SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
เซต  (SET) สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) ประวัติย่อของวิชาเซต ในทางคณิตศาสตร์ จะถือว่า “เซต” เป็น “มูลฐาน”  (fundamental)  ทั้งนี้เพราะว่าทฤษฎีบทต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์ ล้วนมีเซตเข้ามาเกี่ยวข้อง เป็นพื้นฐานแทบทั้งสิ้น เซตเริ่มมีที่มามาจากนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์ก คันทอร์  (Georg Cantor)  ค . ศ .  1845 - 1918   เป็นผู้ริเริ่มใช้คำว่าเซต ต่อจากนั้นนัก คณิตศาสตร์จึงใช้คำนี้อย่างแพร่หลาย
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) ความหมายของเซต “ เซต” เป็นคำ “อนิยาม”  (undefined term)   หมายถึง คำที่ต้องยอมรับ กันในเบื้องต้นว่าไม่สามารถให้ความหมายที่รัดกุมได้ Cantor  เคยอธิบายอย่างง่าย ๆ เพื่อความเข้าใจเบื้องต้นว่า “เซต” คือ กลุ่ม ของ สิ่งของ หรือจินตนาการ ซึ่งมีสมบัติบางประการคล้ายกัน และสิ่งของ ดังกล่าวนั้นเรียกว่า  สมาชิก ของเซต
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) ในภาษาไทย มีคำที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ หลายคำ เราเรียกว่า  “ สมุหนาม”  ( คำนามรวมหมู่ )  เช่น กลุ่ม ชุด ฝูง พวก  ดังนั้น คำว่าเซตในทางคณิตศาสตร์ จึงหมายถึง กลุ่มของสิ่งของต่าง ๆ  และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแล้วจะสามารถทราบได้แน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม  และสิ่งใดอยู่นอกกลุ่ม ในทางคณิตศาสตร์ เราจะใช้คำว่า เซต  (SET)   เพียงคำเดียวเท่านั้น เราเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก  (Elements / Members) สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในเซต ต้องเป็นสิ่งที่สามารถระบุได้อย่างแจ่มชัด  (Well-Defined)  เพื่อที่เราสามารถระบุได้ว่า สิ่งนั้นเป็นสมาชิกในเซตหรือไม่
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) ตัวอย่างของเซต ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) ตัวอย่างของเซต ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object], เซตของจำนวนเฉพาะที่น้อยกว่า  100  และลงท้ายด้วย  3 ,[object Object]
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) การเขียนแทนเซต ในการเขียนเซต เราสามารถเขียนเซตได้ถึง  3  รูปแบบ คือ  การเขียนเป็นข้อความ  (Statement Form) ตัวอย่าง เซตของนักเรียนห้อง ม .4/ 2 เซตของจำนวนเฉพาะที่ไม่เกิน  50 เซตของจำนวนเต็มบวกที่คูณกับ  5  แลัวได้ไม่เกิน  8
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics )    การเขียนแจกแจงสมาชิก  (Tabular Form / Roaster Method) เป็นการเขียนแจกแจงสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา ที่มีลักษณะ  { }  และใช้เครื่องหมายจุลภาค  ( , )  คั่นสมาชิกแต่ละตัว ตัวอย่าง    เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า  5  เขียนแทนด้วย  {1, 2, 3, 4}    กำหนดให้  A  แทนเซตของพยัญชนะ  3  ตัวแรกในภาษาอังกฤษ A = {a, b, c}  อ่านว่า  A  เป็นเซตที่มี  a, b  และ  c  เป็นสมาชิก    กำหนดให้  B  แทนเซตของจำนวนเต็มบวกทีเป็นคู่ B = {2, 4, 6, 8, …}
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) “ ...”  บอกว่า  มีจำนวนอื่น ๆ อยู่ในเซตด้วย  เช่น { มกราคม ,  กุมภาพันธ์ , ...,  ธันวาคม } “ ...”  บอกว่า  มีเดือนอื่น ๆ อยู่ในเซตนี้ด้วย ข้อพึงระวัง  :  จะใช้ “  ...”  ในกรณีที่ทราบแน่ชัดว่าสมาชิกที่ตามมานั้น คืออะไรเท่านั้น เช่นไม่เขียน
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) จงเขียนเซตต่อไปนี้ ในรูปของการแจกแจงสมาชิก 1.  เซตของวันใน  1  สัปดาห์ 2.  เซตของเดือนที่ลงท้ายด้วย “ยน” 3.  เซตของสระในภาษาอังกฤษ 4.  เซตของจำนวนเต็มลบที่มากกว่า – 20 5.  เซตของจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า  100 6.  เซตของจำนวนเต็มบวก 7.  เซตของจำนวนเต็มลบ 8.  เซตของจำนวนเต็ม 9.  เซตของจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ  10.  เซตของจำนวนเต็มบวกที่สอดคล้องกับสมการ
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics )    การแจกแจงเงื่อนไข  (Set Builder Form/ Rule Method) เป็นการใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแล้วทำการบรรยายสมบัติ ของสมาชิกที่อยู่ในรูปตัวแปร เช่น  A = { x | x  เป็นพยัญชนะสามตัวแรกในภาษาอังกฤษ } อ่านว่า  A  เป็นเซตซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิก  x  โดยที่  x  เป็นพยัญชนะ สามตัวแรกในภาษาอังกฤษ เครื่องหมาย “ |”  แทนคำว่า โดยที่ เราสามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงเงื่อนไขให้อยู่ในรูปแจกแจงสมาชิกได้ ทุกเซต แต่ในบางเซตเราไม่สามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงสมาชิกให้อยู่ ในรูปเงื่อนไข
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) จงเขียนเซตต่อไปนี้ ในรูปของการแจกแจงสมาชิก 1.  2.  3.  4.  5. 6.
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) จงเขียนเซตในรูปแบบบอกเงื่อนไข 1.  A = {  ดาวอังคาร ,  ดาวพุธ ,  ดาวพฤหัสบดี ,  ดาวศุกร์ ,  ดาวเสาร์ ,  ดาวยูเรนัส ,  ดาวเนปจูน ,  ดาวพลูโต ,} 2.  B = {1, 2, 3, 4, ..., 10} 3.  C = {-10, -9, -8, -7, ..., -1} 4.  D = {b, c, d, f, ..., z} 5.  E = {1, 3, 5, 7, ..., 99} 6.  F = {5, 10, 15} 7.  G = {4, 9, 25, 49, 121, 169} 8.  H = {-2, -5} 9.  I = {...,-2, -1, 0, 1, 2 , ... } 10.  J = {1, 4, 9, 16, ..., 100}
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) เซตต่าง ๆ ที่ควรทราบ
สาขาวิชาคณิตศาสตร์  โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค  40101  คณิตศาสตร์พื้นฐาน  ( Foundation of Mathematics ) การเป็นสมาชิกของเซต กำหนดให้  A = {1, 2, 3} 1  เป็นสมาชิกของ  A  เขียนแทนได้ว่า  1  A ( อ่านว่า  1  เป็นสมาชิกของ  A) 4  ไม่เป็นสมาชิกของ  A  เขียนแทนได้ว่า  4  A ( อ่านว่า  4  ไม่เป็นสมาชิกของ  A)

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามAon Narinchoti
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรมสรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรมPatteera Praew
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สองlekho
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Aon Narinchoti
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตaossy
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมPumPui Oranuch
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตaoynattaya
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซตAon Narinchoti
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์eakbordin
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม Patteera Praew
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 

Tendances (20)

Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรมสรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
สรุปสูตร ลำดับและอนุกรม
 
รากที่สอง
รากที่สองรากที่สอง
รากที่สอง
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
Chapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรมChapter 3 อนุกรม
Chapter 3 อนุกรม
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
อนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิตอนุกรมเรขาคณิต
อนุกรมเรขาคณิต
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
การเขียนเซต
การเขียนเซตการเขียนเซต
การเขียนเซต
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
บทที่ 3 อนุกรมอนันต์
 
ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม ลำดับและอนุกรม
ลำดับและอนุกรม
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 

Similaire à Set

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตDecha Sirigulwiriya
 
สัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซตสัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซตAon Narinchoti
 
เรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfเรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfAjanboyMathtunn
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Focusjung Suchat
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตChokchai Taveecharoenpun
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมsawed kodnara
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46kruben2501
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตPoochai Bumroongta
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนFern Monwalee
 

Similaire à Set (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซตแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่องเซต เล่มที่1 เซตและการเขียนเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
Set2555
Set2555Set2555
Set2555
 
สัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซตสัญลักษณ์ของเซต
สัญลักษณ์ของเซต
 
Set1
Set1Set1
Set1
 
เรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfเรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdf
 
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
Book2015 oct เซเรบอส brands ปีที่ 27 วิชาคณิตศาสตร์ (240 หน้า)
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องเซต
 
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
1ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน461ทดสอบก่อนเรียน46
1ทดสอบก่อนเรียน46
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซตเอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องเซต
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลายสรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
สรุปแก่นคณิตศาสตร์ ม.ปลาย
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Set
SetSet
Set
 
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วนสรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
สรุปพิ้นฐาน ม ปลาย โดยครูอ้วน
 

Set

  • 1.
  • 2. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) ประวัติย่อของวิชาเซต ในทางคณิตศาสตร์ จะถือว่า “เซต” เป็น “มูลฐาน” (fundamental) ทั้งนี้เพราะว่าทฤษฎีบทต่าง ๆ ของคณิตศาสตร์ ล้วนมีเซตเข้ามาเกี่ยวข้อง เป็นพื้นฐานแทบทั้งสิ้น เซตเริ่มมีที่มามาจากนักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ชื่อ เกออร์ก คันทอร์ (Georg Cantor) ค . ศ . 1845 - 1918 เป็นผู้ริเริ่มใช้คำว่าเซต ต่อจากนั้นนัก คณิตศาสตร์จึงใช้คำนี้อย่างแพร่หลาย
  • 3. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) ความหมายของเซต “ เซต” เป็นคำ “อนิยาม” (undefined term) หมายถึง คำที่ต้องยอมรับ กันในเบื้องต้นว่าไม่สามารถให้ความหมายที่รัดกุมได้ Cantor เคยอธิบายอย่างง่าย ๆ เพื่อความเข้าใจเบื้องต้นว่า “เซต” คือ กลุ่ม ของ สิ่งของ หรือจินตนาการ ซึ่งมีสมบัติบางประการคล้ายกัน และสิ่งของ ดังกล่าวนั้นเรียกว่า สมาชิก ของเซต
  • 4. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) ในภาษาไทย มีคำที่ใช้เรียกกลุ่มของสิ่งต่าง ๆ หลายคำ เราเรียกว่า “ สมุหนาม” ( คำนามรวมหมู่ ) เช่น กลุ่ม ชุด ฝูง พวก ดังนั้น คำว่าเซตในทางคณิตศาสตร์ จึงหมายถึง กลุ่มของสิ่งของต่าง ๆ และเมื่อกล่าวถึงกลุ่มใดแล้วจะสามารถทราบได้แน่นอนว่าสิ่งใดอยู่ในกลุ่ม และสิ่งใดอยู่นอกกลุ่ม ในทางคณิตศาสตร์ เราจะใช้คำว่า เซต (SET) เพียงคำเดียวเท่านั้น เราเรียกสิ่งที่อยู่ในเซตว่า สมาชิก (Elements / Members) สิ่งต่าง ๆ ที่อยู่ในเซต ต้องเป็นสิ่งที่สามารถระบุได้อย่างแจ่มชัด (Well-Defined) เพื่อที่เราสามารถระบุได้ว่า สิ่งนั้นเป็นสมาชิกในเซตหรือไม่
  • 5.
  • 6.
  • 7. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) การเขียนแทนเซต ในการเขียนเซต เราสามารถเขียนเซตได้ถึง 3 รูปแบบ คือ  การเขียนเป็นข้อความ (Statement Form) ตัวอย่าง เซตของนักเรียนห้อง ม .4/ 2 เซตของจำนวนเฉพาะที่ไม่เกิน 50 เซตของจำนวนเต็มบวกที่คูณกับ 5 แลัวได้ไม่เกิน 8
  • 8. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics )  การเขียนแจกแจงสมาชิก (Tabular Form / Roaster Method) เป็นการเขียนแจกแจงสมาชิกทุกตัวลงในเครื่องหมายวงเล็บปีกกา ที่มีลักษณะ { } และใช้เครื่องหมายจุลภาค ( , ) คั่นสมาชิกแต่ละตัว ตัวอย่าง  เซตของจำนวนนับที่น้อยกว่า 5 เขียนแทนด้วย {1, 2, 3, 4}  กำหนดให้ A แทนเซตของพยัญชนะ 3 ตัวแรกในภาษาอังกฤษ A = {a, b, c} อ่านว่า A เป็นเซตที่มี a, b และ c เป็นสมาชิก  กำหนดให้ B แทนเซตของจำนวนเต็มบวกทีเป็นคู่ B = {2, 4, 6, 8, …}
  • 9. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) “ ...” บอกว่า มีจำนวนอื่น ๆ อยู่ในเซตด้วย เช่น { มกราคม , กุมภาพันธ์ , ..., ธันวาคม } “ ...” บอกว่า มีเดือนอื่น ๆ อยู่ในเซตนี้ด้วย ข้อพึงระวัง : จะใช้ “ ...” ในกรณีที่ทราบแน่ชัดว่าสมาชิกที่ตามมานั้น คืออะไรเท่านั้น เช่นไม่เขียน
  • 10. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) จงเขียนเซตต่อไปนี้ ในรูปของการแจกแจงสมาชิก 1. เซตของวันใน 1 สัปดาห์ 2. เซตของเดือนที่ลงท้ายด้วย “ยน” 3. เซตของสระในภาษาอังกฤษ 4. เซตของจำนวนเต็มลบที่มากกว่า – 20 5. เซตของจำนวนเต็มบวกที่มีค่ามากกว่า 100 6. เซตของจำนวนเต็มบวก 7. เซตของจำนวนเต็มลบ 8. เซตของจำนวนเต็ม 9. เซตของจำนวนจริงที่สอดคล้องกับสมการ 10. เซตของจำนวนเต็มบวกที่สอดคล้องกับสมการ
  • 11. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics )  การแจกแจงเงื่อนไข (Set Builder Form/ Rule Method) เป็นการใช้ตัวแปรเขียนแทนสมาชิกแล้วทำการบรรยายสมบัติ ของสมาชิกที่อยู่ในรูปตัวแปร เช่น A = { x | x เป็นพยัญชนะสามตัวแรกในภาษาอังกฤษ } อ่านว่า A เป็นเซตซึ่งประกอบไปด้วยสมาชิก x โดยที่ x เป็นพยัญชนะ สามตัวแรกในภาษาอังกฤษ เครื่องหมาย “ |” แทนคำว่า โดยที่ เราสามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงเงื่อนไขให้อยู่ในรูปแจกแจงสมาชิกได้ ทุกเซต แต่ในบางเซตเราไม่สามารถเขียนรูปแบบการแจกแจงสมาชิกให้อยู่ ในรูปเงื่อนไข
  • 12. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) จงเขียนเซตต่อไปนี้ ในรูปของการแจกแจงสมาชิก 1. 2. 3. 4. 5. 6.
  • 13. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) จงเขียนเซตในรูปแบบบอกเงื่อนไข 1. A = { ดาวอังคาร , ดาวพุธ , ดาวพฤหัสบดี , ดาวศุกร์ , ดาวเสาร์ , ดาวยูเรนัส , ดาวเนปจูน , ดาวพลูโต ,} 2. B = {1, 2, 3, 4, ..., 10} 3. C = {-10, -9, -8, -7, ..., -1} 4. D = {b, c, d, f, ..., z} 5. E = {1, 3, 5, 7, ..., 99} 6. F = {5, 10, 15} 7. G = {4, 9, 25, 49, 121, 169} 8. H = {-2, -5} 9. I = {...,-2, -1, 0, 1, 2 , ... } 10. J = {1, 4, 9, 16, ..., 100}
  • 14. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) เซตต่าง ๆ ที่ควรทราบ
  • 15. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ รายวิชา ค 40101 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ( Foundation of Mathematics ) การเป็นสมาชิกของเซต กำหนดให้ A = {1, 2, 3} 1 เป็นสมาชิกของ A เขียนแทนได้ว่า 1 A ( อ่านว่า 1 เป็นสมาชิกของ A) 4 ไม่เป็นสมาชิกของ A เขียนแทนได้ว่า 4 A ( อ่านว่า 4 ไม่เป็นสมาชิกของ A)