SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
BLOGGER

เรื่องของ Blogger
        Blogger เริ่มตนจากบริษัทเล็กๆ ในซานฟรานซิสโกชื่อ Pyra Labs ในเดือน
สิงหาคม 1999 ในยุคเฟองฟูของธุรกิจดอตคอม แตก็ไมใชกิจการที่สนับสนุนโดยนัก
ลงทุน กลุมเพื่อนสามคน สรางรายไดจากการทํางานในโครงการเว็บไซตที่นาเบื่อใหกับ
บริษัทใหญๆ และมองหาทางกาวเขาสูโลกแหงอินเทอรเน็ตอยางอลังการ สิ่งที่เขา
พยายามทําตั้งแตแรกนั้นไมคอยมีความหมายสักเทาไรในขณะนี้ แตระหวางที่เขา
พยายามกันอยูนั้น เขาไดสราง Blogger ขึ้นมาโดยไมไดตั้งใจ และก็คิดวานาสนใจ
        Blogger เริ่มตนดําเนินการอยางเงียบๆ และเติบโตขึนในที่สุด ภายในเวลาไมกี่ป
                                                            ้
เขามีรายไดพอสมควร (แตยังคงเปนทีมงานเล็กๆ) และจากนั้นบางสิ่งก็เกิดขึ้น เงินทุน
ของเขาหมด และการเดินทางอันแสนสนุกก็เริ่มสนุกนอยลง เขาเอาตัวรอดมาไดอยาง
หวุดหวิด อาจจะไมครบถวนเทาใดนัก แตเขาก็ใหบริการมาไดอยางตอเนื่อง (เกือบทุก
วัน) และเริ่มกลับมาสรางรากฐานที่มั่นคงตอไป
        การดําเนินการเปนไปไดดวยดีอีกครั้งในป 2002 เขามีผูใชนับแสนๆ ราย แมวา
เขาจะมีกันไมกี่คน แตแลวสิ่งที่ไมมีใครคาดหมายก็เกิดขึ้น: Google ตองการ ซื้อกิจการ
ของเขา ใชแลว Google ของจริง
        เขาชอบ Google มาก และ Google ก็ชอบบล็อก เขาจึงคลอยตามแนวคิดนี้ และ
ทุกอยางก็ไปไดสวย
        ขณะนี้เขาเปนทีมงานเล็กๆ (แตใหญกวาเดิมนิดหนอย) ใน Google ที่มุงเนนใน
การชวยเหลือใหผูคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นทางเว็บ และจัดระเบียบขอมูลของโลก
จากมุมมองของบุคคล ซึ่งจะวาไปแลวก็คือเรื่องหลักที่เราทํามาตลอดนั่นเอง
        สําหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Google โปรดเขาสู google.com (ซึ่งใชคนหา
ขอมูลไดอีกดวย)
บล็อก คืออะไร
บล็อกเปนไดอารีสวนบุคคล หองฟงเทศน พื้นที่สําหรับความรวมมือ เวทีแสดงออกทาง
การเมือง หองกระจายขาว การเก็บรวบรวมลิงก ความคิดสวนตัวของคุณ บันทึกสําหรับ
คนทั่วโลก

บล็อกของคุณจะเปนอะไรก็ไดตามที่ใจตองการ เรามีบล็อกนับลาน ทุกรูปแบบและทุก
ขนาด และไมมีกฎตายตัว

กลาวงายๆ บล็อกก็คือเว็บไซต ซึ่งคุณสามารถเขียนเรื่องตางๆ ไดอยางตอเนื่อง เรื่อง
ใหมจะปรากฏดานบนสุด เพื่อใหผูเยี่ยมชมสามารถอานสิ่งที่มาใหม จากนั้นจะสามารถ
แสดงความคิดเห็นหรือสรางลิงก หรือสงอีเมลถึงคุณ หรือไมทําอะไรเลย

นับตั้งแต Blogger เปดตัวในป ค.ศ. 1999 บล็อกก็ไดเปลี่ยนโฉมหนาของเว็บ สราง
ผลกระทบตอการเมือง เขยาวงการสื่อสารมวลชน และทําใหคนนับลานไดแสดงออกและ
ติดตอกับบุคคลอื่น

และเรามั่นใจวาทั้งหมดนี้เปนเพียงจุดเริ่มตนเทานั้น
เผยแพร ความคิดของคุณ




บล็อกเปนกระบอกเสียงของคุณเองในเว็บ และเปนพื้นที่สําหรับเก็บและแลกเปลี่ยนสิ่งที่
คุณสนใจ — ไมวาจะเปนความเห็นเกี่ยวกับการเมือง ไดอารีสวนบุคคล หรือลิงกไปยัง
เว็บไซตที่คุณตองการจดจํา

ผูคนจํานวนมากใชบล็อกเพื่อจัดระเบียบความคิดของตัวเอง ในขณะที่บางคนมีผูฟงนับ
พันที่มีอิทธิพลจากทั่วโลก นักสือสารมวลชนมืออาชีพและสมัครเลนใชบล็อกเพื่อ
                               ่
เผยแพรขาว สวนนักเขียนบันทึกสวนบุคคลใชบล็อกเพื่อแสดงความคิดของตน

ไมวาคุณอยากจะบอกอะไร Blogger ชวยคุณพูดสิ่งนั้นได
ชักชวน เพื่อนเขารวม
Blogging ไมใชแคการแสดงความคิดของคุณบนเว็บเทานั้น แตเปนเรื่องของการติดตอ
และรับฟงบุคคลอื่นที่อานผลงานของคุณและใสใจที่จะตอบสนอง เมื่อใช Blogger คุณ
จะสามารถควบคุมวาใครสามารถอานและเขียนในบล็อกของคุณ ไมวาจะเปนกลุมเพื่อน
สนิทหรือคนทั้งโลก!

ความคิดเห็นของ Blogger ใหทุกคนจากทุกที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความของ
คุณ คุณสามารถเลือกวาจะยอมใหมีความคิดเห็นสําหรับแตละบทความหรือไม และคุณ
สามารถลบความคิดเห็นใดก็ตามที่คุณไมชอบได

การควบคุมการเขาถึง ชวยใหคุณสามารถเลือกวาผูใชคนใดสามารถอานหรือเขียน
ขอมูลในบล็อกของคุณ คุณสามารถใชบล็อกของกลุมที่มีผูเขียนหลายคนเปนเครื่องมือ
การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสําหรับทีมขนาดเล็ก ครอบครัว และกลุมอื่นๆ หรือในฐานะ
ผูเขียน คุณสามารถสรางพื้นที่ออนไลนสวนบุคคลสําหรับการเก็บรวบรวมขาวและ
ความคิดตางๆ เพื่อเก็บไวเอง หรือแลกเปลี่ยนกับผูอานไดมากตามที่คุณตองการ

ขอมูลสวนตัวใน Blogger ชวยใหคุณสามารถคนหาบุคคลและบล็อกที่มีความสนใจ
รวมกับคุณได ขอมูลสวนตัว Blogger ของคุณ ซึ่งเปนที่ที่คุณแสดงบล็อก ความสนใจ
และอื่นๆ จะชวยใหบุคคลอื่นหาคุณพบ (เฉพาะในกรณีที่คุณยินยอมใหคนหาได)
ออกแบบ บล็อกของคุณ
ไมวาคุณจะเริ่มตนบล็อกของคุณ หรือคิดวาไดเวลาเปลี่ยนโฉมหนาของบล็อกที่มีอยูแลว
เครื่องมือแกไขที่ใชงานงายของ Blogger จะชวยใหคุณสามารถออกแบบหนาเว็บที่มี
รูปลักษณนาสนใจไดอยางงายดาย

แมแบบ — แมแบบที่เรามีจะชวยใหคุณเริ่มตนดวยไซตที่นาสนใจไดทันที โดยไมตอง
เรียนรู HTML แมวา Blogger จะยอมใหคุณแกไขรหัส HTML ของบล็อกเมื่อใดก็ไดที่
ตองการ

สีและแบบอักษรที่กําหนดเอง — เมื่อคุณพรอมที่จะดําเนินการในขั้นถัดไป คุณสามารถ
ตั้งคาแมแบบเพิ่มเติม เพื่อสรางการออกแบบที่สะทอนถึงตัวคุณและบล็อกของคุณได
อยางสมบูรณแบบ

ลากและวางองคประกอบของหนา — ระบบลากและวางที่แสนสะดวกของ Blogger
ชวยใหคุณสามารถตัดสินใจวาจะใหบทความ ขอมูลสวนตัว คลังบทความ และสวนอื่นๆ
ของบล็อกอยูที่ใดในหนา
สง รูป
บางครั้งคุณเพียงอยากแสดงรูปภาพ ในอินเทอรเฟซของ Blogger มีปุมสําหรับการอัพ
โหลดรูปภาพ เพียงคุณคลิกปุมรูปภาพเพื่ออัพโหลดภาพถายจากคอมพิวเตอรของคุณ
ถาภาพถายที่คุณตองการวางในบล็อกนั้นอยูในเว็บอยูแลวก็สามารถทําไดเชนกัน โดย
บอกเราวาภาพนั้นอยูที่ใด

คุณสามารถสงภาพถายจากกลองโทรศัพทเคลื่อนที่ไปยังบล็อกของคุณโดยตรง ขณะที่
คุณกําลังเดินทาง ดวย Blogger Mobile
ใช ระบบเคลื่อนที่
Blogger Mobile ชวยใหคุณสามารถสงภาพถายและขอความไปยังบล็อกของคุณ
โดยตรงในขณะที่เดินทาง คุณแคสงขอความถึง go@blogger.com จากโทรศัพท โดย
ไมจําเปนตองมีบัญชีผูใช Blogger เพียงแคขอความนั้น คุณก็สามารถสรางบล็อกใหม
และแสดงภาพถายหรือขอความที่คุณสง

หลังจากนี้ ถาคุณตองการอางสิทธิ์บล็อกระบบเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนบทความของคุณเปน
บล็อกอื่น เพียงเขาสู go.blogger.com และใชรหัสการอางสิทธิ์ของ Blogger ที่สงถึง
โทรศัพทของคุณ

เราสนับสนุนผูใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ไดรับความนิยมสวนใหญในประเทศ
สหรัฐอเมริกาและทั่วโลก ถาผูใหบริการของคุณไมสามารถใช Blogger Mobile คุณ
สามารถสงบล็อกของคุณโดยใช Mail-to-Blogger
เริ่มตน
วิธีที่ทําใหคุณเขาใจเกี่ยวกับการเขียนบล็อกไดรวดเร็วที่สุดคือ ลองเขียนบล็อก
ดวยตัวคุณเอง เราไดพยายามอยางสุดความสามารถที่จะทําใหการเขียนบล็อก
เปนเรื่องงายสําหรับคุณ เพียงคลิกลิงกดานลาง คุณก็จะเปนสวนหนึ่งของ
ปรากฏการณที่เปลี่ยนเว็บและสื่อเปนกิจกรรมการมีสวนรวม ภายในเวลาไมถึง
หานาที เราไมไดลอเลน

หลังจากนั้นจะเปนอยางไร ใครจะรู คุณอาจจะสนุกก็ได

และอยาลืม: Blogger ใหบริการโดยไมเสียคาใชจายใดๆ และถาคุณประสบ
ปญหา เพียงคลิกปุมความชวยเหลือจากหนาจอใดก็ได และคุณจะพบคําตอบที่
คุณตองการหา หรือกระทั่งยังสามารถถามเจาหนาที่ฝายสนับสนุนของเรา
วิธีการใช web blogger




                  1




ขั้นตอนที1 สมัครเปนสมาชิกของ Gmail กอนเปนอันดับแรก
         ่




                                                                   2




ขั้นตอนที่ 2 เมื่อเราเขาไปหนาแรกของ Gmail แลว เราก็เอาเมาสไปคลิกเลือกที่ ‘สมัครใชงาน
Gmail’
3




ขั้นตอนที่ 3 กรอกขอมูลสมัครสมาชิก Gmail




                                                     4




ขั้นตอนที่ 4 กรอกขอมูลใหครบ แลวคลิ๊กที่ “ฉันยอมรับ โปรดสรางบัญชีของฉัน”
หนาเว็บเมลของเรา




ขั้นตอนที่ 5 เขาไปที่ www.blogger.com แลวกรอกชื่อผูเขาใช (อีเมล) และ รหัสผานเพื่อลงชื่อเขาใชงาน
ขั้นตอนที่ 6 จะปรากฏหนานี้ขึ้นมา ใหกรอกชื่อที่แสดง แลวคลิ๊กที่ “ทําตอ”




ขั้นตอนที่ 7 กรอกชื่อเว็บบล็อก และที่อยูบล็อก เพื่อตรวจสอบความพรอมการใชงาน จากนั้นพิมพอักขระที่
ปรากฏเพื่อรับรองความถูกตองของคํา จากนั้นคลิ๊กที่ “ทําตอ”
ขั้นตอนที่ 8 เลือกแมแบบสําหรับบล็อกของคุณ




ขั้นตอนที่ 9 บล็อกของคุณจะถูกสรางขึ้นแลวคลิ๊กที่ “เริ่มตนการสงบทความ”
วิธีการใช Blogger




การสรางขอความ
เมาสไปคลิกที่สรางบทความใหม




พิมพขอความที่ตองการเผยแพร เลือกแบบอักษรเลือกสี และจัดรูปแบบขอความ
เสร็จแลว ก็คลิกที่เผยแพรขอความ
เลือกดูบล็อกเพื่อจะไดเขาไปดูบล็อกที่เราสราง

รูปรางหนาบล็อกของเรา
วิธีการตกแตงหนาบล็อกของเรา
การตกแตงเทมเพลต
เอาเมาสไปคลิกที่ตบแตงแลวจะเจอหนาเว็บนี้ เลือกเทมเพลต แลวเลือกที่องคประกอบหนาจากนั้น
ก็เริ่มตกแตง




การแกไข Nabar
-คลิกคําวาแกไขในวงกลมสีแดงดังรูปดานลาง จะปรากฏหนาตางใหตั้งคา Navbar เราก็เลือกมา
หนึ่งแบบทีเ่ ราชอบ
การแกไขสวนหัว เราก็สามารถแกไข ชื่อ คําอธิบายเกี่ยงกับตัวเรา ภาพ และการจัดวาง โดยคลิกที่
แกไขที่วงกลมสีแดงไวดังรูปดานบน




การแกไขบทความ คลิกที่แกไขแลวเราสามารถเลือกรายเพื่อจะเอาไปใสในบทความ และรูปแบบ
การจัดเรียงของขอความ
การแกไขแบบอักษรและสี
  คลิกเลือกที่ แบบอักษรและสี หนานี้เราจะสามารถเลือกแบบอักษรตางๆ สีบล็อก สีพื้นหลัง สี
ตัวอักษร เสร็จแลวเราก็คลิกที่ บันทึกการเปลี่ยนแปลง




การแกไข HTML
  เปนการแกไขแมแบบเทมเพลตที่คุณสรางขึ้น มีรูปรางหนาตาดังภาพขางลาง
การเลือกเทมเพลตใหม
  เราสามารถเลือกแมแบบหรือเทมเพลตที่เขามีใหไดที่นี่ เลือกเส็รจเราก็กดบันทึกเทมเพลต




การตั้งคา
การตั้งคาพื้นฐาน
 เปนการตั้งเครื่องมือที่ใชในบล็อกของเรา เชน อนุญาตใหเครื่องมือคนหาพบบล็อกของคุณ
หรือไม แสดงลิงกสงบทความทางอีเมล เนื้อหาสําหรับผูใหญหรือไม
นอกจากนี้ในการตั้งคาพื้นฐานยังมีการตั้งคารวม เพื่อใชในการตั้งคาที่เกี่ยวกับบทความของเรา




การเผยแพร
 เปนการตั้งคาที่อยู Blog*Spot นอกจากนี้ยังมีลิงคใหเราเขาไปจดทะเบียนโดแมนอีกดวย
การจัดรูปแบบ
  เปนการตั้งคาเกี่ยวกับรูปแบบของเวลา วันที่ ภาษา ฟลดชื่อเรื่อง ฟลดของลิงค และแมแบบ
บทความ
การตั้งคาขอคิดเห็น
   เราสามารถตั้งคาที่เกี่ยวกับขอคิดเห็นตางๆเชน แสดงหรือซอนความคิดเห็น เลือกกลุมคนที่มี
สิทธิ์แสดงความคิดเห็น แบบฟอรมขอคิดเห็น แสดงรูปของผูแสดงความคิดเห็น การตรวจสอบ เปน
ตน
เก็บเขาคลังบทความ
  เปนการตั้งคาเกี่ยวกับความถี่ของการเก็บขอความเขาคลังบทความ และการเปดใชหนาบทความ




กลับที่หนาแผงควบคุม ที่หนานี้เราสามารถแกไขขอมูลสวนตัวของเราได
การแกไขขอมูลสวนตัว
ในหนานี้แกไขขอมูลผูใชงาน เราสามารถใสขอมูลสวนตางๆลงไปได เชน ชื่อ อีเมล ภาพถาย เพศ
วันเกิด ที่อยู อาชีพและความสนใจ
เมื่อแกไขเสร็จแลวก็บันทึกขอมูลสวนตัว




มันก็จะลิงคกลับมาที่สวยบนของหนาเว็บ แกไขขอมูลผูใช เราเอาเมาสไปคลิกที่ ดูโปรที่อัปเดต
เมื่อเสร็จแลวมันจะลิงคมาหนาที่เห็นขางลางนี้ หนานี้จะแสดงผลที่เราอัปเดตขอมูลสวนตัว จากนั้น
เราก็คลิกที่ชื่อเว็บบล็อกของเรา




เมื่อเสร็จหมดแลวขอมูลที่ใสลงไปจะมาแสดงผลในหนานี้ ถาอยากดูบล็อกของคนอื่นใหคลิกที่บล็อกถัดไปตรงที่
วงสีแดงเอาไว
สมาชิกกลุม
1.อริสรา       แจงสวาง           50022767
2.ญาฎา         ศรีวิฑูรย          50120227
3.รัตติกาล     ตวนจะโปะ           50120685
4.สรส          สุขเจริญ            50120807
5.สาธินีย     วิสุทธาธรรม         50120814
6.สาวิตรี      แกวมณี             50120838
7.วรรณา        ทองแกมแกว          50120715
8.อรพรรณ       สมเกตุ              50120944
9.อังกูร       อุนพงศถาวร         50120975
10.อัจฉรา      ปราบสูงเนิน         50120982
11.รังสินี     วิลังคะ             50120654
12.ชิษณุพงศ   เกิดบัณดิษฐ        50120203
13.ปรีชญา      ปนแกว            50120449
คํานํา
         รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา search engine ในหัวขอ www.blogger.com ชึ่ง
เปนเว็บไซตที่ใชงานเกี่ยวกับการเผยแพรขอมูล การสงรูปภาพ ซึ่งทําใหเราสามารถเก็บบันทึกขอมูล
ตางๆไวได โดยไมสูญหาย และเราสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกับสมาชิกของเว็บไวตบล็อกเกอรได
เชนกัน
         รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา 310101 เทคโนโลยีการสนเทศเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง
คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะมีประโยชนแกผูที่มีความสนใจและตองการศึกษาเกี่ยวกับ
เว็บไซตบล็อกเกอรไมมากก็นอย หากมีขอผิดพลาดประการใดคณะผูจักทําตองขออภัยมา ณ ที่นี้
ดวย

                                                                          คณะผูจัดทํา
                                                                          03/02/2551
สารบัญ

เรื่อง                                 หนา
ประวัติ Blogger                          1
ความหมาย Blogger                         2
วิธีการสมัครสมาชิก Blogger               9
วิธการใชและการสรางขอความ
     ี                                  14
การตกแตงเทมเพลต                        16
การตั้งคา                              19
การแกไขขอมูลสวนตัว                   24
รายงาน
                      เรื่อง Blogger

                         เสนอ
             อาจารยอธิตา โชคอนันตรัตนา

                        จัดทําโดย
              นายอังกูร       อนุพงศถาวร
              นางสาวสาธินีย วิสุทธาธรรม
              นางสาวอัจฉรา ปราบสูงเนิน
              นางสาวญาฎา ศรีวิฑูรย
                        และคณะ


รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                            310101

Contenu connexe

Similaire à Blogger คืออะไร (20)

Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
บทความ Blog
บทความ Blogบทความ Blog
บทความ Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog 120704210721-phpapp02
Blog 120704210721-phpapp02Blog 120704210721-phpapp02
Blog 120704210721-phpapp02
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

Plus de พิพัฒน์ ตะภา

Plus de พิพัฒน์ ตะภา (6)

ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครูผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
ผอ.สพป.ชัยภูมิ 1 พบเพื่อนครู
 
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
แผนการสอนคอมพิวเตอร์ ป.5
 
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
ตัวชี้วัดและสาระศิลปะ
 
รายชื่อนักเรียนปี2555
รายชื่อนักเรียนปี2555รายชื่อนักเรียนปี2555
รายชื่อนักเรียนปี2555
 
ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์ทัศนศิลป์
ทัศนศิลป์
 
Googleintro
GoogleintroGoogleintro
Googleintro
 

Blogger คืออะไร

  • 1. BLOGGER เรื่องของ Blogger Blogger เริ่มตนจากบริษัทเล็กๆ ในซานฟรานซิสโกชื่อ Pyra Labs ในเดือน สิงหาคม 1999 ในยุคเฟองฟูของธุรกิจดอตคอม แตก็ไมใชกิจการที่สนับสนุนโดยนัก ลงทุน กลุมเพื่อนสามคน สรางรายไดจากการทํางานในโครงการเว็บไซตที่นาเบื่อใหกับ บริษัทใหญๆ และมองหาทางกาวเขาสูโลกแหงอินเทอรเน็ตอยางอลังการ สิ่งที่เขา พยายามทําตั้งแตแรกนั้นไมคอยมีความหมายสักเทาไรในขณะนี้ แตระหวางที่เขา พยายามกันอยูนั้น เขาไดสราง Blogger ขึ้นมาโดยไมไดตั้งใจ และก็คิดวานาสนใจ Blogger เริ่มตนดําเนินการอยางเงียบๆ และเติบโตขึนในที่สุด ภายในเวลาไมกี่ป ้ เขามีรายไดพอสมควร (แตยังคงเปนทีมงานเล็กๆ) และจากนั้นบางสิ่งก็เกิดขึ้น เงินทุน ของเขาหมด และการเดินทางอันแสนสนุกก็เริ่มสนุกนอยลง เขาเอาตัวรอดมาไดอยาง หวุดหวิด อาจจะไมครบถวนเทาใดนัก แตเขาก็ใหบริการมาไดอยางตอเนื่อง (เกือบทุก วัน) และเริ่มกลับมาสรางรากฐานที่มั่นคงตอไป การดําเนินการเปนไปไดดวยดีอีกครั้งในป 2002 เขามีผูใชนับแสนๆ ราย แมวา เขาจะมีกันไมกี่คน แตแลวสิ่งที่ไมมีใครคาดหมายก็เกิดขึ้น: Google ตองการ ซื้อกิจการ ของเขา ใชแลว Google ของจริง เขาชอบ Google มาก และ Google ก็ชอบบล็อก เขาจึงคลอยตามแนวคิดนี้ และ ทุกอยางก็ไปไดสวย ขณะนี้เขาเปนทีมงานเล็กๆ (แตใหญกวาเดิมนิดหนอย) ใน Google ที่มุงเนนใน การชวยเหลือใหผูคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นทางเว็บ และจัดระเบียบขอมูลของโลก จากมุมมองของบุคคล ซึ่งจะวาไปแลวก็คือเรื่องหลักที่เราทํามาตลอดนั่นเอง สําหรับขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Google โปรดเขาสู google.com (ซึ่งใชคนหา ขอมูลไดอีกดวย)
  • 2. บล็อก คืออะไร บล็อกเปนไดอารีสวนบุคคล หองฟงเทศน พื้นที่สําหรับความรวมมือ เวทีแสดงออกทาง การเมือง หองกระจายขาว การเก็บรวบรวมลิงก ความคิดสวนตัวของคุณ บันทึกสําหรับ คนทั่วโลก บล็อกของคุณจะเปนอะไรก็ไดตามที่ใจตองการ เรามีบล็อกนับลาน ทุกรูปแบบและทุก ขนาด และไมมีกฎตายตัว กลาวงายๆ บล็อกก็คือเว็บไซต ซึ่งคุณสามารถเขียนเรื่องตางๆ ไดอยางตอเนื่อง เรื่อง ใหมจะปรากฏดานบนสุด เพื่อใหผูเยี่ยมชมสามารถอานสิ่งที่มาใหม จากนั้นจะสามารถ แสดงความคิดเห็นหรือสรางลิงก หรือสงอีเมลถึงคุณ หรือไมทําอะไรเลย นับตั้งแต Blogger เปดตัวในป ค.ศ. 1999 บล็อกก็ไดเปลี่ยนโฉมหนาของเว็บ สราง ผลกระทบตอการเมือง เขยาวงการสื่อสารมวลชน และทําใหคนนับลานไดแสดงออกและ ติดตอกับบุคคลอื่น และเรามั่นใจวาทั้งหมดนี้เปนเพียงจุดเริ่มตนเทานั้น
  • 3. เผยแพร ความคิดของคุณ บล็อกเปนกระบอกเสียงของคุณเองในเว็บ และเปนพื้นที่สําหรับเก็บและแลกเปลี่ยนสิ่งที่ คุณสนใจ — ไมวาจะเปนความเห็นเกี่ยวกับการเมือง ไดอารีสวนบุคคล หรือลิงกไปยัง เว็บไซตที่คุณตองการจดจํา ผูคนจํานวนมากใชบล็อกเพื่อจัดระเบียบความคิดของตัวเอง ในขณะที่บางคนมีผูฟงนับ พันที่มีอิทธิพลจากทั่วโลก นักสือสารมวลชนมืออาชีพและสมัครเลนใชบล็อกเพื่อ ่ เผยแพรขาว สวนนักเขียนบันทึกสวนบุคคลใชบล็อกเพื่อแสดงความคิดของตน ไมวาคุณอยากจะบอกอะไร Blogger ชวยคุณพูดสิ่งนั้นได
  • 4. ชักชวน เพื่อนเขารวม Blogging ไมใชแคการแสดงความคิดของคุณบนเว็บเทานั้น แตเปนเรื่องของการติดตอ และรับฟงบุคคลอื่นที่อานผลงานของคุณและใสใจที่จะตอบสนอง เมื่อใช Blogger คุณ จะสามารถควบคุมวาใครสามารถอานและเขียนในบล็อกของคุณ ไมวาจะเปนกลุมเพื่อน สนิทหรือคนทั้งโลก! ความคิดเห็นของ Blogger ใหทุกคนจากทุกที่แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทความของ คุณ คุณสามารถเลือกวาจะยอมใหมีความคิดเห็นสําหรับแตละบทความหรือไม และคุณ สามารถลบความคิดเห็นใดก็ตามที่คุณไมชอบได การควบคุมการเขาถึง ชวยใหคุณสามารถเลือกวาผูใชคนใดสามารถอานหรือเขียน ขอมูลในบล็อกของคุณ คุณสามารถใชบล็อกของกลุมที่มีผูเขียนหลายคนเปนเครื่องมือ การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพสําหรับทีมขนาดเล็ก ครอบครัว และกลุมอื่นๆ หรือในฐานะ ผูเขียน คุณสามารถสรางพื้นที่ออนไลนสวนบุคคลสําหรับการเก็บรวบรวมขาวและ ความคิดตางๆ เพื่อเก็บไวเอง หรือแลกเปลี่ยนกับผูอานไดมากตามที่คุณตองการ ขอมูลสวนตัวใน Blogger ชวยใหคุณสามารถคนหาบุคคลและบล็อกที่มีความสนใจ รวมกับคุณได ขอมูลสวนตัว Blogger ของคุณ ซึ่งเปนที่ที่คุณแสดงบล็อก ความสนใจ และอื่นๆ จะชวยใหบุคคลอื่นหาคุณพบ (เฉพาะในกรณีที่คุณยินยอมใหคนหาได)
  • 5. ออกแบบ บล็อกของคุณ ไมวาคุณจะเริ่มตนบล็อกของคุณ หรือคิดวาไดเวลาเปลี่ยนโฉมหนาของบล็อกที่มีอยูแลว เครื่องมือแกไขที่ใชงานงายของ Blogger จะชวยใหคุณสามารถออกแบบหนาเว็บที่มี รูปลักษณนาสนใจไดอยางงายดาย แมแบบ — แมแบบที่เรามีจะชวยใหคุณเริ่มตนดวยไซตที่นาสนใจไดทันที โดยไมตอง เรียนรู HTML แมวา Blogger จะยอมใหคุณแกไขรหัส HTML ของบล็อกเมื่อใดก็ไดที่ ตองการ สีและแบบอักษรที่กําหนดเอง — เมื่อคุณพรอมที่จะดําเนินการในขั้นถัดไป คุณสามารถ ตั้งคาแมแบบเพิ่มเติม เพื่อสรางการออกแบบที่สะทอนถึงตัวคุณและบล็อกของคุณได อยางสมบูรณแบบ ลากและวางองคประกอบของหนา — ระบบลากและวางที่แสนสะดวกของ Blogger ชวยใหคุณสามารถตัดสินใจวาจะใหบทความ ขอมูลสวนตัว คลังบทความ และสวนอื่นๆ ของบล็อกอยูที่ใดในหนา
  • 6. สง รูป บางครั้งคุณเพียงอยากแสดงรูปภาพ ในอินเทอรเฟซของ Blogger มีปุมสําหรับการอัพ โหลดรูปภาพ เพียงคุณคลิกปุมรูปภาพเพื่ออัพโหลดภาพถายจากคอมพิวเตอรของคุณ ถาภาพถายที่คุณตองการวางในบล็อกนั้นอยูในเว็บอยูแลวก็สามารถทําไดเชนกัน โดย บอกเราวาภาพนั้นอยูที่ใด คุณสามารถสงภาพถายจากกลองโทรศัพทเคลื่อนที่ไปยังบล็อกของคุณโดยตรง ขณะที่ คุณกําลังเดินทาง ดวย Blogger Mobile
  • 7. ใช ระบบเคลื่อนที่ Blogger Mobile ชวยใหคุณสามารถสงภาพถายและขอความไปยังบล็อกของคุณ โดยตรงในขณะที่เดินทาง คุณแคสงขอความถึง go@blogger.com จากโทรศัพท โดย ไมจําเปนตองมีบัญชีผูใช Blogger เพียงแคขอความนั้น คุณก็สามารถสรางบล็อกใหม และแสดงภาพถายหรือขอความที่คุณสง หลังจากนี้ ถาคุณตองการอางสิทธิ์บล็อกระบบเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนบทความของคุณเปน บล็อกอื่น เพียงเขาสู go.blogger.com และใชรหัสการอางสิทธิ์ของ Blogger ที่สงถึง โทรศัพทของคุณ เราสนับสนุนผูใหบริการระบบโทรศัพทเคลื่อนที่ที่ไดรับความนิยมสวนใหญในประเทศ สหรัฐอเมริกาและทั่วโลก ถาผูใหบริการของคุณไมสามารถใช Blogger Mobile คุณ สามารถสงบล็อกของคุณโดยใช Mail-to-Blogger
  • 8. เริ่มตน วิธีที่ทําใหคุณเขาใจเกี่ยวกับการเขียนบล็อกไดรวดเร็วที่สุดคือ ลองเขียนบล็อก ดวยตัวคุณเอง เราไดพยายามอยางสุดความสามารถที่จะทําใหการเขียนบล็อก เปนเรื่องงายสําหรับคุณ เพียงคลิกลิงกดานลาง คุณก็จะเปนสวนหนึ่งของ ปรากฏการณที่เปลี่ยนเว็บและสื่อเปนกิจกรรมการมีสวนรวม ภายในเวลาไมถึง หานาที เราไมไดลอเลน หลังจากนั้นจะเปนอยางไร ใครจะรู คุณอาจจะสนุกก็ได และอยาลืม: Blogger ใหบริการโดยไมเสียคาใชจายใดๆ และถาคุณประสบ ปญหา เพียงคลิกปุมความชวยเหลือจากหนาจอใดก็ได และคุณจะพบคําตอบที่ คุณตองการหา หรือกระทั่งยังสามารถถามเจาหนาที่ฝายสนับสนุนของเรา
  • 9. วิธีการใช web blogger 1 ขั้นตอนที1 สมัครเปนสมาชิกของ Gmail กอนเปนอันดับแรก ่ 2 ขั้นตอนที่ 2 เมื่อเราเขาไปหนาแรกของ Gmail แลว เราก็เอาเมาสไปคลิกเลือกที่ ‘สมัครใชงาน Gmail’
  • 10. 3 ขั้นตอนที่ 3 กรอกขอมูลสมัครสมาชิก Gmail 4 ขั้นตอนที่ 4 กรอกขอมูลใหครบ แลวคลิ๊กที่ “ฉันยอมรับ โปรดสรางบัญชีของฉัน”
  • 11. หนาเว็บเมลของเรา ขั้นตอนที่ 5 เขาไปที่ www.blogger.com แลวกรอกชื่อผูเขาใช (อีเมล) และ รหัสผานเพื่อลงชื่อเขาใชงาน
  • 12. ขั้นตอนที่ 6 จะปรากฏหนานี้ขึ้นมา ใหกรอกชื่อที่แสดง แลวคลิ๊กที่ “ทําตอ” ขั้นตอนที่ 7 กรอกชื่อเว็บบล็อก และที่อยูบล็อก เพื่อตรวจสอบความพรอมการใชงาน จากนั้นพิมพอักขระที่ ปรากฏเพื่อรับรองความถูกตองของคํา จากนั้นคลิ๊กที่ “ทําตอ”
  • 13. ขั้นตอนที่ 8 เลือกแมแบบสําหรับบล็อกของคุณ ขั้นตอนที่ 9 บล็อกของคุณจะถูกสรางขึ้นแลวคลิ๊กที่ “เริ่มตนการสงบทความ”
  • 17. การแกไขสวนหัว เราก็สามารถแกไข ชื่อ คําอธิบายเกี่ยงกับตัวเรา ภาพ และการจัดวาง โดยคลิกที่ แกไขที่วงกลมสีแดงไวดังรูปดานบน การแกไขบทความ คลิกที่แกไขแลวเราสามารถเลือกรายเพื่อจะเอาไปใสในบทความ และรูปแบบ การจัดเรียงของขอความ
  • 18. การแกไขแบบอักษรและสี คลิกเลือกที่ แบบอักษรและสี หนานี้เราจะสามารถเลือกแบบอักษรตางๆ สีบล็อก สีพื้นหลัง สี ตัวอักษร เสร็จแลวเราก็คลิกที่ บันทึกการเปลี่ยนแปลง การแกไข HTML เปนการแกไขแมแบบเทมเพลตที่คุณสรางขึ้น มีรูปรางหนาตาดังภาพขางลาง
  • 19. การเลือกเทมเพลตใหม เราสามารถเลือกแมแบบหรือเทมเพลตที่เขามีใหไดที่นี่ เลือกเส็รจเราก็กดบันทึกเทมเพลต การตั้งคา การตั้งคาพื้นฐาน เปนการตั้งเครื่องมือที่ใชในบล็อกของเรา เชน อนุญาตใหเครื่องมือคนหาพบบล็อกของคุณ หรือไม แสดงลิงกสงบทความทางอีเมล เนื้อหาสําหรับผูใหญหรือไม
  • 21. การจัดรูปแบบ เปนการตั้งคาเกี่ยวกับรูปแบบของเวลา วันที่ ภาษา ฟลดชื่อเรื่อง ฟลดของลิงค และแมแบบ บทความ
  • 22. การตั้งคาขอคิดเห็น เราสามารถตั้งคาที่เกี่ยวกับขอคิดเห็นตางๆเชน แสดงหรือซอนความคิดเห็น เลือกกลุมคนที่มี สิทธิ์แสดงความคิดเห็น แบบฟอรมขอคิดเห็น แสดงรูปของผูแสดงความคิดเห็น การตรวจสอบ เปน ตน
  • 23. เก็บเขาคลังบทความ เปนการตั้งคาเกี่ยวกับความถี่ของการเก็บขอความเขาคลังบทความ และการเปดใชหนาบทความ กลับที่หนาแผงควบคุม ที่หนานี้เราสามารถแกไขขอมูลสวนตัวของเราได
  • 27. สมาชิกกลุม 1.อริสรา แจงสวาง 50022767 2.ญาฎา ศรีวิฑูรย 50120227 3.รัตติกาล ตวนจะโปะ 50120685 4.สรส สุขเจริญ 50120807 5.สาธินีย วิสุทธาธรรม 50120814 6.สาวิตรี แกวมณี 50120838 7.วรรณา ทองแกมแกว 50120715 8.อรพรรณ สมเกตุ 50120944 9.อังกูร อุนพงศถาวร 50120975 10.อัจฉรา ปราบสูงเนิน 50120982 11.รังสินี วิลังคะ 50120654 12.ชิษณุพงศ เกิดบัณดิษฐ 50120203 13.ปรีชญา ปนแกว 50120449
  • 28. คํานํา รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษา search engine ในหัวขอ www.blogger.com ชึ่ง เปนเว็บไซตที่ใชงานเกี่ยวกับการเผยแพรขอมูล การสงรูปภาพ ซึ่งทําใหเราสามารถเก็บบันทึกขอมูล ตางๆไวได โดยไมสูญหาย และเราสามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกับสมาชิกของเว็บไวตบล็อกเกอรได เชนกัน รายงานฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของรายวิชา 310101 เทคโนโลยีการสนเทศเพื่อการสื่อสาร ซึ่ง คณะผูจัดทําหวังวารายงานฉบับนี้จะมีประโยชนแกผูที่มีความสนใจและตองการศึกษาเกี่ยวกับ เว็บไซตบล็อกเกอรไมมากก็นอย หากมีขอผิดพลาดประการใดคณะผูจักทําตองขออภัยมา ณ ที่นี้ ดวย คณะผูจัดทํา 03/02/2551
  • 29. สารบัญ เรื่อง หนา ประวัติ Blogger 1 ความหมาย Blogger 2 วิธีการสมัครสมาชิก Blogger 9 วิธการใชและการสรางขอความ ี 14 การตกแตงเทมเพลต 16 การตั้งคา 19 การแกไขขอมูลสวนตัว 24
  • 30. รายงาน เรื่อง Blogger เสนอ อาจารยอธิตา โชคอนันตรัตนา จัดทําโดย นายอังกูร อนุพงศถาวร นางสาวสาธินีย วิสุทธาธรรม นางสาวอัจฉรา ปราบสูงเนิน นางสาวญาฎา ศรีวิฑูรย และคณะ รายงานนี้เปนสวนหนึ่งของวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 310101