้งแต 1 ถึง 71 เชน จเี อ 3, จเี อ 4, จเี อ 7 (GA3, GA4, GA7) สาร จเี อ 3 เปนจบเบอเรลลนท่ีนํามาใช   ิ ิ มากทางการเกษตร โดยมีชื่อเรียกเฉพาะของสาร จเี อ 3 วา จิบเบอเรลลิกแอซิค (gibberellic acid) พืชสามารถ สราง จีเอ 3 ไดโดยมปรมาณนอยมาก ซึ่ง จเี อ 3 ที่นํามาใชทางการเกษตรนั้น ไดมาจากการเพาะเลี้ยงเชื้อรา  ี ิ  บางชนิดแลวสกดจเี อ 3 ออกมา เนื่องจากปจจุบันยังไมสามารถสังเคราะห จเี อ ไดดวยวิธีทางเคมี  ั
  • 3. ตัวอยางสารจิบเบอเรลลิน 3. ไซโตไคนิน (cytokinins) เกี่ยวของกับการแบงเซลลของพืช ชะลอการแกชราและกระตุน การแตกตาขาง พบมากในบริเวณเนื้อเยื่อเจริญและในคัพภะ (embryo) สวนใหญแลวไซโตไคนินมีการ เคลื่อนยายนอย แตมีคุณสมบัติสํ าคัญในการดึงสารอาหารตางๆ มายังแหลงที่มีไซโตไคนินสะสมอยู (cytokinin-induced translocation) ฮอรโมนที่พบในพืช ไดแก ซีอาติน (zeatin) สวนสารสังเคราะหที่อยูใน กลุมไซโตไคนิน ไดแก บีเอพี (BAP)และไคเนติน (Kinetin) 4. เอทิลีนและสารปลดปลอยเอทิลีน (ethylene and ethylene relasing compounds) เอทิลีนเปนกาซชนิดหนึ่งและจัดเปนฮอรโมนพืช เนื่องจากพืชสรางขึ้นมาได โดยมผลควบ ี คุมการแกชรา การสุก รวมทังการออกดอกของพืชบางชนิด และเกี่ยวของกับการหลุดรวงของใบ ดอก ผล ้ การเหลืองของใบ การงอกของหวพช และเมล็ดพืชบางชนิด เอทิลีนจะสรางมากในสวนของพืชที่กําลังเขาสู ั ื ระยะชราภาพ (senescence) เชน ในผลแกหรือใบแกใกลหลุดรวง เนื่องจากเอทิลีนเปนกาซ ดังนัน จึงฟุง ้ กระจายไปไดทั่ว จึงไมมีการเคลื่อนยายเหมือนกับฮอรโมนในกลุมอื่นๆ สารอินทรียบางชนิดมีคุณสมบัติ คลายเอทิลีน เชน อะเซทลีน (acetylene) โปรปลีน (propylene) ดังนั้น จึงอาจนําสารเหลานี้มาใชประโยชน  ิ ทางการเกษตรไดเชนกัน ยกตัวอยางไดแกการใชอะเซทิลีนในการบมผลไม และเรงการออกดอกของ สับปะรด เปนตน แตเนื่องจากวาสารที่กลาวมานี้เปนกาซ จึงมีความยุงยากในการใชและไมสามารถควบคุม ความเขมขนไดแนนอน โดยเฉพาะอยางยิ่งการใชในแปลงปลูกพืช ดังนัน จึงไดมีการสังเคราะหสารบาง ้ ชนิด ซึ่งเปนของเหลวแตสามารถปลดปลอยหรือสลายตัวได กาซเอทิลีน ซึ่งไดแก เอทีฟอน (ethephon) สารเอทีฟอน จัดวาเปนสารที่นํ ามาใชประโยชนมากที่สุดในโลกชนิดหนึ่งและในปจจุบันใชกัน อยางกวางขวางในอุตสาหกรรมสับปะรด โดยใชเพื่อบังคับใหสับปะรดออกดอกสมํ่าเสมอทั้งแปลง ประโยชนของสารควบคมการเจรญเตบโต  ุ ิ ิ
  • 4. 5. สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช (plant growth retardants) สารกลุมนี้ไมจัด เปนฮอรโมนพืช แตเ ปนสารสงเคราะหทงหมด มีคุณสมบัติสําคัญ คือ ยับยั้งการสรางหรือยับยั้งการทํางาน  ั  ้ั ของฮอรโมนจบเบอเรลลนในพช จึงมีผลลดการยืดตัวของเซลล ทําใหปลองสั้น ใบหนา เขียวเขม กระตน  ิ ิ ื ุ การออกดอกของพืชบางชนิด และมีคุณสมบัติอื่นๆ ไดแก ทําใหพืชทนทานตอสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสม เชน รอนจัด เยนจด ดนแหง ดินเกลือ เพิ่มผลผลิตพืชบางชนิด เพิ่มการติดผลของพืชบางชนิด สารชะลอการ ็ ั ิ  เจริญเตบโตทสําคัญไดแก ิ ่ี แอนซมดอล (ancymidol) ิ ิ คลอมควอท (chlormequat) ี แพกโคลบวทราโซล (paclobutrazol) ิ เมพิควอทคลอไรด (mepiquat chloride) 6. สารยบยงการเจรญเตบโต (plant growth inhibitors) ั ้ั ิ ิ สารกลุมนี้มีหนาที่ในการ ถวงดุลกับสารเรงการเติบโตพวกออกซิน จิบเบอเรลลิน และไซโตไคนิน เพื่อใหการเติบโตเปนไปอยางพอ เหมาะพอดี สวนใหญมีหนาที่ยับยั้งการแบงเซลล และการเติบโตของเซลล ทําใหเกิดการพักตัว (dormancy) และเกี่ยวของกับการหลุดรวงของอวัยวะพืช ฮอรโมนในกลุมนี้มีพบในพืชมีกวา 200 ชนด แตที่สําคัญที่สุด ิ และรูจักกันดีคือ เอบีเอ (ABA) (abscisic acid) ในทางการเกษตรมีการใชประโยชนจากสารกลุมนี้นอยมาก อยางไรก็ตาม มีการใชสารสังเคราะหเพื่อประโยชนบางอยางเชน ยับยั้งการงอกของหัวมันฝรั่งและหอมหัว ใหญ ระหวางการเก็บรักษา ใชแทนการเดดยอด (pinching) เพื่อกระตุนใหแตกตาขาง รวมทั้งยับยั้งการเติบ  ็ โตทางกิ่งในซึ่งมีผลในการกระตุนดอกไดในพืชบางชนิด สารสังเคราะหที่สําคัญ ไดแก คลอฟลรนอล (chlorflurenol) ูี ไดกูแลก โซเดยม (dikegulac sodium) ี มาเลอิก ไฮดราไซด (maleic hydrazide) ทไอบเี อ (TIBA) ี
  • 5. 7. สารอืนๆ (miscellaneous) ่ เปนกลุมสารที่มีคุณสมบัติแตกตางจากทั้ง 6 กลุมที่กลาวมา ขางตน สวนใหญใชเพื่อประโยชนเฉพาะอยาง เชน เพิ่มผลผลิต ขยายขนาดผล ปองกนผลรวง ชวยในการ   ั  แบงเซลล อยางไรก็ตามยังจัดวามีประโยชนคอนขางนอยและการใชยังไมกวางขวาง ยกตัวอยางสารเหลานี้ ไดแก เออรโกสติม อโทนิก เปนตน ประโยชนของสารควบคมการเจรญเตบโต  ุ ิ ิ สารควบคุมการเจริญเติบโตนํ ามาใชประโยชนไดกวางขวาง ทั้งทางดานการเพิ่มผลผลิต การผลิต พืชนอกฤดู ลดแรงงานในการผลิตพืช เปนตน การใชสารใหไดผลตามที่ตองการนั้น จะตองทราบคุณสมบัติ ของสารแตละชนิดและเลือกใชใหถูกกับวัตถุประสงคที่ตองการ จึงขอยกตัวอยางการใชประโยชนจากสาร เหลานี้เพียงบางประการเพื่อใชเปนแนวทางในการผลิตพืชตอไป 1. ออกซิน คุณสมบัติที่สําคญของออกซนขอหนงคอ ความสามารถในการกระตนการเกิดราก ั ิ ่ึ ื ุ และการเจรญของราก จงไดมการนําออกซินมาใชกับกิ่งปกชําหรอกงตอนของพชทวๆ ไป เพือเรงใหเกิดราก ิ ึ  ี ื ่ิ ื ่ั ่ เร็วขึ้นและมากขึ้น การใชฮอรโมนชวยเรงรากของกิ่งปกชํา นอกจากนี้พืชบางชนิดออกรากไดยาก แตถามีการใชออกซินเขาชวยก็จะทํ าใหออกรากไดงายขึ้น สารที่นิยมใชในการเรงรากคือ เอนเอเอ (NAA) และ ไอบีเอ (IBA) ซ่ึงท้ัง 2 ชนิดนีจดวาเปนออกซินอยาง ็ ้ั ออน มีพิษตอพืชนอย รากที่เกิดขึ้นจากการใชสาร 2 ชนิดนี้จึงมักไมมีอาการผิดปกติ แตถาใชสารพวก 2,4-ดี หรือ 4-ซีพีเอ ซึ่งมีฤทธิ์ของออกซินสูง จะทําใหรากผดปกติ คือกุดสั้น รากหนาเปนกระจุก ประโยชนของ  ิ ออกซินอีกขอหนึงคือ ใชปองกันผลรวงไดในพืชหลายชนิด เชน มะมวง มะนาว สม ลางสาด ขนน มะละกอ ่  ุ เนื่องจากออกซินมีคุณสมบัติยับยั้งการสรางรอยแยก (abscission layer) ในบริเวณขั้วผลได อยางไรก็ตาม ออกซินไมสามารถยับยังการรวงของผลไดในบางกรณี เชน การรวงเนองจากโรคและแมลงเขาทําลาย การ ้   ่ื  รวงของผลที่ไมมีการปฏิสนธิเกิดขึ้น หรือการรวงเนื่องจากความผิดปกติของผล ออกซินที่นิยมใชในการ ปองกันการรวงของผลคือ เอนเอเอ 2,4-ดี และ 4-ซีพีเอ แตจะไมใช ไอบีเอ เนืองจาก ไอบีเอ กอใหเกิดพิษกับ ็ ่ ใบพืช
  • 6. ทางดานการเรงดอกนน อาจกลาวไดวา ออกซนไมมีคณสมบตทางดานนโดยตรง ในตางประเทศ   ้ั ิ ุ ั ิ  ้ี  เคยมีการใช เอนเอเอ เพอเรงดอกสบปะรด ซึ่งก็ไดผลดีพอสมควร ตอมาจงพบวาการทสบปะรดออกดอกได ็ ่ื  ั  ึ  ่ี ั นั้น เกิดข้ึนจากการท่ี เอ็นเอเอ ไปกระตุนใหตนสับปะรดสรางเอทิลีนขึ้นมา และเอทิลีนนั้นเองเปนตัว กระตนใหเ กดดอก ุ ิ ผลทางดานอนๆ ของออกซินไดแก การเปลี่ยนเพศดอก ซึ่งปจจุบันชาวสวนเงาะในประเทศไทยใช  ่ื กันอยูทุกแหง โดยใช เอนเอเอ พนไปที่ชอดอกเงาะบางสวน ทําใหชอดอกที่ถูกสารเปลี่ยนจากดอกสมบูรณ  ็ เพศที่ทําหนาที่ตัวเมียกลายเปนดอกตัวผูขึ้นมาแทน ซึ่งทําใหเกิดการถายละอองเกสรและเกิดการปฏิสนธิขึ้น ได การใชออกซินความเขมขนสูง ไมวาชนิดใดก็ตาม มักจะกอใหเกิดความเปนพิษกับพืช เชน ใบรวง ตน  ชะงักการเติบโต จนกระทั่งทําใหตนตายได ดังนั้นจึงมีการใชสาร 2,4-ดี ซึ่งมีฤทธิ์ของออกซินสูงมาก เปนยา กําจัดวัชพืชกวางขวาง 2. จบเบอเรลลน มีคุณสมบัติสําคัญเกี่ยวของกับการยืดตัวของเซลล ดังนัน จงใชในการเรงการ ิ ิ ้ ึ   เติบโตของพืชทั่วๆ ไปได ผักกินใบหลายชนิดตอบสนองตอจิบเบอเรลลินไดดี โดยจะมีการเติบโตของเซลล รวดเร็วขึ้น ทําใหไดผลผลิตเพิ่มขึ้น ผักบางชนิดทีมการเติบโตของตนเปนแบบกระจุก (rosette plant) เชน ่ ี  ผักกาดหอมหอ ผักกาดขาวปลี กะหลํ่าปลี ถามีการใชจิบเบอเรลลินกับพืชเหลานี้ในระยะตนกลา จะทําให เกิดการยืดตัวของตนอยางรวดเร็ว และออกดอกได ซึ่งเปนประโยชนในแงการผลิตเมล็ดพันธุ ในกรณีของ ไมผลยืนตนหลายชนิด เชน มะมวง สม และไมผลเขตหนาวอื่นๆ พบวา จิบเบอเรลลินมีผลเรงการเติบโตทาง  ดานกิ่งใบและยับยั้งการออกดอก ดังนั้นในกรณีที่ตองการเรงใบโดยเฉพาะอยางยิ่งในระยะตนกลาจึงอาจใช จิบเบอเรลลินใหเปนประโยชนได จิบเบอเรลลินยังมีผลชวยขยายขนาดผลได เชน องน มะมวง ซึ่งใน  ุ ปจจุบันมีการใชอยูในบางสวนของประเทศไทย ประโยชนทางดานอนๆ ของจิบเบอเรลลิน ไดแก ใชในการ   ่ื เปลี่ยนแปลงดอกของพืชบางชนิด เชน พืชตระกูลแตง และขาวโพดหวาน ใหมีดอกตัวผูมากขึ้น เพื่อ ประโยชนในการถายละอองเกสรและยังใชทําลายการพักตัวของหัวมันฝรั่งและเมล็ดพืชบางชนิดได การเพมขนาดของผลองน โดยใชจิบเบอเรลลิน ่ิ ุ
  • 7. 3. ไซโตไคนิน คุณสมบัติในการชวยแบงเซลลของไซโตไคนินมีประโยชนในงานเพาะเลี้ย ง เนื้อเยื่อพืชเปนอยางมาก โดยใชผสมเขาไปในสูตรอาหารเพื่อชวยการเติบโตของแคลลัสและกระตุน ใหกอน แคลลัสพัฒนากลายเปนตนได ประโยชนทางดานอนของไซโตไคนินมีคอนขางจํากัด นอกจากการนํามาใช   ่ื   เรงการแตกตาของพืช ซึ่งมีประโยชนในดานการควบคุมทรงพุมและเรงการแตกตาของพืชที่ขยายพันธุดวย การติดตาแลว ไซโตไคนินยังมีคุณสมบัติชะลอการแกชราของพืชได จึงสามารถยืดอายุการเก็บรักษาผักกิน ใบและผลไม รวมทั้งดอกไมไดหลายชนิด แตอยางไรกตาม เรืองนีเ้ ปนเพียงงานทดลองเทานัน ยังไมสามารถ   ็ ่ ้ นํามาใชประโยชนไดจริงจัง 4. เอทิลีนและสารปลดปลอยเอทิลีน เปนสารเรงการสุกของผลไมจึงใชในการบมผลไม โดยทั่วๆ ไป การสุกของผลไมตามปกติก็เกิดจากการที่ผลไมนั้นสรางเอทิลีนขึ้นมา ดังนัน การใหเอทิลีนกับ ้ ผลไมที่แกจัดจึงสามารถเรงใหเกิดการสุกไดเร็วกวาปกติ โดยที่คุณภาพของผลไมไมไดเปลี่ยนไป ในตาง ประเทศใชกาซเอทิลีนเปนตัวบมผลไมโดยตรง แตตองสรางหองบมโดยเฉพาะ สวนในประเทศไทยไมมี หองบมจึงใชถานกาซ (calcium carbide) ในการบมผลไมแทน โดยที่ถานกาซเมื่อทําปฏิกิริยากับนํ้าจะได กาซอะเซทิลนออกมา ซึ่งมีผลเรงการสุกเหมือนกับเอทิลีน เกษตรกรบางรายเรมนํา เอทีฟอน เขามาใชบมผล ี ่ิ ไม แตยังไมมีผูใดใหคํายืนยันในเรื่องพิษตกคางของสารนี้ เอทีฟอนเปนสารปลดปลอยเอทิลีนซึ่งนํามาใช ประโยชนไดกวางขวาง เชน ใชในการเรงดอกสับปะรด เรงการไหลและเพิ่มปริมาณนํ้ายางพาราและยาง มะละกอ เรงการแกของผลไมบนตนใหแกพรอมกัน เชน เงาะ มะมวง ลองกอง องน มะเขือเทศ กาแฟ เรง  ุ  การแกของใบยาสูบ และมีแนวโนมที่จะนําสารนี้มาใชประโยชนไดอีกมาก โดยเฉพาะอยางยิ่งเพื่อเรงการแก และการสุกของผลไม การใชเอทิลีนในการบมผลไม 5. สารชะลอการเจริญเติบโตของพืช มีผลยับยั้งจิบเบอเรลลิน ดังนัน ลักษณะใดก็ตามที่ ้ ถูกควบคุมโดยจิบเบอเรลลิน ก็สามารถเปลี่ยนแปลงไดโดยการใชสารชะลอการเจริญเติบโต คุณสมบัติ สําคัญของสารกลุมนี้คือ ยับยั้งการยืดตัวของปลอง ทําใหตนเตย กะทัดรัด จึงมีประโยชนมากในการผลิตไม   ้ี กระถางประดับเพื่อใหมีทรงพุมสวยงาม (compact) และยังมีประโยชนสําหรับการผลิตไมผลโดยระบบปลูก ชิด (high density planting) คุณสมบัติอีกประการหนึ่งของสารคือ ทําใหพืชทนทานตอสภาพแวดลอมที่ไม เหมาะสม ดังนัน จึงอาจใชเพิ่มผลผลิตพืชบางชนิดที่ปลูกในสภาพดังกลาวได เชน แดมโนไซด สามารถเพิ่ม ้  ิ ผลผลิตผักกาดขาวปลี และผักกาดเขียวปลี ซึ่งปลูกในฤดูรอนได ประโยชนที่สําคัญของสารชะลอการ
  • 8. เจริญเติบโต คือ สามารถเรงดอกไมผลบางชนิดได เชน การใช แพกโคลบิวทราโซล กับมะมวงและมะนาว  ทําใหมีชอดอกมากขึ้นและการออกนอกฤดูกาลปกติ ทังนีเ้ นืองจากสารชะลอการเจริญเติบโตมีผลลดปริมาณ ้ ่ จิบเบอเรลลินภายในตน ซึ่งจิบเบอเรลลินมีผลยับยั้งการออกดอก ดังนั้นเมื่อจิบเบอเรลลินนอยลงกวาปกติ จึง ทําใหไมผลเหลานี้ออกดอกได สารแพกโคลบิวทราโซล ชวยเรงการออกดอกของมะมวงนอกฤดูกาล การใชสารชะลอการเติบโต ลดความสูงของไมประดับ 6. สารยับยังการเจริญเติบโตของพืช ้ จากคุณสมบัติสําคัญในการยับยั้งการแบงเซลลของ พืช จงนํามาใชประโยชนไดในบางกรณีเชน การใช มาเลอิกไฮดราไซด ยับยั้งการงอกของหอมหัวใหญและ ึ มันฝร่ัง ใชในการชักนําใหเกิดการพักตัวของตนสมเพื่อการสะสมอาหารสําหรบออกดอก สารยับยั้งการเติบ ั โตมีผลยับยั้งการแบงเซลลในบริเวณปลายยอด หรืออาจกลาวไดวามีผลทําลายตายอด จึงทําใหออกซินไม  สามารถสรางขึ้นที่ปลายยอดได เมอเปนเชนนจงทําใหตาขางเจรญออกมาแทน ซงเปนประโยชนในแงของ ่ื   ้ี ึ   ิ ่ึ    การบังคับใหตนแตกกิ่งแขนงไดมาก เชน การใช มาเลอิก ไฮดราไซด เพิ่มการแตกพุมของไมพุมหรือไมที่  ปลูกตามแนวรั้ว การใชคลอฟลูรีนอล เพิ่มจํานวนหนอของสับปะรดและสับปะรดประดับ อยางไรก็ตาม ประโยชนของสารกลุมนี้ยังมีนอยมาก เมื่อเทียบกับกลุมอื่นๆ 7. สารอืนๆ ่ เปนสารซึ่งมีคุณสมบัติผิดแปลกออกไป จนไมอาจชี้เฉพาะลงไปได แตก็มีการใช สารในกลุมนี้เพิ่มผลผลิตพืชหลายชนิดเชนกัน ไดแก การใชเออรโกสติมในการเพิ่มขนาดผลสมหรือเพิ่ม ขนาดและนํ้าหนักของผลสตรอเบอรี่ เพมน้ําตาลในออย โดยใชไกลโฟทซีน (glyphosine) หรือการเพิ่มการ ่ิ ติดผลของผลไมบางชนิด การขยายขนาดผลและเพิ่มผลผลิตธัญพืชโดยใช อโทนิก
  • 9. ขอควรระวงในการใชสารควบคมการเจรญเตบโต  ั  ุ ิ ิ สารควบคุมการเจริญเติบโตเปนสารเคมีการเกษตรชนิดหนึง ซึ่งจัดวาเปนสารที่มีพิษเชนกัน ดังนัน ่ ้ การใชสารเหลานี้จึงตองใหความระมัดระวังเชนเดียวกับการใชยาฆาแมลง เชน หามใชมือคนสาร หลีกเลี่ยง  การสัมผัสสารเขมขนโดยตรง สวมชุดที่สามารถปองกันการฟุงกระจายของสารและอื่นๆ ตามหลัเกณฑเพื่อ ความปลอดภัยในการใชสารพิษ โดยทั่วไปแลว สารเหลานี้มักสลายตัวไดงาย ซึ่งจะทําใหเสื่อมประสิทธิภาพไดเร็ว จงควรเกบรกษา ึ ็ ั ไวในที่เย็นและไมถูกแสง ควรผสมสารใหเพียงพอตอการใชในแตละครั้งเทานั้น และเพื่อความมั่นใจใน ประสิทธิภาพของสารจึงไมควรใชสารที่เก็บรักษาไวนานเกิน 2 ป ชื่อการคาของสารที่มีจําหนายในประเทศไทย  ชนิดสาร ชื่อการคา รูปของสาร เอ็นเอเอ แพลนโนพิกซ สารละลายเขมขน ฟกซ สารละลายเขมขน แพนเทอร สารละลายเขมขน โกร-พลัส สารละลายเขมขน ฮนน่ี ั สารละลายเขมขน นีตา-เอส  สารละลายเขมขน เอ็นเอเอ สารละลายเขมขน ไฟโอโมน สารละลายเขมขน ไตรฮอรโมน ผง ไอบีเอ เซราดิกซ ผง จีเอ 3 จิบเบอเรลลิน เกียววา ผงละลายนํ้า โปร-กิ๊บ สารละลายเขมขน เอทีฟอน อีเทรล พี จี อาร สารละลายเขมขน อีเทรล ลาเทกซ สารเหนยว ี คลอมควอท ี อินครโซล, ซีซีซี ี สารละลายเขมขน แพกโคลบวทราโซล ิ คลทาร, พรีดิกท, พาโคลเม็กซ ั สารแขวนลอย เมพิควอท คลอไรด ฟ กซ สารละลายเขมขน โปร-กา สารละลายเขมขน
  • 10. บรรณานุกรม พีรเดช ทองอําไพ. 2529. ฮอรโมนพืชและสารสังเคราะห แนวทางการใชประโยชนในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : หจก. ไดนามิคการพิมพ. 196 น. สัมพันธ คัมภิรานนท. 2526. ฮอรโมนพืช. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาพฤกษศาสตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร. Abeles, F.B. 1973. Ethylene in Plant Biology. Academic Press, New York. 302 p. Hill, T.A. 1980. Endogenous Plant Growth Substances. Edward Arnold (Publishers) Ltd., London. 68 p. Luckwill, L.C. 1981. Growth Regulators in Crop Production. Edward Arnold (Publishers) Ltd., London. 59 p. Thomas, T.H. 1982. Plant Growth Regulator Potential and Practice. BCPC Publication. The Lavenham Pess, Ltd., Suffolk. 271 p. Weaver, R.J. 1972. Plant Growth Substances in Agriculture. W.H. Freeman Co., San Francisco. 594 p.