SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
1


                  กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ว ิ ท ยาศาสตร์
                           ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ๓
สาระที ่ ๑ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต กั บ กระบวนการดำ า รงชี ว ิ ต
มาตรฐาน ว ๑.๒                        เข้ า ใจกระบวนการและความสำ า คั ญ ของ
                 การถ่ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม วิ ว ั ฒ นาการของ
                 สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ความหลากหลายทางชี ว ภาพ การใช้
                 เทคโนโลยี ช ี ว ภาพที ่ ม ี ผ ลกระทบต่ อ มนุ ษ ย์ แ ละสิ ่ ง
                 แวดล้ อ ม มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ แ ละ
                 จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สาร สิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ และนำ า ความรู ้
                 ไปใช้ ป ระโยชน์
   ตั ว ชี ้ ว ั ด                    ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร     ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
 ๑. สังเกตและ           นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร                สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา
   อธิบายลักษณะ         ๑.เมื่อมองเซลล์ผ่าน                 รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
   ของโครโมโซมที่          กล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้น         บันทึก และอธิบายลักษณะของ
   มีหน่วย                 ใยเล็กๆ พันกันอยู่ใน             โครโมโซมและนำาเสนอให้ผู้อื่น
   พันธุกรรมหรือ           นิวเคลียส เมื่อเกิดการแบ่ง       เข้าใจ
   ยีนในนิวเคลียส          เซลล์ เส้นใยเหล่านี้จะขด
                           สั้นเข้าจนมีลักษณะเป็น
                           ท่อนสั้น เรียกว่า
                           โครโมโซม
                        ๒.          โครโมโซมประกอบ
                           ด้วยดีเอ็นเอและโปรตีน
                        ๓.          ยีนหรือหน่วย
                           พันธุกรรมเป็นส่วนหนึ่งที่
                           อยู่บนดีเอ็นเอ
 ๒. อธิบายความ          ๑. เซลล์หรือสิ่งมีชีวิต มีสาร         สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา
  สำาคัญของสาร              พันธุกรรมหรือดีเอ็นเอที่        รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
  พันธุกรรมหรือ             ควบคุมลักษณะของการ              บันทึก อธิบายลักษณะสำาคัญ
  ดีเอ็นเอ และ              แสดงออก                         ของสารพันธุกรรม (DNA) และ
  กระบวนการ             ๒. ลักษณะทางพันธุกรรมที่            กระบวนการถ่ายทอดลักษณะ
  ถ่ายทอดลักษณะ             ควบคุมด้วยยีนจากพ่อและ          ทางพันธุกรรม
  ทางพันธุกรรม              แม่สามารถถ่ายทอดสู่ลูก
                            ผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์และ
                            การปฏิสนธิ
2


๓. อภิปรายโรค       ๑.        โรคธาลัสซีเมีย           สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา
  ทางพันธุกรรมที่     ตาบอดสี เป็นโรคทาง            รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
  เกิดจากความ         พันธุกรรม ที่เกิดจากความ      บันทึก อภิปรายโรคทาง
  ผิดปกติของยีน       ผิดปกติของยีน                 พันธุกรรมและนำาเสนอผลงาน
  และโครโมโซม       ๒.        กลุ่มอาการดาวน์เป็น   ให้ผู้อื่นเข้าใจ
  และนำาความรู้       ความผิดปกติของร่างกาย
  ไปใช้ประโยชน์       ซึ่งเกิดจากการที่มีจำานวน
                      โครโมโซมร่างกายเกินมา
                    ๓. ความรู้เกี่ยวกับโรคทาง
                      พันธุกรรมสามารถนำาไปใช้
                      ในการป้องกันโรค ดูแลผู้
                      ป่วยและวางแผนครอบครัว
3



     ตั ว ชี ้ ว ั ด           ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร           ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๔. สำารวจและ                ความหลากหลายทางชีวภาพที่               สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
  อธิบายความ            ทำาให้สิ่งมีชีวิตอยู่อย่างสมดุล ขึ้น   รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
  หลากหลายทาง           อยู่กับความหลากหลายของระบบ             บันทึก และอธิบายถึงความ
  ชีวภาพในท้อง          นิเวศ ความหลากหลายของชนิด              หลากหลากทางชีวภาพของ
  ถิ่นที่ทำาให้สิ่งมี   สิ่งมีชีวิต และความหลากหลาย            สิ่งมีชีวิต- ศึกษานอกสถานที่
  ชีวิตดำารงชีวิตอยู่   ทางพันธุกรรม                           เกี่ยวกับความหลากหลาย
  ได้อย่างสมดุล                                                ทางชีวภาพในท้องถิ่น

๕. อธิบายผลของ          ๑.         การตัดไม้ทำาลายป่าเป็น          ตั้งคำาถาม สังเกต
  ความหลาก                 สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้เกิดการสูญ      วางแผน สำารวจ รวบรวม
  หลายทาง                  เสียความหลากหลายทาง                 วิเคราะห์ แสดงผล บันทึก
  ชีวภาพที่มีต่อ           ชีวภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ            อธิบายผลของความหลาก
  มนุษย์ สัตว์ พืช         การดำารงชีวิตของมนุษย์ สัตว์        หลายทางชีวภาพต่อสิ่งมีชีวิต
  และสิ่งแวดล้อม           พืชและสิ่งแวดล้อม                   และนำาเสนอข้อมูลให้อื่น
                        ๒.         การใช้สารเคมีในการ          เข้าใจได้
                           กำาจัดศัตรูพืชและสัตว์ ส่งผลก
                           ระทบต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์
                           สัตว์และพืช ทำาให้เกิดการ
                           เปลี่ยนแปลงความหลากหลาย
                           ทางชีวภาพและส่งผลกระทบ
                           ต่อสิ่งแวดล้อม
๖.อภิปรายผลของ              ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มี                  สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
  เทคโนโลยี             ประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งด้านการ          รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
  ชีวภาพต่อการ          แพทย์ การเกษตรและ                      บันทึก อภิปรายผลของ
  ดำารงชีวิตของ         อุตสาหกรรม                             เทคโนโลยีชีวภาพ ต่อการ
  มนุษย์และสิ่ง                                                ดำารงชีวิตของมนุษย์และสิ่ง
  แวดล้อม                                                      แวดล้อมและนำาเสนอข้อมูลให้
                                                               ผู้อื่นเข้าใจ
4




สาระที ่ ชี ว ิ ต กั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม
มาตรฐาน ว ๒. ๑                 เข้ า ใจสิ ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ ่ น ความ
             สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ ่ ง แวดล้ อ มกั บ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ความ
             สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ต่ า ง ๆ ในระบบนิ เ วศ มี
             กระบวนการสื บ เสาะ หาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์
             สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์

     ตั ว ชี ้ ว ั ด          ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร          ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑. สำารวจระบบนิเวศ              ระบบนิเวศประกอบด้วยสิ่ง         สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
  ต่างๆในท้องถิ่น      มีชีวิตหลายชนิดที่มีความ             รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
  และอธิบายความ        เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันทั้งสิ่งมี   บันทึก อภิปรายผลของระบบ
  สัมพันธ์ขององค์      ชีวิตและสิ่งแวดล้อมในแต่ละ           นิเวศต่าง ๆ ในท้องถิ่นและ
  ประกอบภายใน          ท้องถิ่นประกอบด้วยองค์               ความสัมพันธ์องค์ประกอบ
  ระบบนิเวศ            ประกอบทางชีวภาพเฉพาะ                 ภายในระบบนิเวศ
                       แต่ละท้องถิ่น ซึ่งมีความเกี่ยว
                       ข้องสัมพันธืกันทั้งสิ่งมีชีวิตและ
                       สิ่งแวดล้อม
๒. วิเคราะห์และ             สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กัน
                                                       สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา
 อธิบายความ            โดยมีการถ่ายทอดพลังงานใน     รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
 สัมพันธ์ของการ        รูปของโซ่อาหารและสายใย       บันทึก อภิปรายผลของความ
 ถ่ายทอดพลังงาน        อาหาร                        สัมพันธ์ของการถ่ายทอด
 ของสิ่งมีชีวิตในรูป                                พลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูป
 ของโซ่อาหารและ                                     ของโซ่อาหารและสายใย
 สายใยอาหาร                                         อาหาร และนำาเสนอข้อมูลให้ผู้
                                                    อื่นเข้าใจ
๓. อธิบายวัฏจักร      นำ้าและคาร์บอนเป็นองค์           สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
 นำ้า วัฏจักร       ประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มี รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
 คาร์บอน และ        ชีวิต มีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร บันทึกและอธิบายถึงอธิบาย
 ความสำาคัญที่มีต่อ ในระบบนิเวศ ทำาให้สิ่งมีชีวิตใน วัฏจักรนำ้า วัฏจักรคาร์บอน และ
 ระบบนิเวศ          ระบบสามารถนำาไปใช้              ความสำาคัญที่มีต่อระบบนิเวศ
                    ประโยชน์
5


๔. อธิบายปัจจัยที่มี       ขนาดของประชากรเป็น   สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
  ผลต่อการ           ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ      รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
  เปลี่ยนแปลง        เปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ        บันทึกและอธิบายปัจจัยที่มี
                                                   ผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด
  ขนาดของ
                                                   ของประชากรในระบบนิเวศ
  ประชากรในระบบ
                                                   และนำาเสนอข้อมูลให้ผู้อื่น
  นิเวศ                                            เข้าใจได้
6



สาระที ่ ๒ ชี ว ิ ต กั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม
มาตรฐาน ว ๒.๒                 เข้ า ใจความสำ า คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ
                  การใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ นระดั บ ท้ อ งถิ ่ น ประเทศ
                  และโลกนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ใ นในการจั ด การ
                  ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ ่ น อย่ า ง
                  ยั ่ ง ยื น
   ตั ว ชี ้ ว ั ด             ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร  ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.     วิเคราะห์   สภาพแวดล้อมที่ถูกทำาลายโดย         สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
 สภาพปัญหาสิ่ง   ภัยธรรมชาติและมนุษย์ก่อให้           รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
 แวดล้อมทรัพยากร เกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อ            บันทึกและอธิบายและนำาเสนอ
 ธรรมชาติในท้อง การดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต           ข้อมูลของสภาพปัญหาสิ่ง
       ถิ่น และ                                       แวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ
 เสนอแนวทางใน                                         ในท้องถิ่น และเสนอแนวทาง
 การแก้ไขปัญหา                                        ในการแก้ไขปัญหา

๒. อธิบายแนวทาง    การอนุรักษ์                             สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ
 การรักษาสมดุล  ทรัพยากรธรรมชาติจะเป็นการ            รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล
 ของระบบนิเวศ   รักษาสมดุลของระบบนิเวศที่            บันทึกและอภิปรายผลของ
                ต้องมีการควบคุมจำานวนผู้ผลิต         แนวทางการรักษาสมดุลของ
                                                     ระบบนิเวศ และนำาเสนอข้อมูล
๓.อภิปรายการใช้           การอนุรักษ์                    สำารวจและรวบรวมข้อมูล
 ทรัพยากรธรรมช       ทรัพยากรธรรมชาติ                วิเคราะห์ การอภิปราย สรุป วิธี
 าติ อย่างยั่งยืน    เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ      การนำาทรัพยากรธรรมชาติมา
                     อย่างประหยัดและคุ้มค่า หาสิ่ง   ใช้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนด้วย
                     ทดแทนและ/หรือนำากลับมาใช้       วิธีการต่าง ๆ การอภิปรายการ
                     ใหม่                            ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง
                                                     ยั่งยืน
๔. วิเคราะห์และ         การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ             สืบค้น และรวบรวมข้อมูล
 อธิบายการใช้        ตามแนวทางหลักปรัชญาของ          วิเคราะห์ และอธิบาย วิธีการ
 ทรัพยากรธรรมช       เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง       ใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ ตาม
 าติ ตามปรัชญา       หนึ่งในการอนุรักษ์              หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
 เศรษฐกิจพอเพียง     ทรัพยากรธรรมชาติ                เพียง

๕ อภิปรายปัญหา           ปัญหาสิ่งแวดล้อมมีหลาก        การสืบค้นข้อมูล รวรวมและ
  สิ่งแวดล้อมและ     หลาย เช่น มลพิษทางนำ้า มลพิษ    วิเคราะห์ อภิปราย กำาหนด
  เสนอแนะแนว         ทางเสียง มลพิษทางอากาศ          แนวทางการแก้ปัญหาสิ่ง
  ทางการแก้          มลพิษทางดิน ฯลฯ การป้องกัน      แวดล้อม
  ปัญหา              และแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่
                     เหมาะสมเป็นระบบทุกคนมีส่วน
                     ร่วมทำาให้ปัญหาดังกล่าวลดลง
                     และอาจจะหมดไปได้ในที่สุด
7


๖ . อ ภิ ป รายและมี     การให้ความร่วมมือจากทุก                ตังคำาถาม สำารวจและ
                                                                  ้
 ส่ ว นร่ ว มใน         ฝ่ายในการดูแลและอนุรักษ์สิ่ง       สังเกต บันทึกข้อมูล วิเคราะห์
 การดู แ ลและ           แวดล้อมในท้องถิ่น ทำาให้สิ่ง       กำาหนดทางเลือก ประเมินทาง
 อนุ ร ั ก ษ์ ส ิ ่ ง   แวดล้อมในท้องถิ่นมีความสมดุล       เลือก และเลือกทางเลือก
 แวดล้ อ มใน            อย่างยั่งยืน                       ปฏิบติตามแนวทางการดูแล
                                                                ั
 ท้ อ งถิ ่ น อย่ า ง                                      และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้อง
 ยั ่ ง ยื น                                               ถิ่นโดยการมีส่วนร่วมจากทุก
                                                           ภาคส่วนในท้องถิ่น



สาระที ่ ๔ แรงและการเคลื ่ อ นที ่
มาตรฐาน ว ๔. ๑       เข้ า ใจธรรมชาติ ข องแรงแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า
           แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรงนิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ
           เสาะหาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป
           ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ค ุ ณ ธรรม

    ตั ว ชี ้ ว ั ด           ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร       ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.      อธิบาย          ๑.         ความเร่งคือ ความเร็ว      การสังเกต การตั้งคำาถาม
  ความเร่ง    และ         ที่เปลี่ยนไปในหนึ่ง หน่วย       สำารวจ บันทึกข้อมูล ตั้ง
  ผลของแรงลัพธ์ที่        เวลา หรืออัตราการเปลี่ยน        สมมติฐาน วิเคราะห์ กำาหนด
  ทำาต่อวัตถุ             ความเร็ว เป็นปริมาณ             ทางเลือก ทดสอบ ออกแบบ
                          เวคเตอร์                        การทดลอง ตรวจสอบและนำา
                        ๒.         วัตถุเคลื่อนที่ด้วย    เสนอข้อมูล
                          ความเร็วที่เปลี่ยนแปลง
                          เป็นการเคลื่อนที่ด้วย
                          ความเร่ง
                        ๓.         แรงลัพธ์มีค่าไม่
                          เท่ากับศูนย์กระทำาต่อวัตถุ
                          วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วย
                          ความเร่งซึ่งมีทิศทางเดียว
                          กับแรงลัพธ์
๒. ทดลองและ             ๑.         แรงกิริยา หมายถึง          ทดลองและอธิบายแรง
  อธิบายแรงกิริยา         แรงใด ๆ ที่กระทำาต่อวัตถุที่    กิริยาและแรงปฏิกิริยาระหว่าง
  และแรงปฏิกิริยา         จุดใดจุดหนึ่ง                   วัตถุ การนำาความรู้เรื่องแรง
  ระหว่างวัตถุ และ      ๒.         แรงปฏิกิริยา หมายถึง   กิริยาและแรงปฏิกิริยาไป
  นำาความรู้ไปใช้         แรงที่กระทำาตอบโต้ต่อแรง        ประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้
  ประโยชน์                กิริยาที่จุดเดียวกันโดยมี
                          ขนาดเท่ากับแรง กิริยา แต่
                          มีทิศทางตรงข้าม
                        ๓.         เมื่อมีแรงกิริยาจะมี
8


                         แรงปฏิกิริยาโต้ตอบด้วย
                         ขนาดของแรงเท่ากัน แต่มี
                         ทิศทางตรงข้าม




๓.      ทดลองและ       ๑.        แรงพยุง คือ แรงที่       การสังเกต การตั้งคำาถาม
  อธิบายแรง พยุง         ของเหลวกระทำาต่อวัตถุมีค่า สมมติฐานทดลองและอธิบาย
  ของของเหลวที่          เท่ากับนำ้าหนักของของเหลว นำาเสนอแรงพยุงของของเหลว
  กระทำาต่อวัตถุ         ที่มีปริมาตรเท่ากับส่วนที่จม ที่กระทำาต่อวัตถุ
                         ของวัตถุ
                       ๒.        ของเหลวที่มีความ
                         หนาแน่นมากจะมีแรงพยุง
                         มาก
                       ๓.        วัตถุที่ลอยได้ใน
                         ของเหลวจะมีความหนาแน่น
                         น้อยกว่าความหนาแน่นของ
                         ของเหลว




สาระที ่ ๔ แรงและการเคลื ่ อ นที ่
มาตรฐาน ว ๔.๒          เข้ า ใจลั ก ษณะการเคลื ่ อ นที ่ แ บบต่ า งๆ ของ
          วั ต ถุ ใ นธรรมชาติ ม ี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ แ ละ
          จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป
          ใช้ ป ระโยชน์

     ตั ว ชี ้ ว ั ด        ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร       ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑. ทดลองและ                   แรงเสียดทานสถิตเป็น         การสังเกต การตั้งคำาถาม ตั้ง
  อธิบายความแตก        แรงเสียดทานที่กระทำาต่อ        สมมติฐานทดลองและอธิบาย
  ต่างระหว่างแรง       วัตถุขณะหยุดนิ่ง ส่วนแรง       ความแตกต่างระหว่างแรงเสียด
                       เสียดทานจลน์เป็นแรงเสียด       ทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน์
  เสียดทานสถิตกับ
                       ทานที่กระทำาขณะวัตถุ           ออกแบบนำาความรู้เรื่องแรง
  แรงเสียดทานจลน์
                       เคลื่อนที่ซึ่งสามารถลดหรือ     เสียดทานไปประยุกต์ใช้
  และนำาความรู้ไป      เพิ่มแรงเสียดทานด้วยวิธีการ    ประโยชน์
  ใช้ประโยชน์          ต่างๆ
9




๒.       ทดลอง          ๑.เมื่อมีแรงที่กระทำาต่อวัตถุ      ตั้งคำาถาม สำารวจและสังเกต
  และวิเคราะห์            แล้วทำาให้เกิดโมเมนต์ของ      ทดลอง บันทึกข้อมุล วิเคราะห์
  โมเมนต์ของแรง           แรงรอบจุดหมุน วัตถุจะ         กำาหนดทางเลือก ตรวจสอบ สรุป
  และนำาความรู้ไป         เปลี่ยนสภาพการหมุน            ผล รายงาย และนำาความรู้ไป
  ใช้ประโยชน์           ๒. การวิเคราะห์โมเมนต์ของ       ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
                        แรงในสถานการณ์ต่าง ๆ
๓. สังเกตและ             การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้ง      การตั้งคำาถาม สังเกต
   อธิบายการ            การเคลื่อนที่ในแนวตรง           รวบรวมข้อมูล สรุป และอธิบาย
   เคลื่อนที่ของวัตถุ   เช่นการตกแบบเสรี และการ         การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนว
   ที่เป็นแนวตรง        เคลื่อนที่ในแนวโค้ง เช่น        ตรง และแนวโค้ง
   และแนวโค้ง           การเคลื่อนที่แบบโพรเจก
                        ไทล์ของลูกบาสเก็ตบอลใน
                        อากาศ การเคลื่อนที่แบบ
                        วงกลมของวัตถุที่ผู้เชือก
                        แกว่ง เป็นต้น




สาระที ่ ๕ พลั ง งาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑          เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งานกั บ
           การดำ า รงชี ว ิ ต การเปลี ่ ย นรู ป พลั ง งาน ปฏิ ส ั ม พั น ธ์
           ระหว่ า งสารและพลั ง งาน ผลของการใช้ พ ลั ง งานต่ อ
           ชี ว ิ ต และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ระบวน การสื บ เสาะ
10


                   หาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละ นำ า ความรู ้ ไ ปใช้
                   ประโยชน์
     ตั ว ชี ้ ว ั ด             ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร         ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.         อธิบาย          ๑.         การให้งานแก่วัตถุ       สังเกต ตั้งคำาถาม วางแผน
  พลังงานจลน์                 เป็นการถ่ายโอนพลังงานให้        ทดลอง/สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์
  พลังงานศักย์โน้ม            วัตถุ พลังงานนี้เป็นพลังงาน     จัดกระทำา อธิบาย นำาเสนอและ
  ถ่วงกฎการ                   กลซึ่งประกอบด้วยพลังงาน         เขียนรายงาน
  อนุรักษ์พลังงาน             ศักย์ และพลังงานจลน์
  และความสัมพันธ์             พลังงานจลน์เป็นพลังงาน
  ระหว่างปริมาณ               ของวัตถุและวัตถุเคลื่อนที่
  เหล่านี้ รวมทั้งนำา         ส่วนพลังงานศักย์โน้มถ่วง
  ความรู้ไปใช้                ของวัตถุ เป็นพลังงานของ
                              วัตถุที่อยู่สุงจากพื้นโลก
  ประโยชน์
                           ๒.         กฎการอนุรักษ์
                              พลังงานกล่าวว่า พลังงาน
                              รวมของวัตถุไม่สูญหาย แต่
                              สามารถเปลี่ยนรูปจากรูป
                              หนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้
                           ๓.         การนำากฎการอนุรักษ์
                              พลังงานไปใช้ประโยชน์ใน
                              การอธิบายปรากฏการณ์
                              เช่น พลังงานนำ้าเหนือเขื่อน
                              เปลี่ยนรูปจากพลัง งานศักย์
                              โน้มถ่วงเป็นพลังงานจลน์
                              ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม
๒.     ทดลองและ               ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า            สังเกต ตั้งคำาถาม วางแผน
 อธิบายความ                และความต้านทาน มีความ              ตั้งคำาถาม สังเกต ทดลอง
 สัมพันธ์ระหว่าง           สัมพันธ์กันตามกฎของโอห์ม           สืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล
 ความต่างศักย์             และนำากฎของโอห์มไปใช้              บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา
 กระแสไฟฟ้า                วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย        เสนออธิบาย ความสัมพันธ์
 ความต้านทาน                                                  ระหว่างความต่างศักย์ กระแส
 และนำาความรู้ไป                                              ไฟฟ้า ความต้านทาน ตามกฎ
 ใช้ประโยชน์                                                  ของโอห์ม และการนำาความรู้
                                                              ไปใช้ประโยชน์
11


๓.คำานวณพลังงาน          การคำานวณพลังงานไฟฟ้า           ตั้งคำาถาม คำานวณการใช้
  ไฟฟ้าของเครื่อง     ของเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นส่วน     ไฟฟ้า วางแผนสืบค้นข้อมูล
  ใช้ไฟฟ้า และนำา     หนึ่งของการคิดค่าไฟฟ้า นำา     สังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล
  ความรู้ไปใช้        ความรู้ไปใช้เป็นแนวทางใน       บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา
  ประโยชน์            การประหยัดพลังงานไฟฟ้าใน       เสนออธิบายการคำานวณการ
                      บ้าน                           ใช้ไฟฟ้าและนำาความรู้ไปใช้
                                                     เป็นแนวทางในการประหยัด
                                                     พลังงานไฟฟ้าในบ้าน
๔.     สังเกตและ         การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน       ตั้งคำาถาม สังเกต วางแผน
 อภิปรายการต่อ        ต้องออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่อง สืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล
 วงจรไฟฟ้าใน          ใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่าง
                      ถูกต้อง โดยต่อสวิตซ์แบบ        บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา
 บ้านอย่างถูกต้อง
 ปลอดภัย และ          อนุกรม ต่อเต้ารับแบบขนาน       เสนออธิบาย การต่อวงจร
 ประหยัด              และเพื่อความปลอดภัยต้องต่อ ไฟฟ้าในบ้านอย่างถูกต้อง
                      สายดินและฟิวส์ รวมทั้งต้อง     ปลอดภัย และประหยัด
                      คำานึงถึงการใช้ไฟฟ้าอย่าง
                      ประหยัด
  ๕.      อธิบายตัว      ตัวต้านทาน ไดโอด                ตั้งคำาถาม สังเกต วางแผน
  ต้านทาน ไดโอด       ทรานซิสเตอร์เป็นชิ้นส่วนอิเล็ค ทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล
  ทรานซิสเตอร์        ทรอนิกส์ มีสมบัติทางไฟฟ้าแตก บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา
  และทดลองต่อ         ต่างกัน ตัวต้านทานทำาหน้าที่   เสนออธิบาย การต่อต่อวงจร
  วงจร                จำากัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ได อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มี
  อิเล็กทรอนิกส์      โอดมีสมบัติให้กระแสไฟฟ้าผ่าน ทรานซิสเตอร์
  เบื้องต้นที่มี      ได้ทิศทางเดียว และ
  ทรานซิสเตอร์        ทรานซิสเตอร์ทำาหน้าที่เป็น
                      สวิตซ์ปิด – เปิด การประกอบ
                      วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
12
13


สาระที ่ ๗ ดาราศาสตร์ แ ละอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗. ๑            เข้ า ใจวิ ว ั ฒ นาการของระบบสุ ร ิ ย ะ
           กาแล็ ก ซี แ ละเอกภพการปฏิ ส ั ม พั น ธ์ ภ ายในระบบ
           สุ ร ิ ย ะและผลต่ อ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต บนโลก มี ก ระบวนการสื บ
           เสาะ หาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ การสื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่
           เรี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์

    ตั ว ชี ้ ว ั ด          ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร           ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
๑.       สืบค้นและ ๑.แรงโน้มถ่วงทำาให้ดวงจันทร์                ตั้งคำาถาม สังเกต วางแผน
  อธิบายความ              โคจรรอบโลกและดาว                  เก็บรวบรวม บันทึกผล อภิปราย
  สัมพันธ์ระหว่าง         บริวาร โคจรรอบดวงอาทิตย์
  ดวงอาทิตย์ โลก          เกิดเป็นระบบสุริยจักรวาล          สรุปและนำาเสนอ
  ดวงจันทร์และดาว ๒.แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์
  เคราะห์อื่น ๆ และ       ดวงอาทิตย์ กระทำาต่อโลก
  ผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่ง    ทำาให้เกิดปรากฎการณ์
  แวดล้อมและสิ่งมี        นำ้าขึ้น นำ้าลง11.
  ชีวิตบนโลก
๒.สืบค้นและอธิบาย          เอกภพประกอบด้วย ระบบ        สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเอกภพ
  องค์ประกอบของ        สุริยะ กาแล็กซีจำานวนมาก     ดาวฤกษ์ กาแลกซี ระบบสุริยะ
  เอกภพ กาแล็กซี       ซึ่งแต่ละกาแลกซีประกอบด้วย   และตำาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์
  และระบบสุริยะ        ดาวฤกษ์หลายล้านดวงอยู่เป็น   ออกแบบจำาลองกลุ่มดาว
                       ระบบด้วยแรงโน้มถ่วง          กาแล็กซี อภิปราย / วิเคราะห์
                                                    ความเชื่อกับดวงดาว
๓.ระบุตำาแหน่งของ         กาแล็กซีจำานวนมาก ซึ่ง       สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเอกภพ
 กลุ่มดาวและนำา         แต่ละกาแลกซีประกอบด้วย      ดาวฤกษ์      กาแลกซี ระบบ
 ความรู้ไปใช้           ดาวฤกษ์หลายล้านดวง อยู่เป็น สุริยะและตำาแหน่งของกลุ่ม
 ประโยชน์               ระบบด้วยแรงโน้มถ่วง         ดาวฤกษ์ ออกแบบจำาลองกลุ่ม
                                                    ดาว กาแล็กซี อภิปราย /
                                                    วิเคราะห์ความเชื่อกับดวงดาว

สาระที ่ ๗ ดาราศาสตร์ แ ละอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗.๒             เข้ า ใจความสำ า คั ญ ของเทคโนโลยี อ วกาศที ่
           นำ า มาใช้ ใ นการสำ า รวจอวกาศและรั พ ยากรธรรมชาติ
           ด้ า นการเกษตรและการสื ่ อ สาร มี ก ระบวนการสื บ
           เสาะหาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่
           เรี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งมี
           คุ ณ ธรรมต่ อ ชี ว ิ ต และสิ ่ ง แวดล้ อ ม
      ตั ว ชี ้ ว ั ด             ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร        ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
14


๑.สืบค้นและอภิปราย          จรวด ดาวเทียม และยาน           การสังเกต ตั้งคำาถาม
  ความก้าวหน้าของ        อวกาศ เป็นเทคโนโลยีอวกาศที่    สำารวจตรวจสอบ สืบค้น
  เทคโนโลยีอวกาศที่      มนุษย์นำามาใช้ประโยชน์ใน       สรุปและนำาเสนอเกี่ยวกับ
  ใช้สำารวจอวกาศ วัตถุ   การสำารวจข้อมูลของวัตถุ        ความก้าวหน้าของ
  ท้องฟ้า สภาวะอากาศ     ท้องฟ้า สภาวะอากาศ             เทคโนโลยีอวกาศ
  ทรัพยากรธรรมชาติ       การเกษตร และการสื่อสาร
  การเกษตร และการ
  สื่อสาร

สาระที ่ ๘ ธรรมชาติ ข องวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑            ใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละจิ ต วิ ท ยา
           ศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู ้ การแก้ ป ั ญ หา รู ้ ว ่ า
           ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ส่ ว นใหญ่ ม ี ร ู ป แบบ
           ที ่ แ น่ น อน สามารถอธิ บ ายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข ้ อ มู ล
           และเครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี อ ยู ่ ใ นช่ ว งเวลานั ้ น ๆ เข้ า ใจว่ า
           วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สั ง คม และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ค วาม
           เกี ่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ ก ั น

                     ตั ว ชี ้ ว ั ด                     ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร/ทำ า
                                                                    อะไรได้
๑.ตังคำาถามที่กำาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำาคัญในการ
     ้
   สำารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้
   อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
                                                         จะนำ า ไปแทรกใน
๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผน
   การสำารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
                                                        สาระที ่ ๑ – ๗        ใน
๓. เลือกเทคนิควิธีการสำารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ     การจั ด กิ จ กรรมการ
   เชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ       เรี ย นรู ้ เพื ่ อ
   และเครื่องมือที่เหมาะสม                              พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด
๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทำาข้อมูลเชิงปริมาณและ
   คุณภาพ
๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์
   พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
   สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำารวจ
   ตรวจสอบ
๖. สร้างแบบจำาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดง
   ผลของการสำารวจตรวจสอบ
๗. สร้างคำาถามที่นำาไปสู่การสำารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่
   เกี่ยวข้อง และนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่
   หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
15


   โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสำารวจ ตรวจสอบ
   ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่
   เชื่อถือได้ และยอมรับการ       เปลี่ยนแปลงความรู้ที่
   ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ
   โต้แย้งจากเดิม
๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยว
   กับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้น
   งานให้ผู้อื่นเข้าใจ

More Related Content

What's hot

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงานduckbellonly
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
Doc1
Doc1Doc1
Doc1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
Unit1 organism
Unit1 organismUnit1 organism
Unit1 organism
 
คำอธิบายรายวิชาใหม่ ม3.ใหม่
คำอธิบายรายวิชาใหม่ ม3.ใหม่คำอธิบายรายวิชาใหม่ ม3.ใหม่
คำอธิบายรายวิชาใหม่ ม3.ใหม่
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์ติวOnetวิทย์
ติวOnetวิทย์
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

Viewers also liked

ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศChao Chao
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีChao Chao
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์Chao Chao
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมChao Chao
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาChao Chao
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์Chao Chao
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะChao Chao
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1KruPa Jggdd
 

Viewers also liked (9)

ภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศภาษาต่างประเทศ
ภาษาต่างประเทศ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยีการงานอาชีพและเทคโนโลยี
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรมสังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม1
 

Similar to การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 

Similar to การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3 (20)

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Science dep curr2551
Science dep curr2551Science dep curr2551
Science dep curr2551
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
1
11
1
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ มเตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
เตรียมตัวก่อนสอบกลางภาค 2 วิทย์ ม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 

More from korakate

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751korakate
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtkorakate
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญาkorakate
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลkorakate
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Datakorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครูkorakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabuskorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapekorakate
 

More from korakate (20)

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
P72808851751
P72808851751P72808851751
P72808851751
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArtหน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การใส่รูปภาพในภาพนิ่งและการใช้ ClipArt
 
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญานิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
นิทาน กระต่ายน้อยเจ้าปํญา
 
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกลแจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
แจ้งประชาสัมพันธ์การอบรมสมองกล
 
Social Media Data
Social Media DataSocial Media Data
Social Media Data
 
Buriram1
Buriram1Buriram1
Buriram1
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
จำนวนครู
จำนวนครูจำนวนครู
จำนวนครู
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
0 syllabus
0 syllabus0 syllabus
0 syllabus
 
Inkscape
InkscapeInkscape
Inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Graphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscapeGraphic design by gimp&inkscape
Graphic design by gimp&inkscape
 
Gimp11
Gimp11Gimp11
Gimp11
 

การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3

  • 1. 1 กลุ ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ว ิ ท ยาศาสตร์ ชั ้ น มั ธ ยมศึ ก ษาปี ท ี ่ ๓ สาระที ่ ๑ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต กั บ กระบวนการดำ า รงชี ว ิ ต มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้ า ใจกระบวนการและความสำ า คั ญ ของ การถ่ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม วิ ว ั ฒ นาการของ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ความหลากหลายทางชี ว ภาพ การใช้ เทคโนโลยี ช ี ว ภาพที ่ ม ี ผ ลกระทบต่ อ มนุ ษ ย์ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ แ ละ จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สาร สิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ และนำ า ความรู ้ ไปใช้ ป ระโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. สังเกตและ นั ก เรี ย นรู ้ อ ะไร สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา อธิบายลักษณะ ๑.เมื่อมองเซลล์ผ่าน รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล ของโครโมโซมที่ กล้องจุลทรรศน์จะเห็นเส้น บันทึก และอธิบายลักษณะของ มีหน่วย ใยเล็กๆ พันกันอยู่ใน โครโมโซมและนำาเสนอให้ผู้อื่น พันธุกรรมหรือ นิวเคลียส เมื่อเกิดการแบ่ง เข้าใจ ยีนในนิวเคลียส เซลล์ เส้นใยเหล่านี้จะขด สั้นเข้าจนมีลักษณะเป็น ท่อนสั้น เรียกว่า โครโมโซม ๒. โครโมโซมประกอบ ด้วยดีเอ็นเอและโปรตีน ๓. ยีนหรือหน่วย พันธุกรรมเป็นส่วนหนึ่งที่ อยู่บนดีเอ็นเอ ๒. อธิบายความ ๑. เซลล์หรือสิ่งมีชีวิต มีสาร สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา สำาคัญของสาร พันธุกรรมหรือดีเอ็นเอที่ รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล พันธุกรรมหรือ ควบคุมลักษณะของการ บันทึก อธิบายลักษณะสำาคัญ ดีเอ็นเอ และ แสดงออก ของสารพันธุกรรม (DNA) และ กระบวนการ ๒. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ กระบวนการถ่ายทอดลักษณะ ถ่ายทอดลักษณะ ควบคุมด้วยยีนจากพ่อและ ทางพันธุกรรม ทางพันธุกรรม แม่สามารถถ่ายทอดสู่ลูก ผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์และ การปฏิสนธิ
  • 2. 2 ๓. อภิปรายโรค ๑. โรคธาลัสซีเมีย สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา ทางพันธุกรรมที่ ตาบอดสี เป็นโรคทาง รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล เกิดจากความ พันธุกรรม ที่เกิดจากความ บันทึก อภิปรายโรคทาง ผิดปกติของยีน ผิดปกติของยีน พันธุกรรมและนำาเสนอผลงาน และโครโมโซม ๒. กลุ่มอาการดาวน์เป็น ให้ผู้อื่นเข้าใจ และนำาความรู้ ความผิดปกติของร่างกาย ไปใช้ประโยชน์ ซึ่งเกิดจากการที่มีจำานวน โครโมโซมร่างกายเกินมา ๓. ความรู้เกี่ยวกับโรคทาง พันธุกรรมสามารถนำาไปใช้ ในการป้องกันโรค ดูแลผู้ ป่วยและวางแผนครอบครัว
  • 3. 3 ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๔. สำารวจและ ความหลากหลายทางชีวภาพที่ สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ อธิบายความ ทำาให้สิ่งมีชีวิตอยู่อย่างสมดุล ขึ้น รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล หลากหลายทาง อยู่กับความหลากหลายของระบบ บันทึก และอธิบายถึงความ ชีวภาพในท้อง นิเวศ ความหลากหลายของชนิด หลากหลากทางชีวภาพของ ถิ่นที่ทำาให้สิ่งมี สิ่งมีชีวิต และความหลากหลาย สิ่งมีชีวิต- ศึกษานอกสถานที่ ชีวิตดำารงชีวิตอยู่ ทางพันธุกรรม เกี่ยวกับความหลากหลาย ได้อย่างสมดุล ทางชีวภาพในท้องถิ่น ๕. อธิบายผลของ ๑. การตัดไม้ทำาลายป่าเป็น ตั้งคำาถาม สังเกต ความหลาก สาเหตุหนึ่งที่ทำาให้เกิดการสูญ วางแผน สำารวจ รวบรวม หลายทาง เสียความหลากหลายทาง วิเคราะห์ แสดงผล บันทึก ชีวภาพที่มีต่อ ชีวภาพ ซึ่งส่งผลกระทบต่อ อธิบายผลของความหลาก มนุษย์ สัตว์ พืช การดำารงชีวิตของมนุษย์ สัตว์ หลายทางชีวภาพต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม พืชและสิ่งแวดล้อม และนำาเสนอข้อมูลให้อื่น ๒. การใช้สารเคมีในการ เข้าใจได้ กำาจัดศัตรูพืชและสัตว์ ส่งผลก ระทบต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์และพืช ทำาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงความหลากหลาย ทางชีวภาพและส่งผลกระทบ ต่อสิ่งแวดล้อม ๖.อภิปรายผลของ ผลของเทคโนโลยีชีวภาพ มี สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ เทคโนโลยี ประโยชน์ต่อมนุษย์ ทั้งด้านการ รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล ชีวภาพต่อการ แพทย์ การเกษตรและ บันทึก อภิปรายผลของ ดำารงชีวิตของ อุตสาหกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ต่อการ มนุษย์และสิ่ง ดำารงชีวิตของมนุษย์และสิ่ง แวดล้อม แวดล้อมและนำาเสนอข้อมูลให้ ผู้อื่นเข้าใจ
  • 4. 4 สาระที ่ ชี ว ิ ต กั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม มาตรฐาน ว ๒. ๑ เข้ า ใจสิ ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ ่ น ความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ ่ ง แวดล้ อ มกั บ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ความ สั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งสิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต ต่ า ง ๆ ในระบบนิ เ วศ มี กระบวนการสื บ เสาะ หาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. สำารวจระบบนิเวศ ระบบนิเวศประกอบด้วยสิ่ง สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ ต่างๆในท้องถิ่น มีชีวิตหลายชนิดที่มีความ รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล และอธิบายความ เกี่ยวข้องและสัมพันธ์กันทั้งสิ่งมี บันทึก อภิปรายผลของระบบ สัมพันธ์ขององค์ ชีวิตและสิ่งแวดล้อมในแต่ละ นิเวศต่าง ๆ ในท้องถิ่นและ ประกอบภายใน ท้องถิ่นประกอบด้วยองค์ ความสัมพันธ์องค์ประกอบ ระบบนิเวศ ประกอบทางชีวภาพเฉพาะ ภายในระบบนิเวศ แต่ละท้องถิ่น ซึ่งมีความเกี่ยว ข้องสัมพันธืกันทั้งสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม ๒. วิเคราะห์และ สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กัน สังเกต ตั้งคำาถาม ศึกษา อธิบายความ โดยมีการถ่ายทอดพลังงานใน รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล สัมพันธ์ของการ รูปของโซ่อาหารและสายใย บันทึก อภิปรายผลของความ ถ่ายทอดพลังงาน อาหาร สัมพันธ์ของการถ่ายทอด ของสิ่งมีชีวิตในรูป พลังงานของสิ่งมีชีวิตในรูป ของโซ่อาหารและ ของโซ่อาหารและสายใย สายใยอาหาร อาหาร และนำาเสนอข้อมูลให้ผู้ อื่นเข้าใจ ๓. อธิบายวัฏจักร นำ้าและคาร์บอนเป็นองค์ สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ นำ้า วัฏจักร ประกอบในสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มี รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล คาร์บอน และ ชีวิต มีการหมุนเวียนเป็นวัฏจักร บันทึกและอธิบายถึงอธิบาย ความสำาคัญที่มีต่อ ในระบบนิเวศ ทำาให้สิ่งมีชีวิตใน วัฏจักรนำ้า วัฏจักรคาร์บอน และ ระบบนิเวศ ระบบสามารถนำาไปใช้ ความสำาคัญที่มีต่อระบบนิเวศ ประโยชน์
  • 5. 5 ๔. อธิบายปัจจัยที่มี ขนาดของประชากรเป็น สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ ผลต่อการ ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการ รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงในระบบนิเวศ บันทึกและอธิบายปัจจัยที่มี ผลต่อการเปลี่ยนแปลงขนาด ขนาดของ ของประชากรในระบบนิเวศ ประชากรในระบบ และนำาเสนอข้อมูลให้ผู้อื่น นิเวศ เข้าใจได้
  • 6. 6 สาระที ่ ๒ ชี ว ิ ต กั บ สิ ่ ง แวดล้ อ ม มาตรฐาน ว ๒.๒ เข้ า ใจความสำ า คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช้ ท รั พ ยากรธรรมชาติ ใ นระดั บ ท้ อ งถิ ่ น ประเทศ และโลกนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ใ นในการจั ด การ ทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ ่ ง แวดล้ อ มในท้ อ งถิ ่ น อย่ า ง ยั ่ ง ยื น ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. วิเคราะห์ สภาพแวดล้อมที่ถูกทำาลายโดย สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ สภาพปัญหาสิ่ง ภัยธรรมชาติและมนุษย์ก่อให้ รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล แวดล้อมทรัพยากร เกิดปัญหาและส่งผลกระทบต่อ บันทึกและอธิบายและนำาเสนอ ธรรมชาติในท้อง การดำารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ข้อมูลของสภาพปัญหาสิ่ง ถิ่น และ แวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ เสนอแนวทางใน ในท้องถิ่น และเสนอแนวทาง การแก้ไขปัญหา ในการแก้ไขปัญหา ๒. อธิบายแนวทาง การอนุรักษ์ สังเกต ตั้งคำาถาม สำารวจ การรักษาสมดุล ทรัพยากรธรรมชาติจะเป็นการ รวบรวม วิเคราะห์ แสดงผล ของระบบนิเวศ รักษาสมดุลของระบบนิเวศที่ บันทึกและอภิปรายผลของ ต้องมีการควบคุมจำานวนผู้ผลิต แนวทางการรักษาสมดุลของ ระบบนิเวศ และนำาเสนอข้อมูล ๓.อภิปรายการใช้ การอนุรักษ์ สำารวจและรวบรวมข้อมูล ทรัพยากรธรรมช ทรัพยากรธรรมชาติ วิเคราะห์ การอภิปราย สรุป วิธี าติ อย่างยั่งยืน เป็นการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ การนำาทรัพยากรธรรมชาติมา อย่างประหยัดและคุ้มค่า หาสิ่ง ใช้อย่างคุ้มค่าและยั่งยืนด้วย ทดแทนและ/หรือนำากลับมาใช้ วิธีการต่าง ๆ การอภิปรายการ ใหม่ ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ยั่งยืน ๔. วิเคราะห์และ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ สืบค้น และรวบรวมข้อมูล อธิบายการใช้ ตามแนวทางหลักปรัชญาของ วิเคราะห์ และอธิบาย วิธีการ ทรัพยากรธรรมช เศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทาง ใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ ตาม าติ ตามปรัชญา หนึ่งในการอนุรักษ์ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เศรษฐกิจพอเพียง ทรัพยากรธรรมชาติ เพียง ๕ อภิปรายปัญหา ปัญหาสิ่งแวดล้อมมีหลาก การสืบค้นข้อมูล รวรวมและ สิ่งแวดล้อมและ หลาย เช่น มลพิษทางนำ้า มลพิษ วิเคราะห์ อภิปราย กำาหนด เสนอแนะแนว ทางเสียง มลพิษทางอากาศ แนวทางการแก้ปัญหาสิ่ง ทางการแก้ มลพิษทางดิน ฯลฯ การป้องกัน แวดล้อม ปัญหา และแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่ เหมาะสมเป็นระบบทุกคนมีส่วน ร่วมทำาให้ปัญหาดังกล่าวลดลง และอาจจะหมดไปได้ในที่สุด
  • 7. 7 ๖ . อ ภิ ป รายและมี การให้ความร่วมมือจากทุก ตังคำาถาม สำารวจและ ้ ส่ ว นร่ ว มใน ฝ่ายในการดูแลและอนุรักษ์สิ่ง สังเกต บันทึกข้อมูล วิเคราะห์ การดู แ ลและ แวดล้อมในท้องถิ่น ทำาให้สิ่ง กำาหนดทางเลือก ประเมินทาง อนุ ร ั ก ษ์ ส ิ ่ ง แวดล้อมในท้องถิ่นมีความสมดุล เลือก และเลือกทางเลือก แวดล้ อ มใน อย่างยั่งยืน ปฏิบติตามแนวทางการดูแล ั ท้ อ งถิ ่ น อย่ า ง และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในท้อง ยั ่ ง ยื น ถิ่นโดยการมีส่วนร่วมจากทุก ภาคส่วนในท้องถิ่น สาระที ่ ๔ แรงและการเคลื ่ อ นที ่ มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้ า ใจธรรมชาติ ข องแรงแม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า แรงโน้ ม ถ่ ว ง และแรงนิ ว เคลี ย ร์ มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป ใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งและมี ค ุ ณ ธรรม ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. อธิบาย ๑. ความเร่งคือ ความเร็ว การสังเกต การตั้งคำาถาม ความเร่ง และ ที่เปลี่ยนไปในหนึ่ง หน่วย สำารวจ บันทึกข้อมูล ตั้ง ผลของแรงลัพธ์ที่ เวลา หรืออัตราการเปลี่ยน สมมติฐาน วิเคราะห์ กำาหนด ทำาต่อวัตถุ ความเร็ว เป็นปริมาณ ทางเลือก ทดสอบ ออกแบบ เวคเตอร์ การทดลอง ตรวจสอบและนำา ๒. วัตถุเคลื่อนที่ด้วย เสนอข้อมูล ความเร็วที่เปลี่ยนแปลง เป็นการเคลื่อนที่ด้วย ความเร่ง ๓. แรงลัพธ์มีค่าไม่ เท่ากับศูนย์กระทำาต่อวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่ด้วย ความเร่งซึ่งมีทิศทางเดียว กับแรงลัพธ์ ๒. ทดลองและ ๑. แรงกิริยา หมายถึง ทดลองและอธิบายแรง อธิบายแรงกิริยา แรงใด ๆ ที่กระทำาต่อวัตถุที่ กิริยาและแรงปฏิกิริยาระหว่าง และแรงปฏิกิริยา จุดใดจุดหนึ่ง วัตถุ การนำาความรู้เรื่องแรง ระหว่างวัตถุ และ ๒. แรงปฏิกิริยา หมายถึง กิริยาและแรงปฏิกิริยาไป นำาความรู้ไปใช้ แรงที่กระทำาตอบโต้ต่อแรง ประยุกต์ใช้ประโยชน์ได้ ประโยชน์ กิริยาที่จุดเดียวกันโดยมี ขนาดเท่ากับแรง กิริยา แต่ มีทิศทางตรงข้าม ๓. เมื่อมีแรงกิริยาจะมี
  • 8. 8 แรงปฏิกิริยาโต้ตอบด้วย ขนาดของแรงเท่ากัน แต่มี ทิศทางตรงข้าม ๓. ทดลองและ ๑. แรงพยุง คือ แรงที่ การสังเกต การตั้งคำาถาม อธิบายแรง พยุง ของเหลวกระทำาต่อวัตถุมีค่า สมมติฐานทดลองและอธิบาย ของของเหลวที่ เท่ากับนำ้าหนักของของเหลว นำาเสนอแรงพยุงของของเหลว กระทำาต่อวัตถุ ที่มีปริมาตรเท่ากับส่วนที่จม ที่กระทำาต่อวัตถุ ของวัตถุ ๒. ของเหลวที่มีความ หนาแน่นมากจะมีแรงพยุง มาก ๓. วัตถุที่ลอยได้ใน ของเหลวจะมีความหนาแน่น น้อยกว่าความหนาแน่นของ ของเหลว สาระที ่ ๔ แรงและการเคลื ่ อ นที ่ มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้ า ใจลั ก ษณะการเคลื ่ อ นที ่ แ บบต่ า งๆ ของ วั ต ถุ ใ นธรรมชาติ ม ี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ แ ละ จิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ป ใช้ ป ระโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. ทดลองและ แรงเสียดทานสถิตเป็น การสังเกต การตั้งคำาถาม ตั้ง อธิบายความแตก แรงเสียดทานที่กระทำาต่อ สมมติฐานทดลองและอธิบาย ต่างระหว่างแรง วัตถุขณะหยุดนิ่ง ส่วนแรง ความแตกต่างระหว่างแรงเสียด เสียดทานจลน์เป็นแรงเสียด ทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน์ เสียดทานสถิตกับ ทานที่กระทำาขณะวัตถุ ออกแบบนำาความรู้เรื่องแรง แรงเสียดทานจลน์ เคลื่อนที่ซึ่งสามารถลดหรือ เสียดทานไปประยุกต์ใช้ และนำาความรู้ไป เพิ่มแรงเสียดทานด้วยวิธีการ ประโยชน์ ใช้ประโยชน์ ต่างๆ
  • 9. 9 ๒. ทดลอง ๑.เมื่อมีแรงที่กระทำาต่อวัตถุ ตั้งคำาถาม สำารวจและสังเกต และวิเคราะห์ แล้วทำาให้เกิดโมเมนต์ของ ทดลอง บันทึกข้อมุล วิเคราะห์ โมเมนต์ของแรง แรงรอบจุดหมุน วัตถุจะ กำาหนดทางเลือก ตรวจสอบ สรุป และนำาความรู้ไป เปลี่ยนสภาพการหมุน ผล รายงาย และนำาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ๒. การวิเคราะห์โมเมนต์ของ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน แรงในสถานการณ์ต่าง ๆ ๓. สังเกตและ การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้ง การตั้งคำาถาม สังเกต อธิบายการ การเคลื่อนที่ในแนวตรง รวบรวมข้อมูล สรุป และอธิบาย เคลื่อนที่ของวัตถุ เช่นการตกแบบเสรี และการ การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็นแนว ที่เป็นแนวตรง เคลื่อนที่ในแนวโค้ง เช่น ตรง และแนวโค้ง และแนวโค้ง การเคลื่อนที่แบบโพรเจก ไทล์ของลูกบาสเก็ตบอลใน อากาศ การเคลื่อนที่แบบ วงกลมของวัตถุที่ผู้เชือก แกว่ง เป็นต้น สาระที ่ ๕ พลั ง งาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งพลั ง งานกั บ การดำ า รงชี ว ิ ต การเปลี ่ ย นรู ป พลั ง งาน ปฏิ ส ั ม พั น ธ์ ระหว่ า งสารและพลั ง งาน ผลของการใช้ พ ลั ง งานต่ อ ชี ว ิ ต และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ก ระบวน การสื บ เสาะ
  • 10. 10 หาความรู ้ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เ รี ย นรู ้ แ ละ นำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ประโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. อธิบาย ๑. การให้งานแก่วัตถุ สังเกต ตั้งคำาถาม วางแผน พลังงานจลน์ เป็นการถ่ายโอนพลังงานให้ ทดลอง/สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ พลังงานศักย์โน้ม วัตถุ พลังงานนี้เป็นพลังงาน จัดกระทำา อธิบาย นำาเสนอและ ถ่วงกฎการ กลซึ่งประกอบด้วยพลังงาน เขียนรายงาน อนุรักษ์พลังงาน ศักย์ และพลังงานจลน์ และความสัมพันธ์ พลังงานจลน์เป็นพลังงาน ระหว่างปริมาณ ของวัตถุและวัตถุเคลื่อนที่ เหล่านี้ รวมทั้งนำา ส่วนพลังงานศักย์โน้มถ่วง ความรู้ไปใช้ ของวัตถุ เป็นพลังงานของ วัตถุที่อยู่สุงจากพื้นโลก ประโยชน์ ๒. กฎการอนุรักษ์ พลังงานกล่าวว่า พลังงาน รวมของวัตถุไม่สูญหาย แต่ สามารถเปลี่ยนรูปจากรูป หนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ ๓. การนำากฎการอนุรักษ์ พลังงานไปใช้ประโยชน์ใน การอธิบายปรากฏการณ์ เช่น พลังงานนำ้าเหนือเขื่อน เปลี่ยนรูปจากพลัง งานศักย์ โน้มถ่วงเป็นพลังงานจลน์ ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม ๒. ทดลองและ ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า สังเกต ตั้งคำาถาม วางแผน อธิบายความ และความต้านทาน มีความ ตั้งคำาถาม สังเกต ทดลอง สัมพันธ์ระหว่าง สัมพันธ์กันตามกฎของโอห์ม สืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล ความต่างศักย์ และนำากฎของโอห์มไปใช้ บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา กระแสไฟฟ้า วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย เสนออธิบาย ความสัมพันธ์ ความต้านทาน ระหว่างความต่างศักย์ กระแส และนำาความรู้ไป ไฟฟ้า ความต้านทาน ตามกฎ ใช้ประโยชน์ ของโอห์ม และการนำาความรู้ ไปใช้ประโยชน์
  • 11. 11 ๓.คำานวณพลังงาน การคำานวณพลังงานไฟฟ้า ตั้งคำาถาม คำานวณการใช้ ไฟฟ้าของเครื่อง ของเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นส่วน ไฟฟ้า วางแผนสืบค้นข้อมูล ใช้ไฟฟ้า และนำา หนึ่งของการคิดค่าไฟฟ้า นำา สังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล ความรู้ไปใช้ ความรู้ไปใช้เป็นแนวทางใน บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา ประโยชน์ การประหยัดพลังงานไฟฟ้าใน เสนออธิบายการคำานวณการ บ้าน ใช้ไฟฟ้าและนำาความรู้ไปใช้ เป็นแนวทางในการประหยัด พลังงานไฟฟ้าในบ้าน ๔. สังเกตและ การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน ตั้งคำาถาม สังเกต วางแผน อภิปรายการต่อ ต้องออกแบบวงจร ติดตั้งเครื่อง สืบค้นข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล วงจรไฟฟ้าใน ใช้ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่าง ถูกต้อง โดยต่อสวิตซ์แบบ บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา บ้านอย่างถูกต้อง ปลอดภัย และ อนุกรม ต่อเต้ารับแบบขนาน เสนออธิบาย การต่อวงจร ประหยัด และเพื่อความปลอดภัยต้องต่อ ไฟฟ้าในบ้านอย่างถูกต้อง สายดินและฟิวส์ รวมทั้งต้อง ปลอดภัย และประหยัด คำานึงถึงการใช้ไฟฟ้าอย่าง ประหยัด ๕. อธิบายตัว ตัวต้านทาน ไดโอด ตั้งคำาถาม สังเกต วางแผน ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์เป็นชิ้นส่วนอิเล็ค ทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล ทรานซิสเตอร์ ทรอนิกส์ มีสมบัติทางไฟฟ้าแตก บันทึกผล อภิปราย สรุปและนำา และทดลองต่อ ต่างกัน ตัวต้านทานทำาหน้าที่ เสนออธิบาย การต่อต่อวงจร วงจร จำากัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ได อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มี อิเล็กทรอนิกส์ โอดมีสมบัติให้กระแสไฟฟ้าผ่าน ทรานซิสเตอร์ เบื้องต้นที่มี ได้ทิศทางเดียว และ ทรานซิสเตอร์ ทรานซิสเตอร์ทำาหน้าที่เป็น สวิตซ์ปิด – เปิด การประกอบ วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
  • 12. 12
  • 13. 13 สาระที ่ ๗ ดาราศาสตร์ แ ละอวกาศ มาตรฐาน ว ๗. ๑ เข้ า ใจวิ ว ั ฒ นาการของระบบสุ ร ิ ย ะ กาแล็ ก ซี แ ละเอกภพการปฏิ ส ั ม พั น ธ์ ภ ายในระบบ สุ ร ิ ย ะและผลต่ อ สิ ่ ง มี ช ี ว ิ ต บนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ การสื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เรี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้ ๑. สืบค้นและ ๑.แรงโน้มถ่วงทำาให้ดวงจันทร์ ตั้งคำาถาม สังเกต วางแผน อธิบายความ โคจรรอบโลกและดาว เก็บรวบรวม บันทึกผล อภิปราย สัมพันธ์ระหว่าง บริวาร โคจรรอบดวงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์ โลก เกิดเป็นระบบสุริยจักรวาล สรุปและนำาเสนอ ดวงจันทร์และดาว ๒.แรงโน้มถ่วงที่ดวงจันทร์ เคราะห์อื่น ๆ และ ดวงอาทิตย์ กระทำาต่อโลก ผลที่เกิดขึ้นต่อสิ่ง ทำาให้เกิดปรากฎการณ์ แวดล้อมและสิ่งมี นำ้าขึ้น นำ้าลง11. ชีวิตบนโลก ๒.สืบค้นและอธิบาย เอกภพประกอบด้วย ระบบ สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเอกภพ องค์ประกอบของ สุริยะ กาแล็กซีจำานวนมาก ดาวฤกษ์ กาแลกซี ระบบสุริยะ เอกภพ กาแล็กซี ซึ่งแต่ละกาแลกซีประกอบด้วย และตำาแหน่งของกลุ่มดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ ดาวฤกษ์หลายล้านดวงอยู่เป็น ออกแบบจำาลองกลุ่มดาว ระบบด้วยแรงโน้มถ่วง กาแล็กซี อภิปราย / วิเคราะห์ ความเชื่อกับดวงดาว ๓.ระบุตำาแหน่งของ กาแล็กซีจำานวนมาก ซึ่ง สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับเอกภพ กลุ่มดาวและนำา แต่ละกาแลกซีประกอบด้วย ดาวฤกษ์ กาแลกซี ระบบ ความรู้ไปใช้ ดาวฤกษ์หลายล้านดวง อยู่เป็น สุริยะและตำาแหน่งของกลุ่ม ประโยชน์ ระบบด้วยแรงโน้มถ่วง ดาวฤกษ์ ออกแบบจำาลองกลุ่ม ดาว กาแล็กซี อภิปราย / วิเคราะห์ความเชื่อกับดวงดาว สาระที ่ ๗ ดาราศาสตร์ แ ละอวกาศ มาตรฐาน ว ๗.๒ เข้ า ใจความสำ า คั ญ ของเทคโนโลยี อ วกาศที ่ นำ า มาใช้ ใ นการสำ า รวจอวกาศและรั พ ยากรธรรมชาติ ด้ า นการเกษตรและการสื ่ อ สาร มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู ้ แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร์ สื ่ อ สารสิ ่ ง ที ่ เรี ย นรู ้ แ ละนำ า ความรู ้ ไ ปใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งมี คุ ณ ธรรมต่ อ ชี ว ิ ต และสิ ่ ง แวดล้ อ ม ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร ผู ้ เ รี ย นทำ า อะไรได้
  • 14. 14 ๑.สืบค้นและอภิปราย จรวด ดาวเทียม และยาน การสังเกต ตั้งคำาถาม ความก้าวหน้าของ อวกาศ เป็นเทคโนโลยีอวกาศที่ สำารวจตรวจสอบ สืบค้น เทคโนโลยีอวกาศที่ มนุษย์นำามาใช้ประโยชน์ใน สรุปและนำาเสนอเกี่ยวกับ ใช้สำารวจอวกาศ วัตถุ การสำารวจข้อมูลของวัตถุ ความก้าวหน้าของ ท้องฟ้า สภาวะอากาศ ท้องฟ้า สภาวะอากาศ เทคโนโลยีอวกาศ ทรัพยากรธรรมชาติ การเกษตร และการสื่อสาร การเกษตร และการ สื่อสาร สาระที ่ ๘ ธรรมชาติ ข องวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้ ก ระบวนการทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละจิ ต วิ ท ยา ศาสตร์ ใ นการสื บ เสาะหาความรู ้ การแก้ ป ั ญ หา รู ้ ว ่ า ปรากฏการณ์ ท างธรรมชาติ ท ี ่ เ กิ ด ขึ ้ น ส่ ว นใหญ่ ม ี ร ู ป แบบ ที ่ แ น่ น อน สามารถอธิ บ ายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข ้ อ มู ล และเครื ่ อ งมื อ ที ่ ม ี อ ยู ่ ใ นช่ ว งเวลานั ้ น ๆ เข้ า ใจว่ า วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี สั ง คม และสิ ่ ง แวดล้ อ ม มี ค วาม เกี ่ ย วข้ อ งสั ม พั น ธ์ ก ั น ตั ว ชี ้ ว ั ด ผู ้ เ รี ย นรู ้ อ ะไร/ทำ า อะไรได้ ๑.ตังคำาถามที่กำาหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สำาคัญในการ ้ สำารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจได้ อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ จะนำ า ไปแทรกใน ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผน การสำารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี สาระที ่ ๑ – ๗ ใน ๓. เลือกเทคนิควิธีการสำารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ การจั ด กิ จ กรรมการ เชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุ เรี ย นรู ้ เพื ่ อ และเครื่องมือที่เหมาะสม พั ฒ นาทั ก ษะการคิ ด ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทำาข้อมูลเชิงปริมาณและ คุณภาพ ๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์ พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสำารวจ ตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจำาลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดง ผลของการสำารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคำาถามที่นำาไปสู่การสำารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่ เกี่ยวข้อง และนำาความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
  • 15. 15 โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสำารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ข้อมูลที่ เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มขึ้นหรือ โต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยว กับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้น งานให้ผู้อื่นเข้าใจ