SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ 2.2 เครือข่ ายคอมพิวเตอร์
          เครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คื อ กลุ่มของคอมพิวเตอร์ และอุ ปกรณ์
คอมพิวเตอร์ ทีถู กนํ า มาเชื อมต่ อกันผ่านอุ ปกรณ์ ด้า นการสื อสารหรื อสื ออื นใด ทําให้ผูใ ช้ในระบบ
                                                                                          ้
เครื อข่ายสามารถติดต่อสื อสารแลกเปลียนและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครื อข่ายร่ วมกันได้




        การทีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาท และความสําคัญเพิมขึนเพราะไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับ
การใช้งานอย่างแพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เหล่านันเข้าด้วยกัน เพือเพิมขีด
ความสามารถของระบบให้สูงขึนเพิมการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง เครื อข่ายมี
ตังแต่ขนาดเล็กทีเชือมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์ เพียงสองสามเครื องเพือใช้งานในบ้าน หรื อในบริ ษทเล็กๆ
                                                                                          ั
ไปจนถึงเครื อข่ายระดับโลกทีครอบคลุมไปเกือบทุกประเทศเครื อข่ายสามารถเชื อมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ น
จํานวนมากทัวโลกเข้าด้วยกัน เราเรี ยกว่า เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต

องค์ ประกอบระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
         ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จึงประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ ตงแต่ 2 เครื องขึนไป โดยแบ่งเป็ น
                                                                     ั
องค์ประกอบสําคัญ คือ
          - คอมพิวเตอร์ อย่ างน้ อย 2 เครือง
          - เน็ตเวิร์คการ์ ด หรื อ NIC (Network Interface Card) เป็ นการ์ ดเสี ยบเข้ากับช่องสล๊อตบน
เมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ ซึ งเป็ นจุดเชือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย
          - สื อกลางและอุปกรณ์ สําหรั บการรั บส่ งข้ อมูล เช่ น สายสัญญาณ ปั จจุบนทีนิ ยมใช้ได้แก่ สาย
                                                                                 ั
โคแอ๊กเชี ยล สายคู่เกลี ยวบิด และสายใยแก้วนําแสง ส่ วนอุปกรณ์ เครื อข่ายได้แก่ สวิตช์ เกตเวย์ ฮับ
เราท์เตอร์
          - โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาที คอมพิ วเตอร์ ใช้สือสารกันผ่านเครื อข่ า ย
คอมพิ วเตอร์ ที สามารถสื อสารกันได้จา เป็ นต้องมี ภาษาสื อกลางที ทํา ให้เ ข้า ใจกัน คื อ โปรโตคอล
                                           ํ
เดียวกัน เช่น TCP/IP, IPX/SPX



วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2                                                                 พีรญา ดุนขุนทด
- ระบบปฏิบัติการเครื อข่ าย หรื อ NOS (Network Operating System) ระบบปฏิ บติการ        ั
เครื อข่ า ยที คอยจัดการเกี ยวกับ การใช้ง านเครื อข่ า ยของผูใ ช้แต่ล ะคน ควบคุ ม ทรั พ ยากรต่า ง ๆ ของ
                                                             ้
เครื อข่าย ระบบปฏิบติการทีนิยม ได้แก่ Windows Server 2003, Novell NetWare, Sun Solaris, Linux
                      ั

ชนิดของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์
         เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถจําแนกตามระยะทางทีเชื อมต่อระหว่างอุปกรณ์การสื อสาร
เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งแยกออกตามสภาพการเชื อมโยงได้เป็ น 4 ชนิดคือ
       1. เครื อข่ายส่ วนบุคคล(Personal area network : PAN
       2. เครื อข่ายท้องถิน หรื อเครื อข่ายแลน (Local Area Network : LAN)
       3. เครื อข่ายระดับเมือง หรื อเครื อข่ายแมน (Metropolitan Area Network : MAN)
       4. เครื อข่ายระดับประเทศ หรื อเครื อข่ายแวน (Wide Area Network : WAN)

      1. เครือข่ ายแบบบุคคล (PAN)
      เป็ นเครื อ ข่ า ยไร้ ส าย เชื อมโยง อุ ป กรณ์ ก ารสื อสารหลายๆ เครื องเข้า ด้ว ยกัน ระยะทางการ
เชือมต่อ ไม่เกิน 1 เมตร ความเร็ ว ประมาณ 10 Mbp ใช้สือ IrDA Port, Bluetooth, Wireless




        2. เครือข่ ายท้ องถิน (LAN)
                                                                         ั ่
        เครือข่ ายแลน หรือเครือข่ ายท้ องถิน เป็ นเครื อข่ายขนาดเล็ก ใช้กนอยูในบริ เวณไม่กว้าง ซึ ง
                                              ่
เชือมโยงคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สือสารทีอยูในท้องทีบริ เวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร
หรื อภายในองค์การทีมีระยะทางไม่ไกลมากนัก



วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2                                                                  พีรญา ดุนขุนทด
3. เครือข่ ายระดับเมือง (MAN)
                                                                                ่
       เป็ นเครือข่ ายทีใช้ ภายในเมือง หรือภายในจังหวัด เป็ นระบบทีมีขนาดกลางอยูระหว่าง เครื อข่าย
แลน กับ เครื อข่าย แวน




        4. เครือข่ ายระดับประเทศ (WAN)
        เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีเชือมโยงระบบคอมพิวเตอร์ ในระยะห่างไกล เป็ นเครื อข่ายขนาด
ใหญ่ มีการติดต่อต่อสื อสารกันในบริ เวณกว้าง เช่น เชื อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ




วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2                                                              พีรญา ดุนขุนทด
รู ปแบบการเชื อมต่ อเครือข่ าย
         1. เครื อข่ ายแบบบัส (Bus Network) เป็ นเครื อข่ายทีเชื อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนืองไปเรื อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์ เป็ นตัวเชือมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้า
กับสายเคเบิล ในการส่ งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอร์ เพียงตัวเดียวเท่านันทีสามารถส่ งข้อมูลได้ในช่วง เวลา
หนึงๆ การจัดส่ งข้อมูลวิธีนี จะต้องกําหนดวิธีการทีจะไม่ให้ทุกสถานี ส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทําให้
ข้อมูลชนกัน วิธีการทีใช้อาจแบ่งเวลาหรื อให้แต่ละสถานี ใช้ความถีสัญญาณทีแตกต่างกัน การเซตอัป
เครื องเครื อข่ายแบบบัสนี ทําได้ไม่ยาก เพราะว่าเครื องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์แต่ละชนิ ด ถูกเชื อมต่อ
ด้วยสาย เคเบิลเพียงเส้นเดียวโดยส่ วนใหญ่แล้วเครื อข่ายแบบบัส มักจะใช้ในเครื อข่ายขนาดเล็ก ซึ งอยู่
ในองค์กรทีมีคอมพิวเตอร์ ใช้ไม่มากนัก




            2. เครือข่ ายแบบดาว (Star Network) เป็ นเครื อข่ายทีเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ทีเป็ น
จุ ด ศู น ย์ก ลางของเครื อ ข่ า ย โดยการนํา สถานี ต่ า ง ๆ มาต่ อ ร่ วมกัน กับ หน่ ว ย สลับ สายกลางการ
ติดต่อสื อสารระหว่างสถานี จะกระทําได้ดวยการติ ดต่อผ่านทางวงจรของหน่ วยสลับสายกลาง การ
                                            ้


วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2                                                                    พีรญา ดุนขุนทด
ทํางานของหน่วยสลับสายกลาง จึงเป็ นศูนย์กลางของการติดต่อ วงจรเชื อมโยงระหว่างสถานี ต่าง ๆ ที
ต้องการติดต่อกัน




         3. เครื อข่ ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็ นเครื อข่ายทีเชื อมต่อ คอมพิวเตอร์ ดวยสายคเบิล
                                                                                         ้
ยาวเส้นเดี ยวในลักษณะวงแหวน การรับส่ งข้อมูลในเครื อข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านัน เมือ
คอมพิวเตอร์ เครื องหนึ งส่ งข้อมูลมันก็จะส่ งไปยังคอมพิวเตอร์ เครื องถัดไป ถ้าข้อมูลที รับมาไม่ตรง
ตามทีคอมพิวเตอร์ เครื องต้นทางระบุ ก็จะส่ งผ่านไปยังคอมพิวเตอร์ เครื องถัดไปซึ งจะเป็ นขันตอน อย่าง
                                                               ่
นีไปเรื อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ ปลายทางทีถูกระบุตามทีอยูจากเครื องต้นทาง




วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2                                                              พีรญา ดุนขุนทด
4. เครือข่ ายแบบต้ นไม้ (Tree Network) เป็ นเครื อข่ายทีมีผสมผสานโครงสร้างเครื อข่ายแบบ
ต่างๆเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่ งข้อมูลสามารถส่ งไปถึงได้ทุกสถานี การสื อสาร
                                                                      ่
ข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอืน ๆ ได้ทงหมด เพราะทุกสถานีจะอยูบนทางเชือม รับส่ งข้อมูล
                                           ั
เดียวกัน




ข้อมูลอ้างอิง: http://www.skn.ac.th/a_cd/content




วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2                                                             พีรญา ดุนขุนทด

Contenu connexe

Tendances

ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
Anisra Roya
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
Nattha Nganpakamongkhol
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
Nattapon
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Krusine soyo
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
Tharathep Chumchuen
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
Nattapon
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Onanong Phetsawat
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
Nattapon
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
manit2617
 

Tendances (20)

ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4ระบบสารสนเทศ ม.4
ระบบสารสนเทศ ม.4
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1การสื่อสารข้อมูล1
การสื่อสารข้อมูล1
 
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้น ม.6
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งานหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copyบทที่ 4 เทคโน ม.6   copy - copy
บทที่ 4 เทคโน ม.6 copy - copy
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 

Similaire à 2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์

ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
jansaowapa
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
nuchanad
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
Pitchayut Wongsriphuak
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
PTtp WgWt
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
kru P
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Obigo Cast Gaming
 

Similaire à 2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ (20)

Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรุ้ 2 เรื่อง เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
%B7อข่ายคอมพิวเตอร์77
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
งานกลุ่ม
งานกลุ่มงานกลุ่ม
งานกลุ่ม
 
Learning network
Learning networkLearning network
Learning network
 
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมผิวเตอร์
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
ระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่ายระบบเครือข่าย
ระบบเครือข่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คอม 2-2558
คอม 2-2558คอม 2-2558
คอม 2-2558
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
รายงาน1233
รายงาน1233รายงาน1233
รายงาน1233
 
Computer network
Computer networkComputer network
Computer network
 
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
Network System
Network SystemNetwork System
Network System
 

Plus de Meaw Sukee

Training_edmodo
Training_edmodoTraining_edmodo
Training_edmodo
Meaw Sukee
 

Plus de Meaw Sukee (20)

Pix2
Pix2Pix2
Pix2
 
Pix
PixPix
Pix
 
Report
ReportReport
Report
 
Google classroom
Google classroomGoogle classroom
Google classroom
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
Plan9
Plan9Plan9
Plan9
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
Edit
EditEdit
Edit
 
Problem
ProblemProblem
Problem
 
Peeraya
PeerayaPeeraya
Peeraya
 
ตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่มตัวอย่างเล่ม
ตัวอย่างเล่ม
 
Cal 190856
Cal 190856Cal 190856
Cal 190856
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Public
PublicPublic
Public
 
Total pub
Total pubTotal pub
Total pub
 
Bro
BroBro
Bro
 
Training_edmodo
Training_edmodoTraining_edmodo
Training_edmodo
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Frame
FrameFrame
Frame
 
Table
TableTable
Table
 

2.2 เครือข่ายคอมพิวเตอร์

  • 1. ใบความรู้ 2.2 เครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network) คื อ กลุ่มของคอมพิวเตอร์ และอุ ปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ทีถู กนํ า มาเชื อมต่ อกันผ่านอุ ปกรณ์ ด้า นการสื อสารหรื อสื ออื นใด ทําให้ผูใ ช้ในระบบ ้ เครื อข่ายสามารถติดต่อสื อสารแลกเปลียนและใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ ของเครื อข่ายร่ วมกันได้ การทีเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ มีบทบาท และความสําคัญเพิมขึนเพราะไมโครคอมพิวเตอร์ ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่ หลาย จึงเกิดความต้องการทีจะเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เหล่านันเข้าด้วยกัน เพือเพิมขีด ความสามารถของระบบให้สูงขึนเพิมการใช้งานด้านต่าง ๆ และลดต้นทุนระบบโดยรวมลง เครื อข่ายมี ตังแต่ขนาดเล็กทีเชือมต่อกันด้วยคอมพิวเตอร์ เพียงสองสามเครื องเพือใช้งานในบ้าน หรื อในบริ ษทเล็กๆ ั ไปจนถึงเครื อข่ายระดับโลกทีครอบคลุมไปเกือบทุกประเทศเครื อข่ายสามารถเชื อมต่อคอมพิวเตอร์ เป็ น จํานวนมากทัวโลกเข้าด้วยกัน เราเรี ยกว่า เครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต องค์ ประกอบระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ จึงประกอบด้วย คอมพิวเตอร์ ตงแต่ 2 เครื องขึนไป โดยแบ่งเป็ น ั องค์ประกอบสําคัญ คือ - คอมพิวเตอร์ อย่ างน้ อย 2 เครือง - เน็ตเวิร์คการ์ ด หรื อ NIC (Network Interface Card) เป็ นการ์ ดเสี ยบเข้ากับช่องสล๊อตบน เมนบอร์ ดของคอมพิวเตอร์ ซึ งเป็ นจุดเชือมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และเครื อข่าย - สื อกลางและอุปกรณ์ สําหรั บการรั บส่ งข้ อมูล เช่ น สายสัญญาณ ปั จจุบนทีนิ ยมใช้ได้แก่ สาย ั โคแอ๊กเชี ยล สายคู่เกลี ยวบิด และสายใยแก้วนําแสง ส่ วนอุปกรณ์ เครื อข่ายได้แก่ สวิตช์ เกตเวย์ ฮับ เราท์เตอร์ - โปรโตคอล (Protocol) โปรโตคอลเป็ นภาษาที คอมพิ วเตอร์ ใช้สือสารกันผ่านเครื อข่ า ย คอมพิ วเตอร์ ที สามารถสื อสารกันได้จา เป็ นต้องมี ภาษาสื อกลางที ทํา ให้เ ข้า ใจกัน คื อ โปรโตคอล ํ เดียวกัน เช่น TCP/IP, IPX/SPX วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 2. - ระบบปฏิบัติการเครื อข่ าย หรื อ NOS (Network Operating System) ระบบปฏิ บติการ ั เครื อข่ า ยที คอยจัดการเกี ยวกับ การใช้ง านเครื อข่ า ยของผูใ ช้แต่ล ะคน ควบคุ ม ทรั พ ยากรต่า ง ๆ ของ ้ เครื อข่าย ระบบปฏิบติการทีนิยม ได้แก่ Windows Server 2003, Novell NetWare, Sun Solaris, Linux ั ชนิดของเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถจําแนกตามระยะทางทีเชื อมต่อระหว่างอุปกรณ์การสื อสาร เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ แบ่งแยกออกตามสภาพการเชื อมโยงได้เป็ น 4 ชนิดคือ 1. เครื อข่ายส่ วนบุคคล(Personal area network : PAN 2. เครื อข่ายท้องถิน หรื อเครื อข่ายแลน (Local Area Network : LAN) 3. เครื อข่ายระดับเมือง หรื อเครื อข่ายแมน (Metropolitan Area Network : MAN) 4. เครื อข่ายระดับประเทศ หรื อเครื อข่ายแวน (Wide Area Network : WAN) 1. เครือข่ ายแบบบุคคล (PAN) เป็ นเครื อ ข่ า ยไร้ ส าย เชื อมโยง อุ ป กรณ์ ก ารสื อสารหลายๆ เครื องเข้า ด้ว ยกัน ระยะทางการ เชือมต่อ ไม่เกิน 1 เมตร ความเร็ ว ประมาณ 10 Mbp ใช้สือ IrDA Port, Bluetooth, Wireless 2. เครือข่ ายท้ องถิน (LAN) ั ่ เครือข่ ายแลน หรือเครือข่ ายท้ องถิน เป็ นเครื อข่ายขนาดเล็ก ใช้กนอยูในบริ เวณไม่กว้าง ซึ ง ่ เชือมโยงคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์สือสารทีอยูในท้องทีบริ เวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรื อภายในองค์การทีมีระยะทางไม่ไกลมากนัก วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 3. 3. เครือข่ ายระดับเมือง (MAN) ่ เป็ นเครือข่ ายทีใช้ ภายในเมือง หรือภายในจังหวัด เป็ นระบบทีมีขนาดกลางอยูระหว่าง เครื อข่าย แลน กับ เครื อข่าย แวน 4. เครือข่ ายระดับประเทศ (WAN) เป็ นเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ ทีเชือมโยงระบบคอมพิวเตอร์ ในระยะห่างไกล เป็ นเครื อข่ายขนาด ใหญ่ มีการติดต่อต่อสื อสารกันในบริ เวณกว้าง เช่น เชื อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 4. รู ปแบบการเชื อมต่ อเครือข่ าย 1. เครื อข่ ายแบบบัส (Bus Network) เป็ นเครื อข่ายทีเชื อมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วยสายเคเบิลยาวต่อเนืองไปเรื อย ๆ โดยจะมีคอนเน็กเตอร์ เป็ นตัวเชือมต่อคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เข้า กับสายเคเบิล ในการส่ งข้อมูลจะมีคอมพิวเตอร์ เพียงตัวเดียวเท่านันทีสามารถส่ งข้อมูลได้ในช่วง เวลา หนึงๆ การจัดส่ งข้อมูลวิธีนี จะต้องกําหนดวิธีการทีจะไม่ให้ทุกสถานี ส่งข้อมูลพร้อมกัน เพราะจะทําให้ ข้อมูลชนกัน วิธีการทีใช้อาจแบ่งเวลาหรื อให้แต่ละสถานี ใช้ความถีสัญญาณทีแตกต่างกัน การเซตอัป เครื องเครื อข่ายแบบบัสนี ทําได้ไม่ยาก เพราะว่าเครื องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์แต่ละชนิ ด ถูกเชื อมต่อ ด้วยสาย เคเบิลเพียงเส้นเดียวโดยส่ วนใหญ่แล้วเครื อข่ายแบบบัส มักจะใช้ในเครื อข่ายขนาดเล็ก ซึ งอยู่ ในองค์กรทีมีคอมพิวเตอร์ ใช้ไม่มากนัก 2. เครือข่ ายแบบดาว (Star Network) เป็ นเครื อข่ายทีเชือมต่อคอมพิวเตอร์ เข้ากับอุปกรณ์ทีเป็ น จุ ด ศู น ย์ก ลางของเครื อ ข่ า ย โดยการนํา สถานี ต่ า ง ๆ มาต่ อ ร่ วมกัน กับ หน่ ว ย สลับ สายกลางการ ติดต่อสื อสารระหว่างสถานี จะกระทําได้ดวยการติ ดต่อผ่านทางวงจรของหน่ วยสลับสายกลาง การ ้ วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 5. ทํางานของหน่วยสลับสายกลาง จึงเป็ นศูนย์กลางของการติดต่อ วงจรเชื อมโยงระหว่างสถานี ต่าง ๆ ที ต้องการติดต่อกัน 3. เครื อข่ ายแบบวงแหวน (Ring Network) เป็ นเครื อข่ายทีเชื อมต่อ คอมพิวเตอร์ ดวยสายคเบิล ้ ยาวเส้นเดี ยวในลักษณะวงแหวน การรับส่ งข้อมูลในเครื อข่ายวงแหวน จะใช้ทิศทางเดียวเท่านัน เมือ คอมพิวเตอร์ เครื องหนึ งส่ งข้อมูลมันก็จะส่ งไปยังคอมพิวเตอร์ เครื องถัดไป ถ้าข้อมูลที รับมาไม่ตรง ตามทีคอมพิวเตอร์ เครื องต้นทางระบุ ก็จะส่ งผ่านไปยังคอมพิวเตอร์ เครื องถัดไปซึ งจะเป็ นขันตอน อย่าง ่ นีไปเรื อย ๆ จนกว่าจะถึงคอมพิวเตอร์ ปลายทางทีถูกระบุตามทีอยูจากเครื องต้นทาง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด
  • 6. 4. เครือข่ ายแบบต้ นไม้ (Tree Network) เป็ นเครื อข่ายทีมีผสมผสานโครงสร้างเครื อข่ายแบบ ต่างๆเข้าด้วยกันเป็ นเครื อข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่ งข้อมูลสามารถส่ งไปถึงได้ทุกสถานี การสื อสาร ่ ข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอืน ๆ ได้ทงหมด เพราะทุกสถานีจะอยูบนทางเชือม รับส่ งข้อมูล ั เดียวกัน ข้อมูลอ้างอิง: http://www.skn.ac.th/a_cd/content วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2 พีรญา ดุนขุนทด