SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  73
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 
เสนอ 
อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล 
วิชา ส33101 สังคมศึกษา 
โรงเรียนสตรีวิทยา 
จัดทา โดย 
นางสาวศิริกาญจน์แก้วมณีมงคล ม.6.5 เลขที่ 46 
นางสาวน้า ทิพย์ วรรณขจีพิบูลย์ม.6.5 เลขที่47
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย 
• “เมโสโปเตเมีย” 
เป็นคา ในภาษากรีก 
เป็นชื่อเรียกดินแดนที่อยู่ระหว่างแม่น้า 2 สาย ใน 
ตะวันออกกลาง คือ แม่น้า ไทกริส (Tigris) และ 
ยูเฟรทีส (Euphrates) ปัจจุบันคือดินแดนในประเทศ 
อิรัก
แม่น้าไทกริส (Tigris) 
• เป็นแม่น้า ที่มีต้นน้า อยู่ในเทือกเขาทางตะวันออกของ 
ประเทศตุรกี ยาวประมาณ 1,900 กิโลเมตร ไหลผ่าน 
ชายแดนประเทศซีเรีย เข้าดินแดนอารยธรรม 
เมโสโปเตเมียเดิมหรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้ว 
มารวมกับแม่น้ายูเฟรทีสใกล้เมืองบัสรา เกิดเป็น 
แม่น้าใหม่คือ แม่น้าชัตต์อัลอาหรับ มีความยาว 
ประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลงสู่อ่าวเปอร์เซีย
แม่น้ายูเฟรทีส (Euphrates) 
• คือแม่น้าที่มีต้นน้าอยู่ในเทือกเขาทางตะวันออกของ 
ประเทศตุรกี ยาวประมาณ 2,300 กิโลเมตร ไหลเข้า 
ประเทศซีเรีย เข้าดินแดนอารยธรรมเมโสโปเตเมียเดิม 
หรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้วมารวมกับแม่น้า ไทกริส 
ใกล้เมืองบัสรา เกิดเป็นแม่น้าใหม่ชื่อ แม่น้าชัตต์อัล 
อาหรับ ที่มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลง 
สู่อ่าวเปอร์เซีย
• อารยธรรมเมโสโปเตเมียมีความหมายครอบคลุมความ 
เจริญรุ่งเรืองที่เกิดขึ้นในดินแดน เมโสโปเตเมียและบริเวณ 
รอบๆ ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมาณปี 3000 ก่อนคริสต์ศักราช หรือ 
5000 ปีมาแล้ว กลุ่มชนที่มีส่วนสร้างสรรค์อารยธรรม 
เมโสโปเตเมีย ได้แก่ พวกสุเมเรียน บาบิโลเนียน แอลซีเรียน 
แคลเดียน ฮิตไทต์ ฟินีเชียน เปอร์เซีย และฮิบรูซึ่งได้พลัด 
เปลี่ยนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ พวกเขารับความเจริญเดิม 
ที่สืบทอดมาและพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าขึ้นพร้อมๆ กับ 
คิดค้นความเจริญใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 
จึงเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างที่ดินแดนอื่นๆ 
นาไปใช้สืบต่อมา
• เป็นแหล่งอารยธรรมแห่งแรกของโลก 
• เป็นเขตที่ราบลุ่มน้า อันอุดมสมบรูณ์ที่อยู่ท่ามกลางอาณา 
บริเวณที่เป็นทะเลทรายและเขตภูเขา 
• เนื่องจากมีความอุดมสมบรูณ์จึงเป็นปัจจัยให้ชั้นกลุ่ม 
ต่างๆอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและผลัดกันสร้างสรรค์ 
อารยธรรมสืบเนื่องต่อกันมา 
• เป็นดินแดนที่ครอบคลุมอาณาเขตกว้างขวาง พื้นที่ 
ตอนบนของลุ่มน้า มีลักษณะเป็นที่ราบสูงกว่าทางตอนใต้ 
และจะลาดต่า ลงมายังพื้นที่ราบลุ่มตอนล่าง
• พื้นที่ตอนบนมีความแห้งแล้งการเกษตรต้องใช้ระบบ 
ชลประทาน 
• พื้นที่ราบลุ่มตอนล่างเป็นที่ราบต่า เป็นดินดอนมีความอุดม 
สมบรูณ์ 
• เนื่องจากการทับถมของดินตะกอนที่แม่น้าาทั้งสองสายพัดเอา 
โคลนตมมาทับถมไว้บริเวณปากแม่น้า ทา ให้เกิดพื้นดินงอก 
ตรงปากแม่น้า ทุกปีบริเวณนี้เรียกว่า บาบิโลนเนีย (Babylonia) 
• “บาบิโลเนีย” เป็น เขตติดต่อ กับอ่าวเปอร์เซียเป็นดินแดนที่มี 
ความอุดมสมบรูณ์เป็นแหล่งกา เนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมีย 
• ทิศเหนือจดทะเลดา และทะเลแคสเปียน 
• ทิศตะวันตกเฉียงใต้จดคาบสมุทรอาระเบีย 
• ทิศตะวันออกจดที่ราบสูงอิหร่าน 
• ทิศตะวันตกจดที่ราบซีเรียและปาเลสไตน์
1.ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดอารย 
ธรรมเมโสโปเตเมีย 
• สภาพภูมิศาสตร์และภูมิปัญญาของกลุ่มชน เป็น 
ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
สภาพภูมิศาสตร์ของดินแดนเมโสโปเตเมีย 
• ลักษณะที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณใกล้เคียง มี 
ภูมิอากาศร้อนแห้งแล้งและมีปริมาณน้าฝนน้อย อย่างไรก็ตาม 
บริเวณนี้ก็มีเขตที่อุดมสมบูรณ์อยู่บ้างเรียกว่า “ดินแดนรูปดวงจันทร์ 
เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์” ซึ่งรวมถึงดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณ 
ฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหรือเขตประเทศซีเรีย เลบานอน ปาเลสไตน์ 
และอิสรเอลในปัจจุบัน ดินแดนเมโสโปเตเมียได้รับความอุดม 
สมบูรณ์จากแม่น้า ไทกริสและยูเฟรทีสและน้า จากหิมะละลายบน 
เทือกเขาในเขตอาร์เมเนียทางตอนเหนือ ซึ่งพัดพาโคลนตมมาทับถม 
บริเวณสองฝั่งแม่น้า กลายเป็นปุ๋ยในการเพาะปลูก กลุ่มชนอื่นที่อยู่ 
ใกล้เคียงจึงพยายามขยายอา นาจเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้
• ขณะเดียวกันผู้ที่อยู่เดิมก็ต้องสร้างความมั่งคงและ 
แข็งแกร่งเพื่อต่อต้านศัตรูที่มารุกรานจึงมีการสร้างกาแพง 
เมืองและคิดค้นอาวุธยุทโธปกรณ์ในการทาศึกสงคราม 
เช่น อาวุธ รถม้าศึก ฯลฯ 
• อนึ่ง ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียสามารถติดต่อกับ 
ดินแดนอื่นได้สะดวกทั้งทางด้านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน 
และอ่าวเปอร์เซีย จึงมีการติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยน 
ความเจริญกับดินแดนอื่นอยู่เสมอ ทาให้เกิดการ 
ผสมผสานและสืบทอดอารยธรรม
ภูมิปัญญาของกลุ่มชน 
• อารยธรรมเมโสโปเตเมียเกิดจากภูมิปัญญาของ 
กลุ่มชนที่อาศัยในดินแดนแห่งนี้ การคิดค้นและ 
พัฒนาความเจริญเกิดจากความจาเป็นที่ต้อง 
เอาชนะธรรมชาติเพื่อ ความอยู่รอด การจัด 
ระเบียบในสังคมและความต้องการขยายอา นาจ
การเอาชนะธรรมชาติ 
• แม้ว่าดินแดนเมโสโปเตเมียจะได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่นา้ไทกริส 
และยูเฟรติส แต่ก็มีนา้ท่วมเป็นประจาทุกปี ส่วนบริเวณที่ห่างฝั่งแม่นา้ 
มักแห้งแล้ง ชาวสุเรียนจึงคิดค้นระบบชนประทานเป็นครั้งแรก 
ประกอบด้วยทานบป้องกันนา้ท่วม คลองส่งนา้ และอ่างเก็บนา้ วิธีนี้ 
ช่วยให้การเพาะปลูกได้ผลดี อนึ่ง ในเขตที่อยู่อาศัยของพวกสุเมเรียนไม่ 
มีวัสดุก่อสร้างที่แข็งแรงคงทน เช่น หินชนิดต่างๆ ชาวสุเมเรียนจึงคิดหา 
วิธีทาอิฐจากดินแดนและฟาง ซงึ่แม้จะมีนา้หนักเบากว่าหินแต่ก็มีความ 
ทนทาน และใช้อิฐก่อสร้างสถานที่ต่างๆ รวมทัง้กาแพงเมือง นอกจากนี้ 
ยังใช้ดินเหนียวเป็นวัสดุสาคัญในการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มด้วย
การจัดระเบียบในสังคม 
• เมื่อมีความเจริญเติบโตและมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น การอยู่กัน 
เป็นชุมชนจึงจาเป็นต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ของสังคม 
ได้แก่ การแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อกา หนดหน้าที่และ 
สถานะ การจัดเก็บภาษีเพื่อนารายได้ไปใช้พัฒนาความเจริญ 
ให้แก่ชุมชน การออกกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการ 
ปกครอง เช่น ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีแห่ง 
บาบิโลเนีย ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็นกฎหมายแม่บทของโลก 
ตะวันตก
การขยายอา นาจ 
• ความยิ่งใหญ่ของชนชาติที่ปกครองดินแดนเมโสโปเตเมียส่วนหนึ่งเกิด 
จากการขยายอานาจเพื่อรุกรานและครอบครองดินแดนอื่น เช่น พวก 
แอสซีเรียนสามารถสถาปนาจักรวรรดิแอสซีเรียนที่เข้มแข็งได้ เพราะมี 
เทคโนโลยีทางการทหารที่ก้าวหน้าและน่าเกรงขาม โดยประดิษฐ์คิดค้น 
อาวุธสงครามและเครื่องมือต่างๆ รวมทัง้ยุทธวิธีในการทาสงคราม เช่น 
ดาบเหล็ก หอกยาว ธนู เครื่องกระทุ้งสาหรับทาลายกาแพงและประตู 
เมือง รถศึก เสือ้เกราะ โล่ หมวกเหล็ก ฯลฯ ซึ่งต่อมาถูกนาไปใช้ 
แพร่หลายในทวีปยุโรป
• ลักษณะชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในแหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียเป็น 
ชนหลายกลุ่มหลายเผ่าผลัดกันมาตั้งถิ่นฐาน และมีอา นาจใน 
ดินแดนแถบนี้ทา ให้อารยธรรมมีลักษณะการผสมผสานของกลุ่ม 
ชนที่เข้ามาอยู่ ได้แก่ 
• สุเมเรียน (Sumerian) • อัสซีเรียน(Assyrian) 
• แอคคัด(Akkad) • คาลเดียน(Chaldean) 
• อามอไรต์(Amorite) • ฮิตไทต์(Hitite)
2.การหล่อหลอมอารยธรรมของชนชาติ 
ต่างๆในเมโสโปเตเมีย 
• อารยธรรม ในดินแดนเมโสโปเตเมียไม่ได้เกิดขึ้น 
โดยการสร้างสรรค์ของชนชาติใดชาติหนึ่ง 
โดยเฉพาะดังเช่นอารยธรรมอื่น หากแต่มีชนชาติ 
ต่างๆ ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองและสร้าง 
ความเจริญ แล้วหล่อหลอมรวมเป็นอารยธรรม 
เมโสโปเตเมีย
• สุเมเรียนเป็นชื่อเรียกกลุ่มคนที่อพยพเข้ามาอยู่ในเขตซูเมอร์ 
(Sumer) หรือบริเวณตอนใต้สุดของแม่น้า ไทกริสและยูเฟรทีส 
ซึ่งติดกับปากอ่าวเปอร์เซียเมื่อประมาณ 5000 ปีมาแล้ว พวก 
สุเมเรียนได้พัฒนาความเจริญรุ่งเรืองที่ก้าวหน้าทัดเทียมกับ 
อารยธรรมอียิสุปเมต์ เรีเช่ยน รู้(Sumerian) 
จักประดิษฐ์ตัวอักษรคูนิฟอร์มหรือ 
อักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียวแล้วนาไปเผาไฟ การคานวณ การ 
พัฒนามาตราชั่ง ตวง วัด การทาปฏิทิน การใช้แร่โลหะ การ 
คิดค้นระบบชลประทานเพื่อส่งเสริมการกสิกรรม และการ 
ก่อสร้างสถานที่ศักด์ิสิทธ์ิเพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า ฯลฯ ทา 
ให้นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าอารยธรรมโลกเริ่มต้นที่ 
เขตซูเมอร์
• ชาวสุเมเรียนอยู่รวมกันเป็นนครรัฐเล็กๆ หลายแห่ง เช่น 
เมืองเออร์(Ur) เมืองอูรุก (Uruk) เมืองคิช (Kish) และเมือง 
นิปเปอร์(Nippur) แต่ละแห่งไม่มีกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครอง 
นคร เพราะพวกสุเมเรียนเชื่อว่าพวกเขามีเทพเจ้าคุ้มครอง 
จึงมีเพียงพระหรือนักบวชเป็นผู้ทาพิธีบูชาเทพเจ้าและ 
จัดการปกครองในเขตของตน อย่างไรก็ตาม การที่นครรัฐ 
ต่างๆ ล้วนเป็นอิสระต่อกันทาให้ไม่สามารถรวมกันเป็น 
ปึกแผ่นได้ ดินแดนของพวกสุเมเรียนจึงถูกรุกรานจากชน 
กลุ่มอื่น คือพวกแอคคัดและอมอไรต์
สังคมแบ่งเป็น 4 ชนชั้น ได้แก่ 
1) ชนชั้นสูงหรือปกครอง ได้แก่ พระ ผู้ครองนคร 
2) ชนชั้นกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝีมือ อาลักษณ์ 
3) ชนชั้นต่า ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ชาวนา 
4) ชนชั้นต่า สุด ได้แก่ ทาส
• ชนชัน้ต่าสุด ถูกใช้แรงงานในการสร้างซิกกูแรท
• นับถือเทพเจ้าหลายองค์ มีเทพเจ้าประจา นครรัฐ เน้น 
โลกนี้เป็นสา คัญ ไม่เชื่อเรื่องโลกหน้า 
• ศาสนา เกิดจากความกลัวของชาวสุเมเรียน ความ 
เชื่อในเรื่องวิญญาณร้าย มีพิธีบวงสรวงเพื่อให้ 
เทพเจ้าพึงพอใจ แต่พวกเขาจะไม่เชื่อในเรื่องความ 
เป็นอมตะและภพหน้า
เทพเจ้า Enlil เทพเจ้าแห่งอากาศ และเทพเจ้า Ninlil 
พระชายา(Ziggurat)
• สร้างซิกกูแรต (วิหารบูชาเทพเจ้า)สร้างด้วยดินหรืออิฐ ซึ่ง 
นับเป็นจุดอ่อนของสถาปัตยกรรมของชาวสุเมเรียน 
เพราะดินสามารถเสื่อมสลาย ผุผังไปตามกาลเวลาได้ง่าย 
ลักษณะของซิกกูแรทคล้ายๆกับพีระมิดมัสตาบ้าของ 
อียิปต์โบราณ แต่จะเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียงซ้อนกัน 
ขึ้นไป มีทางขึ้นทั้ง 2 ด้าน ด้านบนสุดเป็นที่สิงสถิตของ 
เทพเจ้า
วรรณกรรมกิลกาเมช 
• กล่าวถึงการพจญภัยของสีรบุรุษชาวสุเมเรียน
• เป็นตา นานน้า ท่วมโลกที่เก่าแก่ของเมโสโปเตเมียโบราณ เป็นหนึ่งใน 
งานวรรณกรรมประเภทนิยายที่เก่าแก่ที่สุดในโลก นักวิชาการเชื่อว่ามหา 
กาพย์เรื่องนี้มีกา เนิดมาจากตา นานกษัตริย์สุเมเรียนและบทกวีเกี่ยวกับ 
วีรบุรุษในตา นานที่ชื่อว่า กิลกาเมช ซึ่งถูกรวบรวมเอาไว้กับบรรดา 
บทกวีอัคคาเดียนในยุคต่อมา มหากาพย์ชุดที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน 
ปรากฏในแผ่นดินเหนียว 12 แท่งซึ่งเก็บรักษาไว้ที่หอเก็บจารึกของ 
กษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล มีชื่อดั้งเดิมว่า ผู้ 
มองเห็นเบื้องลึก (He who Saw the Deep; Sha naqba īmuru) หรือ ผู้ 
ยิ่งใหญ่กว่าราชันทั้งปวง (Surpassing All Other Kings; Shūtur eli 
sharrī) กิลกาเมชอาจจะเป็นผู้ปกครองที่มีตัวตนจริงในอดีตระหว่าง 
ราชวงศ์ที่ 2 ของยุคต้นของสุเมเรีย (ประมาณ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล)
• สาระสาคัญของเรื่องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง 
กิลกาเมช ผู้กาลังท้อใจกับการปกครองของตน กับเพื่อน 
ของเขาชื่อ เอนกิดู ซึ่งเข้ารับภารกิจเสี่ยงภัยร่วมกับ 
กิลกาเมช เนื้อหาส่วนใหญ่ในมหากาพย์เน้นย้าถึง 
ความรู้สึกสูญเสียของกิลกาเมชหลังจากเอนกิดูเสียชีวิต 
และกล่าวถึงการกลับเป็นมนุษย์อีกครั้งพร้อมกับเน้นย้า 
เรื่องความเป็นอมตะ เรื่องราวในหนังสือเล่าถึงการที่ 
กิลกาเมชออกเสาะหาความเป็นอมตะหลังจากการเสียชีวิต 
ของเอนกิดู
สรุปเนื้อหาสา คัญของสุเมเรียน 
• ประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม(รูปลิ่ม) เขียนลงบนแผ่นดินเหนียวด้วยปากกา 
ที่ทาจากต้นอ้อแล้วนาไปตากแห้ง 
• รู้จักใช้ระบบชลประทาน เช่น อ่างเก็บนา้ เขื่อนกัน้นา้ ประตูระบายนา้ 
• ดารงชีพด้วยการเพาะปลูก พืชที่สาคัญคือ ข้าวสาลี 
• รู้จักใช้ยานพาหนะเช่น รถม้า 
• รู้จักใช้โลหะผสม(สาริด) ทาเครื่องมือ เครื่องประดับ 
• รู้จักทอผ้า 
• รู้จักการบวก ลบ คูณ ทาปฏิทินจันทรคติ(ข้างขึน้ ข้างแรม) การนับวัน 
เวลา
อมอไรท์(Amorties) หรือบาบิโลน 
• พวกอมอไรท์หรือบาบิโลเนียน เป็นชนเผ่าเซมิติกซึ่งมีถิ่นกา เนิดในแถบ 
ตะวันออกกลาง ได้ขยายอิทธิพลในดินแดนเมโสโปเตเมียและสร้าง 
จักรวรรดิบาบิโลนที่เจริญ รุ่งเรืองในช่วงประมาณปี 1800-1600 ก่อน 
คริสต์ศักราช ผู้นา สาคัญคือกษัตริย์ฮัมมูราบีผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งได้สร้างความ 
เข้มแข็งให้แก่จักรวรรดิบาบิโลน โดยการทาสงครามขยายดินแดนและ 
จัดทาประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีเพื่อเป็น หลักฐานในการ 
ปกครองและจัดระเบียบสังคม นอกจากนี้ชาวบิโลเนียนยังสืบทอดความ 
เจริญต่างๆ ของพวกสุเมเรียนไว้ เช่น ความเชื่อทางศาสนาซึ่งได้แก่การ 
บูชาเทพเจ้า การแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อแบ่งแยกหน้าที่และความ 
สะดวกในการปกครอง การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและการค้าขายกับ 
ดินแดนอื่นๆ เช่น อียิปต์และอินเดียซึ่งนาความมั่งคั่งให้แก่จักวรรดิ 
บาบิโลน
• จักรวรรดิบาบิโลนค่อยๆเสื่อมอานาจลง เมื่อมีชนชาติอื่นขยายอิทธิพล 
เข้ามาในดินแดนเมโสโปเตเมียและสลายลงไปโดยถูกพวกแอลซีเรียน 
โจมตี
• กษัตริย์ชาวอามอไรท์องค์ที่ 6 และเป็น 
พระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งจักรวรรดิบาบิโลน 
รู้จักกันดีที่สุดในด้านกฎหมายในขณะเดียวกับความ 
เป็นผู้ยิ่งใหญ่ด้านการทหารที่ทาให้อาณาจักร 
บาบิโลนมีอา นาจมากที่สุดในแถบเมโสโปเตเมียโดย 
การเอาชนะพวกซูเมอร์และพวกอัคคาด
กฎหมายฮัมมูราบี 
• มีการประมวลกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดในโลก คือ 
กฎหมายฮัมมูราบี มีบทลงโทษแบบ “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน”
• เ ป็น บ ท บัญ ญัติที่ร ว บ ร ว ม ก ฎ ห ม า ย ต่า ง ๆ แ ล ะ 
พระราชกฤษฎีกาของพระเจ้า ฮัมมูราบี ราชาแห่ง 
บาบิโลเนีย และเป็นประมวลกฎหมายที่เก่าแก่ที่สุด 
ประมวลกฎหมายนี้คัดลอกไว้โดยการแกะสลักลงบน 
หินบะซอลต์สีดา สูง 2.25 เมตร ซึ่งต่อมาทีมนักโบราณคดี 
ฝรั่งเศสขุดพบที่ Susa ประเทศอิรัก ในช่วงฤดูหนาวปี 
1901 ถึง 1902 หินสลักนี้แตกเป็น 3 ชิ้น และได้รับการ 
บูรณะ ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีอยู่ใน 
พิพิธภัณฑ์ลูฟร์กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
• กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายอาญา โดยยึดหลักที่ปัจจุบัน 
เรียกว่า "ตาต่อตา ฟันต่อฟัน" อันหมายถึงทา ผิดอย่างไรได้ 
โทษอย่างนั้น ซึ่งแม้บทลงโทษตามกฎหมายฮัมมูราบีจะดู 
ว่าโหดเหี้ยมตามความคิดของคนสมัยใหม่ แต่การทา 
กฎหมายให้เป็นลายลักษณ์อักษรและพยายามใช้บังคับ 
อย่างเป็นระบบกับทุกคน และการ "ถือว่าเป็นผู้บริสุทธ์ิไว้ 
ก่อนจนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าผิด" นับเป็นหลักการ 
สา คัญที่นับเป็นวิวัฒนาการทางอารยธรรมของมนุษย์
ฮิตไทต์ (Hittites) 
• พวกฮิตไทต์เป็นพวกอินโด-ยูโรเปียน ที่อพยพมาจากทางเหนือ 
ของทะเลดาเมื่อประมาณปี 2300 ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาได้ 
ขยายอิทธิพลเข้าไปในเขตจักรวรรดิบาบิโลนและเข้าครอบครอง 
ดินแดน ซีเรียในปัจจุบันพวกฮิตไทต์สามารถนาเหล็กมาใช้ 
ประดิษฐ์อาวุธแบบต่างๆ และจัดทาประมวลกฎหมายเพื่อใช้ 
ควบคุมสังคม โดยเน้นการใช้ความรุนแรงตอบโต้ผู้ที่กระทา 
ความผิด เช่น ให้จ่ายค่าปรับแทนการลงโทษที่รุนแรง อาณาจักร 
ฮิตไทต์เสื่อมอา นาจลงในราวปี 1200 ก่อนคริสต์ศักราช
ประเด็นที่สาคัญของฮิตไทต์ 
• เป็นเผ่าอินโดยุโรเปียน 
• เดิมอยู่ทางตอนใต้ของรัสเซีย ขยายตัวมาตามลุ่มแม่นา้ยูเฟรติส โจมตี 
ทางเหนือของซีเรีย ปล้นกรุงบาบิโลนและปกครองดินแดนเมโสโปเตเมีย 
ต่อมา 
• มีความสามารถในการรบมาก 
• เป็นชนเผ่าแรกที่รู้จักใช้เหล็กทาเป็นอาวุธ รู้จักใช้รถเทียมม้าทาศึก 
• ตรงกับสมัยที่อียิปต์เรืองอานาจ 
• กษัตริย์ฮัตตูซิลิที่ 3แห่งฮิตไทต์ และฟาโรห์รามเสสที่ 2แห่งอียิปต์ได้ทา 
สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน และหากบุคคลที่ 3 มาโจมตี ต้องช่วยเหลือกัน
สนธิสัญญารามเสส-ฮัททูซิลี หรือ สนธิสัญญาคาเดซ
• มีการลงนามและให้สัตยาบันระหว่างศตวรรษที่ 13 ก่อนคริสตกาล 
ระหว่างฟาโรห์รามเสสที่ 2 แห่งอียิปต์ และกษัตริย์ฮัททูซิลีที่ 2 
แห่งฮิตไทต์ จุดประสงค์ของข้อตกลงนี้คือสร้างและรักษา 
ความสัมพันธ์อย่างสันติระหว่างทั้งสองฝ่าย มันเป็นความตกลงที่ 
เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกันจากตะวันออกใกล้ และเป็นสนธิสัญญา 
ฉบับเขียนที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงเหลือรอดมาจนถึงปัจจุบัน (ซึ่งอาจ 
มิใช่สนธิสัญญาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก) สนธิสัญญาดังกล่าวมีการ 
จารึกไว้ในภาษาอียิปต์ ดังที่ปรากฏในกาแพงเทวสถานด้วย 
ไฮโรกลิฟฟิก และในอดีตจักรวรรดิฮิตไทต์ ซึ่งปัจจุบันคือ 
ประเทศตุรกี ที่ซึ่งมันถูกเก็บรักษาไว้บนแผ่นจารึกดินเผา
แอลซีเรียน (Assyrians) 
• พ วก แ อลซีเ รียนมีถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของ 
เมโสโปเตเมีย เป็นชนชาตินักรบที่มีความสามารถและ 
โหดร้าย จึงเป็นที่คร้ามเกรงของชนชาติอื่น พวก 
แอลซีเรียนได้ขยายอานาจครอบครองดินแดนของพวก 
บาบิโลเนียน ซีเรีย และดินแดนบางส่วนของจักรววรดิ 
อียิปต์ จักรวรรดิแอลซีเรียนมีความเจริญรุ่งเรืองในช่วงปี 
900-612 ก่อนคริสต์ศักราช
• อนึ่ง การที่แอลซีเรียนเป็นชนชาตินักรบจึงได้มอบอารยธรรมสาคัญ 
ให้แก่ชาวโลกคือการ สร้างระบอบปกครองจักรวรรดิที่เข้มแข็ง มีการ 
ควบคุมดินแดนที่อยู่ใต้การปกครองอย่างใกล้ชิด โดยสร้างถนนเชื่อม 
ติดต่อกับดินแดนเหล่านั้นจา นวนมากเพื่อความสะดวกในการเดิน ทัพ 
และติดต่อสื่อสาร
• นอกจากนียั้งมีความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางการทหารและการรบ 
โดยเฉพาะการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์และการใช้ทหารรับจ้างที่มี 
ประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ตาม แอลซีเรียนมิได้พัฒนาความเจริญด้าน 
อื่นๆ มากนัก ส่วนใหญ่เป็นการสืบทอดความเจริญที่มีอยู่เดิมในดินแดน 
ที่ตนเข้าไปครอบครอง เช่น ความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรม และ 
วรรณกรรม 
• ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรียนเกิดจากการรุกรานดินแดนของชน 
ชาติอื่น ดังนัน้จึงมีศัตรูมากและถูกศัตรูทาลายในที่สุด
สรุปเนื้อหาสา คัญ 
• เป็นเผ่าเซมิติกมาจากทะเลทรายอาหรับ 
• ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองนิเนเวห์ 
• สามารถในการรบและการค้า 
• ขยายอานาจถึงฟินิเชีย ปาเลสไตน์ อียิปต์และเปอร์เซีย 
• กองทัพแข็งแกร่ง มีระเบียบวินัยสูง 
• ใช้เหล็กทาอาวุธ 
• มีการก่อสร้างที่ใหญ่โตมหึมา มาทาเป็นโดม เช่นพระราชวังซาร์กอน 
• มีการปั้นแบบนูนตัวและลอยตัว ให้อารมณ์สมจริง
แคลเดียน (Chaldeans) 
• พวกแคลเดียนได้ร่วมกับชนชาติอื่นทาลายอานาจของแอลซีเรียนเมื่อปี 
612 ก่อนคริสต์ศักราช หลังจากนั้นก็ได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ 
ของจักรวรรดิแอสซีเรีย ผู้นาที่ยิ่งใหญ่ของแคลเดียนคือกษัตริย์ 
เนบูคัดเนซซาร์ซึ่งสถาปนาจักรวรรดิบาบิโลนขึ้นใหม่และรื้อฟื้นความ 
เจริญต่างๆ ในอดีต เช่น การก่อสร้างอาคารที่สวยงามโดยเฉพาะการ 
สร้าง “สวนลอยแห่งบาบิโลน” ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน 7 สิ่ง 
มหัศจรรย์ของโลก การรื้อฟื้นประมวลกฎหมายและวรรณกรรมของชาว 
บาบิโลเนียนรวมทั้งระบบเศรษฐกิจและการค้า ดังนั้นนักประวัติศาสตร์ 
จึงเรียกจักรวรรดิของพวกแคลเดียนว่า “จักรวรรดิบาบิโลนใหม่” 
อย่างไรก็ตาม พวกแคลเดียนก็ได้สร้างมรดกที่สาคัญคือการศึกษา 
ทางด้านดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ จักรวรรดิแคลเดียนมีอานาจ 
ในช่วงสั้นๆ และสิ้นสลายเมื่อปี 534 ก่อนคริสต์ศักราช
• เป็นพวกเร่ร่อนเผ่าเซมิติกตั้งถิ่นฐานบริเวณทะเลทรายซีเรียและ 
ท ะ เ ล ท ร า ย อ า ห รับ ไ ด้เ ข้า ยึด ค ร อ ง ดิน แ ด น ท า ง 
ตะวันออกเฉียงเหนือของดินแดนเมโสโปเตเมีย 
• ซากอนผู้นา ชาวอัคคัด ได้ยึดครองนครรัฐของพวกสุเมเรียนและ 
รวบรวมดินแดนบริเวณฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงอ่าว 
เปอร์เซียขึ้นป็นจักรวรรดิ 
• ปกครองไม่นานก็ถูกสุเมเรียนโค่นล้มแล้วปกครองใหม่เป็นครั้ง 
ที่สอง
• สวนแห่งนีส้ร้างขึน้ในเขตพระราชฐาน มีลักษณะคล้ายปิรามิด โดยสร้าง 
ซ้อนกันขึน้ไปเป็นชัน้ๆ นักประวัติศาสตร์จากซิซิลีที่ชื่อ "ดิโอโดโรส" 
กล่าวว่า ชาวบาบิโลนใช้อิฐและนา้มันดินเป็นส่วน ประกอบสาคัญใน 
การก่อสร้างและเพื่อให้กันนา้ได้ดีนัน้ ชาวเมืองจะใช้หญ้าประเภทอ้อ 
หรือกกผสม นา้มันดินปูพืน้ชัน้แรก แล้วปูทับด้วยอิฐเผาที่ตริงไว้ด้วยปูน 
ก่อนจะวางตะกวั่ทับลงไปบนชัน้บนสุด หลังจากนัน้จึงลงดินที่มีปริมาณ 
มากพอที่จะปลูกต้นไม้ทุกประเภท นับแต่ไม้พุ่มไปจนถึงไม้ยืนต้น นา้ที่ 
ใช้เลีย้งต้นไม้ในสวนลอยสูบขึน้มาจากแม่นา้ยูเฟรติสเบือ้งล่างมาตาม 
ท่อที่ฝังซ่อนไว้อย่าง มิดชิดในแต่ละส่วนของระเบียง ทาให้ต้นไม้ที่ปลูก 
ที่นี่เขียวชอุ่ม ให้ดอกและผลได้เป็นอย่างดีแม้ในช่วง ทแี่ล้งที่สุดกลางฤดู 
ร้อนในทะเลทราย
สวนลอยบาบิโลน ปัจจุบันอยู่ในประเทศอิรัก
ทา แผนที่ดวงดาว 
• ชาวแคลเดียนสามารถหาเวลาที่ดวงจันทร์หมุนรอบโลก เวลาเกิด 
สุริยคลาสและจันทรคลาส และคา นวณหาความยาวของปีทั้งหมดได้ 
อย่างแม่นยา แคลเดียนรับทอดงานดาราศาสตร์จากสุเมเรียนโดยแท้จริง 
นาบูริแมนนู(Naburiannu) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวแคลเดียนผู้ได้รับ 
การอุปถัมภ์จากกษัตริย์ดาริอุสที่ หนึ่ง แห่งเปอร์เซีย ในการดา เนินการ 
ศึกษาค้นคว้า ผลงานที่ปรากฎคือสามารถค้นคว้านับเวลาในรอบหนึ่งได้ 
ใกล้เคียงกับการนับเวลา ในปัจจุบันมาก คือ 1 ปีมี 365 วัน 6 ชั่วโมง 15 
นาที 41 วินาที
กำแพงอิซต้ำ 
• ทา จากกระเบื้องหลากสี และแกะสลักเป็นภาพสัตว์ประหลาด 
เรียกกริฟฟินคือมีใบหน้าและลาตัวเป็นสิงห์โต แต่มีปีกเป็นนก 
อินทรีย์ (Griffin) กา แพงนี้เชื่อกันว่าเป็น ช่องทางนา ไปสู่เทพเจ้า 
มาร์ดุ๊กซึ่งเป็นเทพเจ้าสูงสุดแห่งกรุงบาบิโลน ปัจจุบัน 
กา แพงอิซต้าถูกเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์กรุงเบอร์ลิน
เปอร์เซีย (Persia) 
• พวกเปอร์เซียเป็นชนเผ่าอินโด-ยูโรเปียนที่อพยพมาจากทางเหนือของ 
เทือกเขาคอเคซัส เมื่อราว 1800 ปีก่อนคริสต์ศักราชและตั้งถิ่นฐานอยู่ใน 
ดินแดนเปอร์เซียหรือประเทศอิหร่าน ปัจจุบัน ต่อมาได้ร่วมมือกับพวก 
แคลเดียนโค่นล้มจักรวรรดิแอลซีเรียนและสถาปนา จักรวรรดิเปอร์เซีย 
เมื่อประมาณ 550 ปีก่อนคริสต์ซักราช จากนั้นได้ขยายอา นาจเข้ายึดครอง 
จักรวรรดิบาบิโลนของพวก แคลเดียน ดินแดนเมโสโปเตเมีย 
เอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ในสมัยพระเจ้าดาริอุสหรือเดอไรอัสมหาราช 
(Darius the Great) เปอร์เซียได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในดินแดนตะวันออก 
ถึงลุ่มแม่น้า สินธุของ อินเดียและทางตะวันตกถึงตอนใต้ของยุโรป แม้ว่า 
เปอร์เซียไม่ประสบความสา เร็จในการทา สงครามเพื่อยึดครองนครรัฐกรีก 
แต่จักรวรรดิเปอร์เซียในขณะนั้นก็มีอา นาจยิ่งใหญ่ที่สุด
• เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ 
จานวนมาก จึงต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลัก 
ความยุติธรรมในการจัดเก็บภาษีและการศาล รวมทัง้การกระจาย 
อานาจการปกครองให้แก่ท้องถิ่นและดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุม 
อานาจปกครองตามแบบพวกแอสซีเรียน ซึ่งได้แก่ การสร้างถนนเชื่อม 
ดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ การสื่อสาร และไปรษณีย์ ถนน 
สายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์ดิส (Sardis) ใน 
เอเชียไมเนอร์(ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา (Susa) ซึ่ง 
เป็นเมืองหลวงแห่งหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนีไ้ม่เพียงแต่มี 
ความสาคัญด้านยุทธศาสตร์ หากยังมีความสาคัญต่อการค้าระหว่าง 
ดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็นเส้นทางสาคัญในการติดต่อ 
ระหว่างตะวันออกและตะวันตก
• พวกเปอร์เซียรับความเจริญรุ่งเรืองจากดินแดนต่างๆ โดยเฉพาะ 
จากอียิปต์และเมโสโปเตเมีย แล้วหล่อหลอมเป็นวัฒนธรรมของ 
ตน เช่น การประดิษฐ์ตัวอักษร การใช้ระบบเงินตรา การ 
ประยุกต์รูปแบบสถาปัตยกรรม ฯลฯ อย่างไรก็ตาม พวก 
เปอร์เซียก็มีอารยธรรมที่โดดเด่น คือ มีศาสนาของตนเอง ได้แก่ 
ศาสนาโซโรแอสเตอร์ (Zoroaster) ซึ่งสั่งสอนให้มนุษย์ทา ความ 
ดีเพื่อมีชีวิตที่ดีในอนาคตและละเว้นความชั่วโดยเฉพาะการ 
กล่าวเท็จ หลักความดีความชั่วของศาสนาโซโรแอสเตอร์มี 
อิทธิพลต่อแนวคิดและคา สอนของศาสนายูดาย (Judaism) ของ 
ชาวยิว และศาสนาคริสต์ซึ่งถือกา เนิดขึ้นหลังจากนั้น
จักรวรรดิปอร์เซียล่มสลาย เมื่อถูกพระเจ้าอะเล็กซานเดอร์ 
มหาราชแห่งมาซิโดเนียยกทัพเข้ายึดครองเมื่อปี 331 ก่อน 
คริสต์ศักราช
ฟีนิเชียน (Phoenicians) 
• ระหว่างปี 1000-700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกฟีนิเชียนอาศัยอยู่ใน 
ดินแดนฟินิเชียซึ่งเป็นที่ตัง้ของประเทศเลบานอนปัจจุบัน และมีการ 
ปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะที่ตัง้มีเทือกเขาสลับซับซ้อนกัน้ระหว่างที่ 
ราบแคบๆ ซึ่งขนานกับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับดินแดนอื่นๆ ทา 
ให้พวกฟีนิเชียนไม่สามารถขยายดินแดนของตนออกไปได้ จึงดารงชีวิต 
ด้วยการเดินเรือและค้าขายทางทะเล
• นอกจากมีชื่อเสียงในด้านการค้าแล้ว ชาวฟีนิเชียนยังมีชื่อเสียงในด้าน 
อุตสาหกรรมต่อเรือซึ่งทาจากไม้ซีดาร์ที่มี อยู่มากบนเทือกเขาใน 
เลบานอนและการทาอุตสาหกรรมเครื่องใช้จากแร่โลหะต่างๆ เช่น 
ทองคา ทองแดง ทองเหลือง แร่เงิน และเครื่องแก้ว นอกจากนียั้งริเริ่ม 
การทอผ้าขนสัตว์และย้อมผ้า รวมทัง้ได้จับจองอาณานิคมในเขตทะเล 
เมดิเตอร์เรเนียนจานวนมาก เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าของตน เช่น เกาะ 
ซิซีลี ซาร์ดิเนีย และมอลตา อนึ่ง ชาวฟีนิเชียนจาเป็นต้องใช้เอกสารและ 
หลักฐานในการติดต่อค้าขายจึงได้พัฒนาตัว อักษรขึน้จากโบราณของ 
อียิปต์จานวนรวม 22 ตัว อักษรฟีนิเชียนเป็นมรดกทางอารยธรรมที่ 
สาคัญของโลกตะวันตก เนื่องจากชาวกรีกและโรมันได้นาไปใช้และ 
สืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน
ฮิบรู(Hebrews) 
• ชาวฮิบรูหรือชาวยิว เป็นชนเผ่าเซมิติกที่เร่ร่อนอยู่ในดินแดนต่างๆ เคยอาศัย 
อยู่ในเขตซูเมอร์ก่อนที่จะอพยพเข้าไปอยู่ดินแดนคานาอัน (Canaan) หรือ 
ปาเลสไตน์ (Palestine) ในปัจจุบัน ชาวฮิบรูเป็นชนชาติที่เฉลียวฉลาดและ 
บันทึกเรื่องราวของพวกตนในคัมภีร์ศาสนา (Old Testament) ทา ให้มีข้อมูล 
เกี่ยวกับบรรพบุรุษของชาวยิวอย่างละเอียด บันทึกชาวฮิบรูกล่าวว่า เดิม 
บรรพบุรุษเคยอยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมียต่อมาได้ตกเป็นทาสของ 
อียิปต์ เมื่ออียิปต์เสื่อมอานาจ ชาวฮิบรูจึงพ้นจากความเป็นทาสโดยผู้นาคือ 
โมเสส (Moses) ได้นา ชาวฮิบรูเดินทางเร่ร่อนเพื่อหาที่ตั้งหลักแหล่งทา มาหา 
กิน ในที่สุดมาถึงดินแดนคานาอัน หรือภายหลังเรียกว่า “ปาเลสไตน์” และ 
สร้างอาณาจักรอิสราเอล มีกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่คือ กษัตริย์เดวิด (David) ซึ่ง 
สถาปนานครเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวง
• ต่อมาอาณาจักรอิสราเอล ได้แตกแยกเป็น 2 ส่วน หลักจากกษัตริย์ 
โซโลมอนสิน้พระชนม์ เมื่อปี 922 ก่อนคริสต์ศักราช และถูกชนชาติที่ 
เข้มแข็งกว่าคือแอลซีเรียนและแคลเดียนเข้ายึดครอง ชาวยิวส่วนใหญ่ 
ถูกจับไปเป็นทาสในดินแดนอื่น แต่ได้กลับคืนดินแดนปาเลสไตน์อีกครัง้ 
เมื่อจักรวรรดิเปอร์เซียเข้ามาครอบครองดินแดนนี้อย่างไรก็ตาม พวก 
เขาได้ละทิง้ดินแดนของตนไปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 หลังจากพวก 
โรมันเข้ายึดครองปาเลสไตน์และทาลายเมืองของชาวยิว
• ชาวยิวมีกฎหมาย วรรณกรรม และศานาของตนเอง ประมวลกฎหมาย 
เรียกว่า “กฎหมายโมเสส” วรรณกรรมที่สาคัญคือคัมภีร์ไบเบิล ซึ่ง 
ประมวลกฎหมายเรื่องราวตัง้แต่การกาเนิดของโลกมนุษย์ จนกระทงั่ถึง 
พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของชนชาติยิว คัมภีร์ไบเบิลฉบับบนีเ้ป็น 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญและเป็นภาคพระ คัมภีร์เก่า (Old 
Testament) ในคัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ด้วย
• ความเจริญรุ่งเรืองที่ชนชาติต่างๆ ในดินแดนเมโสโปเตเมียคิดค้น 
หล่อหลอม และสืบทอดต่อกันมา ส่วนใหญ่กลายเป็นรากฐานของ 
อารยธรรมตะวันตกที่ชาวยุโรปรับและพัฒนาต่อเนื่องเป็นอารยธรรม 
ของมนุษยชาติในปัจจุบัน
อ้างอิง 
1. http://civilizationcivilize.blogspot.com 
2. http://www.oknation.net/blog/print.php?id=336522 
3. http://writer.dek-d.com/abjmp-social/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=5 
4. http://www.thaigoodview.com/node/4483 
5. http://writer.dek-d.com/abjmp-social/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=7
รายชื่อสมาชิก ม.6.5 
1. ศิริกาญจน์แก้วมณีมงคล เลขที่47 
2. น้า ทิพย์ วรรณขจีพิบูลย์เลขที่ 48

Contenu connexe

Tendances

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกพัน พัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียbew lertwassana
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Gob_duangkamon
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475JulPcc CR
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 

Tendances (20)

พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
เมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมียเมโสโปเตเมีย
เมโสโปเตเมีย
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง247515การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
15การเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475
 
Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่Microsoft power point presentation ใหม่
Microsoft power point presentation ใหม่
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 

En vedette

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510Suphatsara Amornluk
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1Napatrapee Puttarat
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย6091429
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilizationtimtubtimmm
 

En vedette (7)

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย..510
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย1
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
Mesopotamia Civilization
Mesopotamia CivilizationMesopotamia Civilization
Mesopotamia Civilization
 

Similaire à อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียhmiw
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2itsadaphon
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2Bow Rattikarn
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกDraftfykung U'cslkam
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 

Similaire à อารยธรรมเมโสโปเตเมีย (12)

ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมียต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
ต้นกำเนิดอารยธรรมสมัยเมโสโปเตเมีย
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศมาเลเซียบูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย(Mesopotemia)2
 
เมียร์มาร์
เมียร์มาร์เมียร์มาร์
เมียร์มาร์
 
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
ลักษณะทางสังคม ประชากร ภาษา การปกครองและ Etc.
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
ภูมิศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 2
 
อารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีกอารยธรรมกรีก
อารยธรรมกรีก
 
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 

อารยธรรมเมโสโปเตเมีย

  • 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เสนอ อาจารย์ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล วิชา ส33101 สังคมศึกษา โรงเรียนสตรีวิทยา จัดทา โดย นางสาวศิริกาญจน์แก้วมณีมงคล ม.6.5 เลขที่ 46 นางสาวน้า ทิพย์ วรรณขจีพิบูลย์ม.6.5 เลขที่47
  • 3. เมโสโปเตเมีย • “เมโสโปเตเมีย” เป็นคา ในภาษากรีก เป็นชื่อเรียกดินแดนที่อยู่ระหว่างแม่น้า 2 สาย ใน ตะวันออกกลาง คือ แม่น้า ไทกริส (Tigris) และ ยูเฟรทีส (Euphrates) ปัจจุบันคือดินแดนในประเทศ อิรัก
  • 4.
  • 5. แม่น้าไทกริส (Tigris) • เป็นแม่น้า ที่มีต้นน้า อยู่ในเทือกเขาทางตะวันออกของ ประเทศตุรกี ยาวประมาณ 1,900 กิโลเมตร ไหลผ่าน ชายแดนประเทศซีเรีย เข้าดินแดนอารยธรรม เมโสโปเตเมียเดิมหรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้ว มารวมกับแม่น้ายูเฟรทีสใกล้เมืองบัสรา เกิดเป็น แม่น้าใหม่คือ แม่น้าชัตต์อัลอาหรับ มีความยาว ประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลงสู่อ่าวเปอร์เซีย
  • 6. แม่น้ายูเฟรทีส (Euphrates) • คือแม่น้าที่มีต้นน้าอยู่ในเทือกเขาทางตะวันออกของ ประเทศตุรกี ยาวประมาณ 2,300 กิโลเมตร ไหลเข้า ประเทศซีเรีย เข้าดินแดนอารยธรรมเมโสโปเตเมียเดิม หรือประเทศอิรักในปัจจุบัน แล้วมารวมกับแม่น้า ไทกริส ใกล้เมืองบัสรา เกิดเป็นแม่น้าใหม่ชื่อ แม่น้าชัตต์อัล อาหรับ ที่มีความยาวประมาณ 200 กิโลเมตร ก่อนไหลลง สู่อ่าวเปอร์เซีย
  • 7. • อารยธรรมเมโสโปเตเมียมีความหมายครอบคลุมความ เจริญรุ่งเรืองที่เกิดขึ้นในดินแดน เมโสโปเตเมียและบริเวณ รอบๆ ซึ่งเริ่มขึ้นเมื่อประมาณปี 3000 ก่อนคริสต์ศักราช หรือ 5000 ปีมาแล้ว กลุ่มชนที่มีส่วนสร้างสรรค์อารยธรรม เมโสโปเตเมีย ได้แก่ พวกสุเมเรียน บาบิโลเนียน แอลซีเรียน แคลเดียน ฮิตไทต์ ฟินีเชียน เปอร์เซีย และฮิบรูซึ่งได้พลัด เปลี่ยนกันเข้ามาปกครองดินแดนนี้ พวกเขารับความเจริญเดิม ที่สืบทอดมาและพัฒนาให้เจริญก้าวหน้าขึ้นพร้อมๆ กับ คิดค้นความเจริญใหม่ๆ ขึ้นมาด้วย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย จึงเจริญรุ่งเรืองต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างที่ดินแดนอื่นๆ นาไปใช้สืบต่อมา
  • 8.
  • 9. • เป็นแหล่งอารยธรรมแห่งแรกของโลก • เป็นเขตที่ราบลุ่มน้า อันอุดมสมบรูณ์ที่อยู่ท่ามกลางอาณา บริเวณที่เป็นทะเลทรายและเขตภูเขา • เนื่องจากมีความอุดมสมบรูณ์จึงเป็นปัจจัยให้ชั้นกลุ่ม ต่างๆอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานและผลัดกันสร้างสรรค์ อารยธรรมสืบเนื่องต่อกันมา • เป็นดินแดนที่ครอบคลุมอาณาเขตกว้างขวาง พื้นที่ ตอนบนของลุ่มน้า มีลักษณะเป็นที่ราบสูงกว่าทางตอนใต้ และจะลาดต่า ลงมายังพื้นที่ราบลุ่มตอนล่าง
  • 10. • พื้นที่ตอนบนมีความแห้งแล้งการเกษตรต้องใช้ระบบ ชลประทาน • พื้นที่ราบลุ่มตอนล่างเป็นที่ราบต่า เป็นดินดอนมีความอุดม สมบรูณ์ • เนื่องจากการทับถมของดินตะกอนที่แม่น้าาทั้งสองสายพัดเอา โคลนตมมาทับถมไว้บริเวณปากแม่น้า ทา ให้เกิดพื้นดินงอก ตรงปากแม่น้า ทุกปีบริเวณนี้เรียกว่า บาบิโลนเนีย (Babylonia) • “บาบิโลเนีย” เป็น เขตติดต่อ กับอ่าวเปอร์เซียเป็นดินแดนที่มี ความอุดมสมบรูณ์เป็นแหล่งกา เนิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
  • 11. ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมีย • ทิศเหนือจดทะเลดา และทะเลแคสเปียน • ทิศตะวันตกเฉียงใต้จดคาบสมุทรอาระเบีย • ทิศตะวันออกจดที่ราบสูงอิหร่าน • ทิศตะวันตกจดที่ราบซีเรียและปาเลสไตน์
  • 12. 1.ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดอารย ธรรมเมโสโปเตเมีย • สภาพภูมิศาสตร์และภูมิปัญญาของกลุ่มชน เป็น ปัจจัยที่ส่งเสริมให้เกิดอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
  • 13. สภาพภูมิศาสตร์ของดินแดนเมโสโปเตเมีย • ลักษณะที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณใกล้เคียง มี ภูมิอากาศร้อนแห้งแล้งและมีปริมาณน้าฝนน้อย อย่างไรก็ตาม บริเวณนี้ก็มีเขตที่อุดมสมบูรณ์อยู่บ้างเรียกว่า “ดินแดนรูปดวงจันทร์ เสี้ยวอันอุดมสมบูรณ์” ซึ่งรวมถึงดินแดนเมโสโปเตเมียและบริเวณ ฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนหรือเขตประเทศซีเรีย เลบานอน ปาเลสไตน์ และอิสรเอลในปัจจุบัน ดินแดนเมโสโปเตเมียได้รับความอุดม สมบูรณ์จากแม่น้า ไทกริสและยูเฟรทีสและน้า จากหิมะละลายบน เทือกเขาในเขตอาร์เมเนียทางตอนเหนือ ซึ่งพัดพาโคลนตมมาทับถม บริเวณสองฝั่งแม่น้า กลายเป็นปุ๋ยในการเพาะปลูก กลุ่มชนอื่นที่อยู่ ใกล้เคียงจึงพยายามขยายอา นาจเข้ามาครอบครองดินแดนแห่งนี้
  • 14. • ขณะเดียวกันผู้ที่อยู่เดิมก็ต้องสร้างความมั่งคงและ แข็งแกร่งเพื่อต่อต้านศัตรูที่มารุกรานจึงมีการสร้างกาแพง เมืองและคิดค้นอาวุธยุทโธปกรณ์ในการทาศึกสงคราม เช่น อาวุธ รถม้าศึก ฯลฯ • อนึ่ง ที่ตั้งของดินแดนเมโสโปเตเมียสามารถติดต่อกับ ดินแดนอื่นได้สะดวกทั้งทางด้านทะเลเมดิเตอร์เรเนียน และอ่าวเปอร์เซีย จึงมีการติดต่อค้าขายและแลกเปลี่ยน ความเจริญกับดินแดนอื่นอยู่เสมอ ทาให้เกิดการ ผสมผสานและสืบทอดอารยธรรม
  • 15. ภูมิปัญญาของกลุ่มชน • อารยธรรมเมโสโปเตเมียเกิดจากภูมิปัญญาของ กลุ่มชนที่อาศัยในดินแดนแห่งนี้ การคิดค้นและ พัฒนาความเจริญเกิดจากความจาเป็นที่ต้อง เอาชนะธรรมชาติเพื่อ ความอยู่รอด การจัด ระเบียบในสังคมและความต้องการขยายอา นาจ
  • 16. การเอาชนะธรรมชาติ • แม้ว่าดินแดนเมโสโปเตเมียจะได้รับความอุดมสมบูรณ์จากแม่นา้ไทกริส และยูเฟรติส แต่ก็มีนา้ท่วมเป็นประจาทุกปี ส่วนบริเวณที่ห่างฝั่งแม่นา้ มักแห้งแล้ง ชาวสุเรียนจึงคิดค้นระบบชนประทานเป็นครั้งแรก ประกอบด้วยทานบป้องกันนา้ท่วม คลองส่งนา้ และอ่างเก็บนา้ วิธีนี้ ช่วยให้การเพาะปลูกได้ผลดี อนึ่ง ในเขตที่อยู่อาศัยของพวกสุเมเรียนไม่ มีวัสดุก่อสร้างที่แข็งแรงคงทน เช่น หินชนิดต่างๆ ชาวสุเมเรียนจึงคิดหา วิธีทาอิฐจากดินแดนและฟาง ซงึ่แม้จะมีนา้หนักเบากว่าหินแต่ก็มีความ ทนทาน และใช้อิฐก่อสร้างสถานที่ต่างๆ รวมทัง้กาแพงเมือง นอกจากนี้ ยังใช้ดินเหนียวเป็นวัสดุสาคัญในการประดิษฐ์อักษรรูปลิ่มด้วย
  • 17. การจัดระเบียบในสังคม • เมื่อมีความเจริญเติบโตและมีสมาชิกเพิ่มมากขึ้น การอยู่กัน เป็นชุมชนจึงจาเป็นต้องมีระเบียบและกฎเกณฑ์ของสังคม ได้แก่ การแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อกา หนดหน้าที่และ สถานะ การจัดเก็บภาษีเพื่อนารายได้ไปใช้พัฒนาความเจริญ ให้แก่ชุมชน การออกกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือในการ ปกครอง เช่น ประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีแห่ง บาบิโลเนีย ซึ่งได้รับยกย่องว่าเป็นกฎหมายแม่บทของโลก ตะวันตก
  • 18. การขยายอา นาจ • ความยิ่งใหญ่ของชนชาติที่ปกครองดินแดนเมโสโปเตเมียส่วนหนึ่งเกิด จากการขยายอานาจเพื่อรุกรานและครอบครองดินแดนอื่น เช่น พวก แอสซีเรียนสามารถสถาปนาจักรวรรดิแอสซีเรียนที่เข้มแข็งได้ เพราะมี เทคโนโลยีทางการทหารที่ก้าวหน้าและน่าเกรงขาม โดยประดิษฐ์คิดค้น อาวุธสงครามและเครื่องมือต่างๆ รวมทัง้ยุทธวิธีในการทาสงคราม เช่น ดาบเหล็ก หอกยาว ธนู เครื่องกระทุ้งสาหรับทาลายกาแพงและประตู เมือง รถศึก เสือ้เกราะ โล่ หมวกเหล็ก ฯลฯ ซึ่งต่อมาถูกนาไปใช้ แพร่หลายในทวีปยุโรป
  • 19. • ลักษณะชุมชนที่ตั้งถิ่นฐานในแหล่งอารยธรรมเมโสโปเตเมียเป็น ชนหลายกลุ่มหลายเผ่าผลัดกันมาตั้งถิ่นฐาน และมีอา นาจใน ดินแดนแถบนี้ทา ให้อารยธรรมมีลักษณะการผสมผสานของกลุ่ม ชนที่เข้ามาอยู่ ได้แก่ • สุเมเรียน (Sumerian) • อัสซีเรียน(Assyrian) • แอคคัด(Akkad) • คาลเดียน(Chaldean) • อามอไรต์(Amorite) • ฮิตไทต์(Hitite)
  • 20. 2.การหล่อหลอมอารยธรรมของชนชาติ ต่างๆในเมโสโปเตเมีย • อารยธรรม ในดินแดนเมโสโปเตเมียไม่ได้เกิดขึ้น โดยการสร้างสรรค์ของชนชาติใดชาติหนึ่ง โดยเฉพาะดังเช่นอารยธรรมอื่น หากแต่มีชนชาติ ต่างๆ ผลัดเปลี่ยนกันเข้ามาครอบครองและสร้าง ความเจริญ แล้วหล่อหลอมรวมเป็นอารยธรรม เมโสโปเตเมีย
  • 21. • สุเมเรียนเป็นชื่อเรียกกลุ่มคนที่อพยพเข้ามาอยู่ในเขตซูเมอร์ (Sumer) หรือบริเวณตอนใต้สุดของแม่น้า ไทกริสและยูเฟรทีส ซึ่งติดกับปากอ่าวเปอร์เซียเมื่อประมาณ 5000 ปีมาแล้ว พวก สุเมเรียนได้พัฒนาความเจริญรุ่งเรืองที่ก้าวหน้าทัดเทียมกับ อารยธรรมอียิสุปเมต์ เรีเช่ยน รู้(Sumerian) จักประดิษฐ์ตัวอักษรคูนิฟอร์มหรือ อักษรลิ่มบนแผ่นดินเหนียวแล้วนาไปเผาไฟ การคานวณ การ พัฒนามาตราชั่ง ตวง วัด การทาปฏิทิน การใช้แร่โลหะ การ คิดค้นระบบชลประทานเพื่อส่งเสริมการกสิกรรม และการ ก่อสร้างสถานที่ศักด์ิสิทธ์ิเพื่อเป็นที่ประทับของเทพเจ้า ฯลฯ ทา ให้นักประวัติศาสตร์บางกลุ่มเชื่อว่าอารยธรรมโลกเริ่มต้นที่ เขตซูเมอร์
  • 22.
  • 23. • ชาวสุเมเรียนอยู่รวมกันเป็นนครรัฐเล็กๆ หลายแห่ง เช่น เมืองเออร์(Ur) เมืองอูรุก (Uruk) เมืองคิช (Kish) และเมือง นิปเปอร์(Nippur) แต่ละแห่งไม่มีกษัตริย์หรือเจ้าผู้ครอง นคร เพราะพวกสุเมเรียนเชื่อว่าพวกเขามีเทพเจ้าคุ้มครอง จึงมีเพียงพระหรือนักบวชเป็นผู้ทาพิธีบูชาเทพเจ้าและ จัดการปกครองในเขตของตน อย่างไรก็ตาม การที่นครรัฐ ต่างๆ ล้วนเป็นอิสระต่อกันทาให้ไม่สามารถรวมกันเป็น ปึกแผ่นได้ ดินแดนของพวกสุเมเรียนจึงถูกรุกรานจากชน กลุ่มอื่น คือพวกแอคคัดและอมอไรต์
  • 24. สังคมแบ่งเป็น 4 ชนชั้น ได้แก่ 1) ชนชั้นสูงหรือปกครอง ได้แก่ พระ ผู้ครองนคร 2) ชนชั้นกลาง ได้แก่ พ่อค้า ช่างฝีมือ อาลักษณ์ 3) ชนชั้นต่า ได้แก่ ประชาชนทั่วไป ชาวนา 4) ชนชั้นต่า สุด ได้แก่ ทาส
  • 26.
  • 27. • นับถือเทพเจ้าหลายองค์ มีเทพเจ้าประจา นครรัฐ เน้น โลกนี้เป็นสา คัญ ไม่เชื่อเรื่องโลกหน้า • ศาสนา เกิดจากความกลัวของชาวสุเมเรียน ความ เชื่อในเรื่องวิญญาณร้าย มีพิธีบวงสรวงเพื่อให้ เทพเจ้าพึงพอใจ แต่พวกเขาจะไม่เชื่อในเรื่องความ เป็นอมตะและภพหน้า
  • 28. เทพเจ้า Enlil เทพเจ้าแห่งอากาศ และเทพเจ้า Ninlil พระชายา(Ziggurat)
  • 29. • สร้างซิกกูแรต (วิหารบูชาเทพเจ้า)สร้างด้วยดินหรืออิฐ ซึ่ง นับเป็นจุดอ่อนของสถาปัตยกรรมของชาวสุเมเรียน เพราะดินสามารถเสื่อมสลาย ผุผังไปตามกาลเวลาได้ง่าย ลักษณะของซิกกูแรทคล้ายๆกับพีระมิดมัสตาบ้าของ อียิปต์โบราณ แต่จะเป็นฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสเรียงซ้อนกัน ขึ้นไป มีทางขึ้นทั้ง 2 ด้าน ด้านบนสุดเป็นที่สิงสถิตของ เทพเจ้า
  • 30.
  • 32. • เป็นตา นานน้า ท่วมโลกที่เก่าแก่ของเมโสโปเตเมียโบราณ เป็นหนึ่งใน งานวรรณกรรมประเภทนิยายที่เก่าแก่ที่สุดในโลก นักวิชาการเชื่อว่ามหา กาพย์เรื่องนี้มีกา เนิดมาจากตา นานกษัตริย์สุเมเรียนและบทกวีเกี่ยวกับ วีรบุรุษในตา นานที่ชื่อว่า กิลกาเมช ซึ่งถูกรวบรวมเอาไว้กับบรรดา บทกวีอัคคาเดียนในยุคต่อมา มหากาพย์ชุดที่สมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน ปรากฏในแผ่นดินเหนียว 12 แท่งซึ่งเก็บรักษาไว้ที่หอเก็บจารึกของ กษัตริย์แห่งอัสซีเรีย เมื่อราวศตวรรษที่ 7 ก่อนคริสตกาล มีชื่อดั้งเดิมว่า ผู้ มองเห็นเบื้องลึก (He who Saw the Deep; Sha naqba īmuru) หรือ ผู้ ยิ่งใหญ่กว่าราชันทั้งปวง (Surpassing All Other Kings; Shūtur eli sharrī) กิลกาเมชอาจจะเป็นผู้ปกครองที่มีตัวตนจริงในอดีตระหว่าง ราชวงศ์ที่ 2 ของยุคต้นของสุเมเรีย (ประมาณ 2,700 ปีก่อนคริสตกาล)
  • 33. • สาระสาคัญของเรื่องเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง กิลกาเมช ผู้กาลังท้อใจกับการปกครองของตน กับเพื่อน ของเขาชื่อ เอนกิดู ซึ่งเข้ารับภารกิจเสี่ยงภัยร่วมกับ กิลกาเมช เนื้อหาส่วนใหญ่ในมหากาพย์เน้นย้าถึง ความรู้สึกสูญเสียของกิลกาเมชหลังจากเอนกิดูเสียชีวิต และกล่าวถึงการกลับเป็นมนุษย์อีกครั้งพร้อมกับเน้นย้า เรื่องความเป็นอมตะ เรื่องราวในหนังสือเล่าถึงการที่ กิลกาเมชออกเสาะหาความเป็นอมตะหลังจากการเสียชีวิต ของเอนกิดู
  • 34. สรุปเนื้อหาสา คัญของสุเมเรียน • ประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม(รูปลิ่ม) เขียนลงบนแผ่นดินเหนียวด้วยปากกา ที่ทาจากต้นอ้อแล้วนาไปตากแห้ง • รู้จักใช้ระบบชลประทาน เช่น อ่างเก็บนา้ เขื่อนกัน้นา้ ประตูระบายนา้ • ดารงชีพด้วยการเพาะปลูก พืชที่สาคัญคือ ข้าวสาลี • รู้จักใช้ยานพาหนะเช่น รถม้า • รู้จักใช้โลหะผสม(สาริด) ทาเครื่องมือ เครื่องประดับ • รู้จักทอผ้า • รู้จักการบวก ลบ คูณ ทาปฏิทินจันทรคติ(ข้างขึน้ ข้างแรม) การนับวัน เวลา
  • 35.
  • 36.
  • 37. อมอไรท์(Amorties) หรือบาบิโลน • พวกอมอไรท์หรือบาบิโลเนียน เป็นชนเผ่าเซมิติกซึ่งมีถิ่นกา เนิดในแถบ ตะวันออกกลาง ได้ขยายอิทธิพลในดินแดนเมโสโปเตเมียและสร้าง จักรวรรดิบาบิโลนที่เจริญ รุ่งเรืองในช่วงประมาณปี 1800-1600 ก่อน คริสต์ศักราช ผู้นา สาคัญคือกษัตริย์ฮัมมูราบีผู้ยิ่งใหญ่ ซึ่งได้สร้างความ เข้มแข็งให้แก่จักรวรรดิบาบิโลน โดยการทาสงครามขยายดินแดนและ จัดทาประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบีเพื่อเป็น หลักฐานในการ ปกครองและจัดระเบียบสังคม นอกจากนี้ชาวบิโลเนียนยังสืบทอดความ เจริญต่างๆ ของพวกสุเมเรียนไว้ เช่น ความเชื่อทางศาสนาซึ่งได้แก่การ บูชาเทพเจ้า การแบ่งกลุ่มชนชั้นในสังคมเพื่อแบ่งแยกหน้าที่และความ สะดวกในการปกครอง การผลิตสินค้าอุตสาหกรรมและการค้าขายกับ ดินแดนอื่นๆ เช่น อียิปต์และอินเดียซึ่งนาความมั่งคั่งให้แก่จักวรรดิ บาบิโลน
  • 38. • จักรวรรดิบาบิโลนค่อยๆเสื่อมอานาจลง เมื่อมีชนชาติอื่นขยายอิทธิพล เข้ามาในดินแดนเมโสโปเตเมียและสลายลงไปโดยถูกพวกแอลซีเรียน โจมตี
  • 39. • กษัตริย์ชาวอามอไรท์องค์ที่ 6 และเป็น พระมหากษัตริย์พระองค์แรกแห่งจักรวรรดิบาบิโลน รู้จักกันดีที่สุดในด้านกฎหมายในขณะเดียวกับความ เป็นผู้ยิ่งใหญ่ด้านการทหารที่ทาให้อาณาจักร บาบิโลนมีอา นาจมากที่สุดในแถบเมโสโปเตเมียโดย การเอาชนะพวกซูเมอร์และพวกอัคคาด
  • 40. กฎหมายฮัมมูราบี • มีการประมวลกฎหมายลายลักษณ์อักษรที่เก่าแก่ที่สุดในโลก คือ กฎหมายฮัมมูราบี มีบทลงโทษแบบ “ตาต่อตา ฟันต่อฟัน”
  • 41. • เ ป็น บ ท บัญ ญัติที่ร ว บ ร ว ม ก ฎ ห ม า ย ต่า ง ๆ แ ล ะ พระราชกฤษฎีกาของพระเจ้า ฮัมมูราบี ราชาแห่ง บาบิโลเนีย และเป็นประมวลกฎหมายที่เก่าแก่ที่สุด ประมวลกฎหมายนี้คัดลอกไว้โดยการแกะสลักลงบน หินบะซอลต์สีดา สูง 2.25 เมตร ซึ่งต่อมาทีมนักโบราณคดี ฝรั่งเศสขุดพบที่ Susa ประเทศอิรัก ในช่วงฤดูหนาวปี 1901 ถึง 1902 หินสลักนี้แตกเป็น 3 ชิ้น และได้รับการ บูรณะ ปัจจุบัน ประมวลกฎหมายฮัมมูราบีอยู่ใน พิพิธภัณฑ์ลูฟร์กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
  • 42. • กฎหมายดังกล่าวเป็นกฎหมายอาญา โดยยึดหลักที่ปัจจุบัน เรียกว่า "ตาต่อตา ฟันต่อฟัน" อันหมายถึงทา ผิดอย่างไรได้ โทษอย่างนั้น ซึ่งแม้บทลงโทษตามกฎหมายฮัมมูราบีจะดู ว่าโหดเหี้ยมตามความคิดของคนสมัยใหม่ แต่การทา กฎหมายให้เป็นลายลักษณ์อักษรและพยายามใช้บังคับ อย่างเป็นระบบกับทุกคน และการ "ถือว่าเป็นผู้บริสุทธ์ิไว้ ก่อนจนกว่าจะได้รับการพิสูจน์ว่าผิด" นับเป็นหลักการ สา คัญที่นับเป็นวิวัฒนาการทางอารยธรรมของมนุษย์
  • 43. ฮิตไทต์ (Hittites) • พวกฮิตไทต์เป็นพวกอินโด-ยูโรเปียน ที่อพยพมาจากทางเหนือ ของทะเลดาเมื่อประมาณปี 2300 ก่อนคริสต์ศักราช ต่อมาได้ ขยายอิทธิพลเข้าไปในเขตจักรวรรดิบาบิโลนและเข้าครอบครอง ดินแดน ซีเรียในปัจจุบันพวกฮิตไทต์สามารถนาเหล็กมาใช้ ประดิษฐ์อาวุธแบบต่างๆ และจัดทาประมวลกฎหมายเพื่อใช้ ควบคุมสังคม โดยเน้นการใช้ความรุนแรงตอบโต้ผู้ที่กระทา ความผิด เช่น ให้จ่ายค่าปรับแทนการลงโทษที่รุนแรง อาณาจักร ฮิตไทต์เสื่อมอา นาจลงในราวปี 1200 ก่อนคริสต์ศักราช
  • 44. ประเด็นที่สาคัญของฮิตไทต์ • เป็นเผ่าอินโดยุโรเปียน • เดิมอยู่ทางตอนใต้ของรัสเซีย ขยายตัวมาตามลุ่มแม่นา้ยูเฟรติส โจมตี ทางเหนือของซีเรีย ปล้นกรุงบาบิโลนและปกครองดินแดนเมโสโปเตเมีย ต่อมา • มีความสามารถในการรบมาก • เป็นชนเผ่าแรกที่รู้จักใช้เหล็กทาเป็นอาวุธ รู้จักใช้รถเทียมม้าทาศึก • ตรงกับสมัยที่อียิปต์เรืองอานาจ • กษัตริย์ฮัตตูซิลิที่ 3แห่งฮิตไทต์ และฟาโรห์รามเสสที่ 2แห่งอียิปต์ได้ทา สนธิสัญญาไม่รุกรานกัน และหากบุคคลที่ 3 มาโจมตี ต้องช่วยเหลือกัน
  • 46. • มีการลงนามและให้สัตยาบันระหว่างศตวรรษที่ 13 ก่อนคริสตกาล ระหว่างฟาโรห์รามเสสที่ 2 แห่งอียิปต์ และกษัตริย์ฮัททูซิลีที่ 2 แห่งฮิตไทต์ จุดประสงค์ของข้อตกลงนี้คือสร้างและรักษา ความสัมพันธ์อย่างสันติระหว่างทั้งสองฝ่าย มันเป็นความตกลงที่ เก่าแก่ที่สุดเท่าที่รู้จักกันจากตะวันออกใกล้ และเป็นสนธิสัญญา ฉบับเขียนที่เก่าแก่ที่สุดที่ยังคงเหลือรอดมาจนถึงปัจจุบัน (ซึ่งอาจ มิใช่สนธิสัญญาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก) สนธิสัญญาดังกล่าวมีการ จารึกไว้ในภาษาอียิปต์ ดังที่ปรากฏในกาแพงเทวสถานด้วย ไฮโรกลิฟฟิก และในอดีตจักรวรรดิฮิตไทต์ ซึ่งปัจจุบันคือ ประเทศตุรกี ที่ซึ่งมันถูกเก็บรักษาไว้บนแผ่นจารึกดินเผา
  • 47. แอลซีเรียน (Assyrians) • พ วก แ อลซีเ รียนมีถิ่นฐานอยู่ทางตอนเหนือของ เมโสโปเตเมีย เป็นชนชาตินักรบที่มีความสามารถและ โหดร้าย จึงเป็นที่คร้ามเกรงของชนชาติอื่น พวก แอลซีเรียนได้ขยายอานาจครอบครองดินแดนของพวก บาบิโลเนียน ซีเรีย และดินแดนบางส่วนของจักรววรดิ อียิปต์ จักรวรรดิแอลซีเรียนมีความเจริญรุ่งเรืองในช่วงปี 900-612 ก่อนคริสต์ศักราช
  • 48. • อนึ่ง การที่แอลซีเรียนเป็นชนชาตินักรบจึงได้มอบอารยธรรมสาคัญ ให้แก่ชาวโลกคือการ สร้างระบอบปกครองจักรวรรดิที่เข้มแข็ง มีการ ควบคุมดินแดนที่อยู่ใต้การปกครองอย่างใกล้ชิด โดยสร้างถนนเชื่อม ติดต่อกับดินแดนเหล่านั้นจา นวนมากเพื่อความสะดวกในการเดิน ทัพ และติดต่อสื่อสาร
  • 49. • นอกจากนียั้งมีความก้าวหน้าในเทคโนโลยีทางการทหารและการรบ โดยเฉพาะการพัฒนาอาวุธยุทโธปกรณ์และการใช้ทหารรับจ้างที่มี ประสิทธิภาพสูง อย่างไรก็ตาม แอลซีเรียนมิได้พัฒนาความเจริญด้าน อื่นๆ มากนัก ส่วนใหญ่เป็นการสืบทอดความเจริญที่มีอยู่เดิมในดินแดน ที่ตนเข้าไปครอบครอง เช่น ความเชื่อทางศาสนา ศิลปกรรม และ วรรณกรรม • ความยิ่งใหญ่ของจักรวรรดิแอสซีเรียนเกิดจากการรุกรานดินแดนของชน ชาติอื่น ดังนัน้จึงมีศัตรูมากและถูกศัตรูทาลายในที่สุด
  • 50. สรุปเนื้อหาสา คัญ • เป็นเผ่าเซมิติกมาจากทะเลทรายอาหรับ • ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองนิเนเวห์ • สามารถในการรบและการค้า • ขยายอานาจถึงฟินิเชีย ปาเลสไตน์ อียิปต์และเปอร์เซีย • กองทัพแข็งแกร่ง มีระเบียบวินัยสูง • ใช้เหล็กทาอาวุธ • มีการก่อสร้างที่ใหญ่โตมหึมา มาทาเป็นโดม เช่นพระราชวังซาร์กอน • มีการปั้นแบบนูนตัวและลอยตัว ให้อารมณ์สมจริง
  • 51.
  • 52. แคลเดียน (Chaldeans) • พวกแคลเดียนได้ร่วมกับชนชาติอื่นทาลายอานาจของแอลซีเรียนเมื่อปี 612 ก่อนคริสต์ศักราช หลังจากนั้นก็ได้ครอบครองดินแดนส่วนใหญ่ ของจักรวรรดิแอสซีเรีย ผู้นาที่ยิ่งใหญ่ของแคลเดียนคือกษัตริย์ เนบูคัดเนซซาร์ซึ่งสถาปนาจักรวรรดิบาบิโลนขึ้นใหม่และรื้อฟื้นความ เจริญต่างๆ ในอดีต เช่น การก่อสร้างอาคารที่สวยงามโดยเฉพาะการ สร้าง “สวนลอยแห่งบาบิโลน” ซึ่งได้รับการยกย่องว่าเป็น 1 ใน 7 สิ่ง มหัศจรรย์ของโลก การรื้อฟื้นประมวลกฎหมายและวรรณกรรมของชาว บาบิโลเนียนรวมทั้งระบบเศรษฐกิจและการค้า ดังนั้นนักประวัติศาสตร์ จึงเรียกจักรวรรดิของพวกแคลเดียนว่า “จักรวรรดิบาบิโลนใหม่” อย่างไรก็ตาม พวกแคลเดียนก็ได้สร้างมรดกที่สาคัญคือการศึกษา ทางด้านดาราศาสตร์และโหราศาสตร์ จักรวรรดิแคลเดียนมีอานาจ ในช่วงสั้นๆ และสิ้นสลายเมื่อปี 534 ก่อนคริสต์ศักราช
  • 53. • เป็นพวกเร่ร่อนเผ่าเซมิติกตั้งถิ่นฐานบริเวณทะเลทรายซีเรียและ ท ะ เ ล ท ร า ย อ า ห รับ ไ ด้เ ข้า ยึด ค ร อ ง ดิน แ ด น ท า ง ตะวันออกเฉียงเหนือของดินแดนเมโสโปเตเมีย • ซากอนผู้นา ชาวอัคคัด ได้ยึดครองนครรัฐของพวกสุเมเรียนและ รวบรวมดินแดนบริเวณฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนไปจนถึงอ่าว เปอร์เซียขึ้นป็นจักรวรรดิ • ปกครองไม่นานก็ถูกสุเมเรียนโค่นล้มแล้วปกครองใหม่เป็นครั้ง ที่สอง
  • 54. • สวนแห่งนีส้ร้างขึน้ในเขตพระราชฐาน มีลักษณะคล้ายปิรามิด โดยสร้าง ซ้อนกันขึน้ไปเป็นชัน้ๆ นักประวัติศาสตร์จากซิซิลีที่ชื่อ "ดิโอโดโรส" กล่าวว่า ชาวบาบิโลนใช้อิฐและนา้มันดินเป็นส่วน ประกอบสาคัญใน การก่อสร้างและเพื่อให้กันนา้ได้ดีนัน้ ชาวเมืองจะใช้หญ้าประเภทอ้อ หรือกกผสม นา้มันดินปูพืน้ชัน้แรก แล้วปูทับด้วยอิฐเผาที่ตริงไว้ด้วยปูน ก่อนจะวางตะกวั่ทับลงไปบนชัน้บนสุด หลังจากนัน้จึงลงดินที่มีปริมาณ มากพอที่จะปลูกต้นไม้ทุกประเภท นับแต่ไม้พุ่มไปจนถึงไม้ยืนต้น นา้ที่ ใช้เลีย้งต้นไม้ในสวนลอยสูบขึน้มาจากแม่นา้ยูเฟรติสเบือ้งล่างมาตาม ท่อที่ฝังซ่อนไว้อย่าง มิดชิดในแต่ละส่วนของระเบียง ทาให้ต้นไม้ที่ปลูก ที่นี่เขียวชอุ่ม ให้ดอกและผลได้เป็นอย่างดีแม้ในช่วง ทแี่ล้งที่สุดกลางฤดู ร้อนในทะเลทราย
  • 56. ทา แผนที่ดวงดาว • ชาวแคลเดียนสามารถหาเวลาที่ดวงจันทร์หมุนรอบโลก เวลาเกิด สุริยคลาสและจันทรคลาส และคา นวณหาความยาวของปีทั้งหมดได้ อย่างแม่นยา แคลเดียนรับทอดงานดาราศาสตร์จากสุเมเรียนโดยแท้จริง นาบูริแมนนู(Naburiannu) เป็นนักดาราศาสตร์ชาวแคลเดียนผู้ได้รับ การอุปถัมภ์จากกษัตริย์ดาริอุสที่ หนึ่ง แห่งเปอร์เซีย ในการดา เนินการ ศึกษาค้นคว้า ผลงานที่ปรากฎคือสามารถค้นคว้านับเวลาในรอบหนึ่งได้ ใกล้เคียงกับการนับเวลา ในปัจจุบันมาก คือ 1 ปีมี 365 วัน 6 ชั่วโมง 15 นาที 41 วินาที
  • 57.
  • 58. กำแพงอิซต้ำ • ทา จากกระเบื้องหลากสี และแกะสลักเป็นภาพสัตว์ประหลาด เรียกกริฟฟินคือมีใบหน้าและลาตัวเป็นสิงห์โต แต่มีปีกเป็นนก อินทรีย์ (Griffin) กา แพงนี้เชื่อกันว่าเป็น ช่องทางนา ไปสู่เทพเจ้า มาร์ดุ๊กซึ่งเป็นเทพเจ้าสูงสุดแห่งกรุงบาบิโลน ปัจจุบัน กา แพงอิซต้าถูกเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์กรุงเบอร์ลิน
  • 59.
  • 60. เปอร์เซีย (Persia) • พวกเปอร์เซียเป็นชนเผ่าอินโด-ยูโรเปียนที่อพยพมาจากทางเหนือของ เทือกเขาคอเคซัส เมื่อราว 1800 ปีก่อนคริสต์ศักราชและตั้งถิ่นฐานอยู่ใน ดินแดนเปอร์เซียหรือประเทศอิหร่าน ปัจจุบัน ต่อมาได้ร่วมมือกับพวก แคลเดียนโค่นล้มจักรวรรดิแอลซีเรียนและสถาปนา จักรวรรดิเปอร์เซีย เมื่อประมาณ 550 ปีก่อนคริสต์ซักราช จากนั้นได้ขยายอา นาจเข้ายึดครอง จักรวรรดิบาบิโลนของพวก แคลเดียน ดินแดนเมโสโปเตเมีย เอเชียไมเนอร์และอียิปต์ ในสมัยพระเจ้าดาริอุสหรือเดอไรอัสมหาราช (Darius the Great) เปอร์เซียได้ขยายอิทธิพลเข้าไปในดินแดนตะวันออก ถึงลุ่มแม่น้า สินธุของ อินเดียและทางตะวันตกถึงตอนใต้ของยุโรป แม้ว่า เปอร์เซียไม่ประสบความสา เร็จในการทา สงครามเพื่อยึดครองนครรัฐกรีก แต่จักรวรรดิเปอร์เซียในขณะนั้นก็มีอา นาจยิ่งใหญ่ที่สุด
  • 61. • เปอร์เซียเป็นจักรวรรดิใหญ่ที่ครอบคลุมดินแดนของชนชาติต่างๆ จานวนมาก จึงต้องจัดการปกครองให้มีประสิทธิภาพ ผู้ปกครองใช้หลัก ความยุติธรรมในการจัดเก็บภาษีและการศาล รวมทัง้การกระจาย อานาจการปกครองให้แก่ท้องถิ่นและดินแดนต่างๆ โดยรับวิธีควบคุม อานาจปกครองตามแบบพวกแอสซีเรียน ซึ่งได้แก่ การสร้างถนนเชื่อม ดินแดนต่างๆ เพื่อรองรับการเดินทัพ การสื่อสาร และไปรษณีย์ ถนน สายสาคัญ ได้แก่ เส้นทางหลวงเชื่อมเมืองซาร์ดิส (Sardis) ใน เอเชียไมเนอร์(ปัจจุบันอยู่ในประเทศตุรกี) และนครซูซา (Susa) ซึ่ง เป็นเมืองหลวงแห่งหนึ่งของจักรวรรดิเปอร์เซีย ถนนสายนีไ้ม่เพียงแต่มี ความสาคัญด้านยุทธศาสตร์ หากยังมีความสาคัญต่อการค้าระหว่าง ดินแดนต่างๆ ภายในจักรวรรดิ และเป็นเส้นทางสาคัญในการติดต่อ ระหว่างตะวันออกและตะวันตก
  • 62. • พวกเปอร์เซียรับความเจริญรุ่งเรืองจากดินแดนต่างๆ โดยเฉพาะ จากอียิปต์และเมโสโปเตเมีย แล้วหล่อหลอมเป็นวัฒนธรรมของ ตน เช่น การประดิษฐ์ตัวอักษร การใช้ระบบเงินตรา การ ประยุกต์รูปแบบสถาปัตยกรรม ฯลฯ อย่างไรก็ตาม พวก เปอร์เซียก็มีอารยธรรมที่โดดเด่น คือ มีศาสนาของตนเอง ได้แก่ ศาสนาโซโรแอสเตอร์ (Zoroaster) ซึ่งสั่งสอนให้มนุษย์ทา ความ ดีเพื่อมีชีวิตที่ดีในอนาคตและละเว้นความชั่วโดยเฉพาะการ กล่าวเท็จ หลักความดีความชั่วของศาสนาโซโรแอสเตอร์มี อิทธิพลต่อแนวคิดและคา สอนของศาสนายูดาย (Judaism) ของ ชาวยิว และศาสนาคริสต์ซึ่งถือกา เนิดขึ้นหลังจากนั้น
  • 64. ฟีนิเชียน (Phoenicians) • ระหว่างปี 1000-700 ปีก่อนคริสต์ศักราช พวกฟีนิเชียนอาศัยอยู่ใน ดินแดนฟินิเชียซึ่งเป็นที่ตัง้ของประเทศเลบานอนปัจจุบัน และมีการ ปกครองแบบนครรัฐ ลักษณะที่ตัง้มีเทือกเขาสลับซับซ้อนกัน้ระหว่างที่ ราบแคบๆ ซึ่งขนานกับชายฝั่งทะเลเมดิเตอร์เรเนียนกับดินแดนอื่นๆ ทา ให้พวกฟีนิเชียนไม่สามารถขยายดินแดนของตนออกไปได้ จึงดารงชีวิต ด้วยการเดินเรือและค้าขายทางทะเล
  • 65. • นอกจากมีชื่อเสียงในด้านการค้าแล้ว ชาวฟีนิเชียนยังมีชื่อเสียงในด้าน อุตสาหกรรมต่อเรือซึ่งทาจากไม้ซีดาร์ที่มี อยู่มากบนเทือกเขาใน เลบานอนและการทาอุตสาหกรรมเครื่องใช้จากแร่โลหะต่างๆ เช่น ทองคา ทองแดง ทองเหลือง แร่เงิน และเครื่องแก้ว นอกจากนียั้งริเริ่ม การทอผ้าขนสัตว์และย้อมผ้า รวมทัง้ได้จับจองอาณานิคมในเขตทะเล เมดิเตอร์เรเนียนจานวนมาก เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าของตน เช่น เกาะ ซิซีลี ซาร์ดิเนีย และมอลตา อนึ่ง ชาวฟีนิเชียนจาเป็นต้องใช้เอกสารและ หลักฐานในการติดต่อค้าขายจึงได้พัฒนาตัว อักษรขึน้จากโบราณของ อียิปต์จานวนรวม 22 ตัว อักษรฟีนิเชียนเป็นมรดกทางอารยธรรมที่ สาคัญของโลกตะวันตก เนื่องจากชาวกรีกและโรมันได้นาไปใช้และ สืบทอดต่อมาจนถึงปัจจุบัน
  • 66.
  • 67. ฮิบรู(Hebrews) • ชาวฮิบรูหรือชาวยิว เป็นชนเผ่าเซมิติกที่เร่ร่อนอยู่ในดินแดนต่างๆ เคยอาศัย อยู่ในเขตซูเมอร์ก่อนที่จะอพยพเข้าไปอยู่ดินแดนคานาอัน (Canaan) หรือ ปาเลสไตน์ (Palestine) ในปัจจุบัน ชาวฮิบรูเป็นชนชาติที่เฉลียวฉลาดและ บันทึกเรื่องราวของพวกตนในคัมภีร์ศาสนา (Old Testament) ทา ให้มีข้อมูล เกี่ยวกับบรรพบุรุษของชาวยิวอย่างละเอียด บันทึกชาวฮิบรูกล่าวว่า เดิม บรรพบุรุษเคยอยู่ทางตอนเหนือของเมโสโปเตเมียต่อมาได้ตกเป็นทาสของ อียิปต์ เมื่ออียิปต์เสื่อมอานาจ ชาวฮิบรูจึงพ้นจากความเป็นทาสโดยผู้นาคือ โมเสส (Moses) ได้นา ชาวฮิบรูเดินทางเร่ร่อนเพื่อหาที่ตั้งหลักแหล่งทา มาหา กิน ในที่สุดมาถึงดินแดนคานาอัน หรือภายหลังเรียกว่า “ปาเลสไตน์” และ สร้างอาณาจักรอิสราเอล มีกษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่คือ กษัตริย์เดวิด (David) ซึ่ง สถาปนานครเยรูซาเลมเป็นเมืองหลวง
  • 68. • ต่อมาอาณาจักรอิสราเอล ได้แตกแยกเป็น 2 ส่วน หลักจากกษัตริย์ โซโลมอนสิน้พระชนม์ เมื่อปี 922 ก่อนคริสต์ศักราช และถูกชนชาติที่ เข้มแข็งกว่าคือแอลซีเรียนและแคลเดียนเข้ายึดครอง ชาวยิวส่วนใหญ่ ถูกจับไปเป็นทาสในดินแดนอื่น แต่ได้กลับคืนดินแดนปาเลสไตน์อีกครัง้ เมื่อจักรวรรดิเปอร์เซียเข้ามาครอบครองดินแดนนี้อย่างไรก็ตาม พวก เขาได้ละทิง้ดินแดนของตนไปในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 1 หลังจากพวก โรมันเข้ายึดครองปาเลสไตน์และทาลายเมืองของชาวยิว
  • 69. • ชาวยิวมีกฎหมาย วรรณกรรม และศานาของตนเอง ประมวลกฎหมาย เรียกว่า “กฎหมายโมเสส” วรรณกรรมที่สาคัญคือคัมภีร์ไบเบิล ซึ่ง ประมวลกฎหมายเรื่องราวตัง้แต่การกาเนิดของโลกมนุษย์ จนกระทงั่ถึง พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของชนชาติยิว คัมภีร์ไบเบิลฉบับบนีเ้ป็น หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สาคัญและเป็นภาคพระ คัมภีร์เก่า (Old Testament) ในคัมภีร์ไบเบิลของศาสนาคริสต์ด้วย
  • 70.
  • 71. • ความเจริญรุ่งเรืองที่ชนชาติต่างๆ ในดินแดนเมโสโปเตเมียคิดค้น หล่อหลอม และสืบทอดต่อกันมา ส่วนใหญ่กลายเป็นรากฐานของ อารยธรรมตะวันตกที่ชาวยุโรปรับและพัฒนาต่อเนื่องเป็นอารยธรรม ของมนุษยชาติในปัจจุบัน
  • 72. อ้างอิง 1. http://civilizationcivilize.blogspot.com 2. http://www.oknation.net/blog/print.php?id=336522 3. http://writer.dek-d.com/abjmp-social/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=5 4. http://www.thaigoodview.com/node/4483 5. http://writer.dek-d.com/abjmp-social/story/viewlongc.php?id=773121&chapter=7
  • 73. รายชื่อสมาชิก ม.6.5 1. ศิริกาญจน์แก้วมณีมงคล เลขที่47 2. น้า ทิพย์ วรรณขจีพิบูลย์เลขที่ 48