SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
แผนการจัดการเรียนรู้
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน                         ชั้น ม.4               ภาคเรียนที่ 1                ปีการศึกษา 2555
แผนการเรียนรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก เวลา 3 คาบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551)
          มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
          ตัวชี้วัด
          1.4 วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร
          1.5 สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึด
เหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร
          มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
          ตัวชี้วัด
          ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ
จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
          ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง
รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ
          ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น
ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ
          ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง
ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ
          ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล
          ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอ
ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม
          ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ
สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
          ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ
คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ
          ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่
นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง
          ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น
และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง
          ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ
ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ
ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ
ยอมรับเป็นความรู้ใหม่
       ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ
โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ

2. สาระสาคัญ
          สารประกอบไอออนิกที่ละลายในตัวทาละลายที่เป็นน้าแล้ว จะแตกตัวเป็นไอออน สามารถนาไฟฟ้าได้พร้อม
กันนั้นก็จะมีพลังงานเปลี่ยนแปลงคู่กันไปด้วยเสมอ และเมื่อนาผลึกสารประกอบไอออนิกละลายน้า จะมีพลังงาน
ความร้อนเปลี่ยนแปลงควบคู่กันไปเสมอ และการละลายของผลึกสารประกอบไอออนิกนี้มีกระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้น
เป็นขั้นย่อย ๆ และแต่ละขั้นตอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานด้วย
          สมการไอออนิก (Ionic equation ) คือ สมการเคมีที่เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกุลของสารที่มีส่วนในการ
เกิดปฏิกิริยา ส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารใดไม่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยาไม่ต้องเขียน สมการไอออนิก จะต้อง
เป็นสมการที่มีสารใดสารหนึ่งเป็นไอออนร่วมอยู่ด้วยในปฏิกิริยานั้น

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
   3.1 ความรู้
        1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิกได้
        2. ทาการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสารประกอบไอออนิกเมื่อละลายในน้าได้
        3. ทาการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก พร้อมทั้งเขียนสมการไอออนิกและ
     สมการไอออนิกสุทธิแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้
   3.2 ทักษะกระบวนการ
        ทาการทดลอง รวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และสรุปผลการทดลองเพื่อศึกษา การเปลี่ยนแปลง
     พลังงานของสารไอออนิกเมื่อละลายน้าและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารไอออนิก
   3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
        1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา
        2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น
    อย่างมีเหตุผล
        3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม
        4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม

4. สาระการเรียนรู้
การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก
       1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดที่ละลายน้าได้ จะต้องมีพลังงานเปลี่ยนแปลงควบคู่กันไปเสมอ อาจเป็น
    แบบคายพลังงานหรือดูดพลังงาน
       2. สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้ เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ากับไอออนของผลึก
    ไอออนิกมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบของผลึกไอออนิกนั้น
       3. สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายน้าหรือละลายน้าได้น้อยมาก เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล
    ของน้าไม่สามารถแยกไอออนจากผลึกได้โดยไอออนบวก และไอออนลบของผลึกไอออนิกดึงดูดแรงมาก
4. สารประกอบไอออนิกใดละลายน้าได้มาก จะอิ่มตัวช้า และถ้าสารประกอบไอออนิกใดที่ละลายน้าได้
    น้อยจะอิ่มตัวเร็ว
       5. ความสามารถในการละลายของสาร คือ ความสามารถของสารที่ละลายในตัวทาละลายจนอิ่มตัวแต่
    ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกจะมากแค่ไหนขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและชนิดของ
พลังงานกับการละลายสารประกอบไอออนิก
       เมื่อนาผลึกสารประกอบไอออนิกละลายน้า จะมีพลังงานความร้อนเปลี่ยนแปลงควบคู่กันไปเสมอ และการ
    ละลายของผลึกสารประกอบไอออนิกนี้ มีกระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นขั้นย่อย ๆ และแต่ละขั้นตอนมีการ
    เปลี่ยนแปลงพลังงานด้วย เช่น
       การละลายโซเดียมคลอไร์ (NaCl) ในน้า มีขั้นตอนย่อย ๆ เปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้
       ขั้นที่ 1 ผลึกสารประกอบไอออนิกแตกตัวเป็นไอออนในสภาวะก๊าซ ซึ่งมีการดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะ
    ไอออนิกระหว่าง Na+ กับ Cl- ออกจากกันเป็นไอออนในสภาวะก๊าซ พลังงานนี้มีค่าเท่ากับ พลังงานแลตทิซ
    (Lattice energy) ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า  latt
                NaCl (s)  Na+ (g) + Cl- (g) ;  latt = +776 kJ
       ขั้นที่ 2 ไอออนที่เป็นก๊าซจะถูกน้าล้อมรอบเกิดไฮเดรตมีการคายพลังงานออกมา เรียกพลังงานนี้ว่า
    พลังงานไฮเดรชัน ( Hydration energy) ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า  hyd
              Na+ (g) + Cl- (g) H2O  Na+ (aq) + Cl- (aq) ;
                                                                       hyd   = -771 kJ
       รวมขั้นที่ 1 และ 2 ข้าด้วยกันจะได้
              NaCl (s) H2O  Na+ (aq) + Cl- (aq ;
                                                          so ln   = +5 kJ
              ถ้า  so ln = พลังงานของการละลาย




         รูปแสดงความสัมพันธะระหว่างพลังงานแลตทิซ , พลังงานไฮเดรชัน และพลังงานการละลาย
      พลังงานแลตทิซ (Lattice energy) คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนในสภาวะก๊าซที่มีประจุตรงข้าม
  มารวมกันเป็นของแข็งไอออนิก 1 โมล
      พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนของก๊าซรวมกับน้า
      พลังงานการละลาย (Heat of Solution) คือ พลังงานที่คายออกหรือดูดเข้าไป จากการละลายสาร
  1 โมล ในตัวทาละลายตามจานวนที่กาหนดให้
สมการไอออนิก
        สมการไอออนิก (Ionic equation ) คือ สมการเคมีที่เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกุลของสารที่มีส่วนใน
   การเกิดปฏิกิริยา ส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารใดไม่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยาไม่ต้องเขียน สมการไอออนิก
   จะต้องเป็นสมการที่มีสารใดสารหนึ่งเป็นไอออนร่วมอยู่ด้วยในปฏิกิริยานั้น
หลักการเขียนสมการไอออนิก
        1. ให้เขียนเฉพาะส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารทาปฏิกิริยากันเท่านั้น
        2. ถ้าสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเป็นสารที่ไม่ละลายน้าหรือไม่แตกตัวเป็นไอออนหรื อเป็นออกไซด์หรือเป็น
   ก๊าซให้เขียนสูตรโมเลกุลของสารนั้นในสมการได้ ตัวอย่าง ออกไซด์ เช่น CO2 , H2O ก๊าซ เช่น H2 ,
   NH3 สารที่ไม่ละลายน้า เช่น CaCO3 , AgCl
        3. ดุลสมการไอออนิกโดยทาจานวนอะตอมและจานวนไอออนของธาตุทุกธาตุ ทั้งทางซ้ายและทางขวาของ
   สมการให้เท่ากัน พร้อมทั้งดุลประจุรวมทั้งทางซ้ายและขวาของสมการให้เท่ากัน

   ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนสมการไอออนิก เมื่อนาสารเหล่านี้ละลายน้า KOH , BaCl2 , H2SO4
   วิธีทา
         KOH ละลายน้าเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้
                KOH (s) H2O  K+ (aq) + OH- (aq)
                            
        ฺBaCl2 ละลายน้าเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้
             BaCl2 H2O  Ba2+ (aq) + 2Cl- (aq)
                       
        H2SO4 ละลายน้าเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้
                H2SO4(aq) H2O  2H+ (aq) + SO42- (aq)
                           

   ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนสมการไอออนิกที่เกิดจากการผสมสารละลายแต่ละคู่ต่อไปนี้
        ก. AgNO3 (aq) กับ CaBr2 (aq)
        ข. CuSO4 (aq) กับ K2S (aq)
        วิธีทา
        ก. ขั้นที่ 1
        AgNO3 (aq) + CaBr2 (aq)  2AgBr (s) + Ca(NO3)2 (aq)
           ขั้นที่ 2
        2Ag+ (aq) + NO3- (aq) + Ca2+(aq) + 2Br- (aq)  2AgBr (s) + Ca2+(aq) + 2NO3- (aq)
           ขั้นที่ 3
        2Ag+ (aq) + 2Br- (aq)  2AgBr (s) สมการไอออนิก

        ข. ขั้นที่ 1
        CuSO4 (aq) + K2S (aq)  CuS (s) + K2SO4 (aq)
ขั้นที่ 2
Cu2+(aq) + SO42- (aq) + 2K+(aq) + S2- (aq)  CuS (s) + K+(aq) + SO42- (aq)
 ขั้นที่ 3
Cu2+(aq) + S2- (aq)  CuS (s) สมการไอออนิก
5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
   5.1 ความรู้
      ภาระงาน/
                           วิธีการวัด          เครื่องมือ     เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน       ผู้ประเมิน
       ชิ้นงาน
   แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน         - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน          ครู
   (Graphic         ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้   - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด
   Organize)        1. การกาหนดและ         แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                    เชื่อมโยงแนวความคิด                   = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
                    หลัก แนวความคิดรอง                    ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                    แนวความคิดย่อย                         = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                    2. การเชื่อมโยงความรู้                ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                    3. การเชื่อมโยง                       1 คะแนน
                    ประเด็นต่างๆอย่าง                     = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                    สมเหตุสมผล มี                         หรือไม่ถูกต้องเลย
                    คาเชื่อมถูกต้อง
                    ชัดเจน



   ตอบคาถาม      ตรวจคาตอบของ            - Exit ticket    ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน         ครู
   สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน             - แบบประเมิน     = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด เพื่อนนักเรียน
   (Exit ticket) ความคิด ตามตัวชี้วัด    การตอบคาถาม      ระดับ 3 ดี 3 คะแนน
                 ต่อไปนี้                สะท้อนความคิด    = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก
                 1. ความถูกต้อง                           ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน
                 ครอบคลุมสิ่งที่ได้                        = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย
                 เรียนรู้                                 ระดับ 1 ต้องปรับปรุง
                 2. ความสมเหตุสมผล                        1 คะแนน
                 ชัดเจน ของคาตอบ                          = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก
                 3. การตั้งคาถามที่                       หรือไม่ถูกต้องเลย
                 อยากรู้




    5.2 ทักษะกระบวนการ
     ภาระงาน/
                        วิธีการวัด           เครื่องมือ       เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน        ผู้ประเมิน
       ชิ้นงาน
  ใบกิจกรรมการ สังเกตพฤติกรรมการ         - แบบประเมิน      - ต้องได้ไม่ต่ากว่าระดับ        ครู
  ทดลอง           - การวางแผนการ         ทักษะในการ        คุณภาพ 3 คือ ดี จากระดับ
                  ทดลอง                  ปฏิบัติการ        คุณภาพ 4 คือ ดีมาก
-การออกแบบตาราง ทดลอง
                 บันทึกผลการทดลอง
                 -การปฏิบัติการทดลอง
                 -การสังเกตและบันทึก
                 ผลการทดลอง
                 -การจัดกระทากับ
                 ข้อมูล การวิเคราะห์
                 อภิปรายและสรุปผล
                 การทดลอง
                 -การนาเสนอข้อสรุป

5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะ      ภาระงาน/
   อันพึง       ชิ้นงาน/        วิธีการวัด            เครื่องมือ   เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน   ผู้ประเมิน
  ประสงค์      พฤติกรรม
ตรงต่อเวลา เข้าเรียน       - สังเกต                  แบบประเมิน    ต้องได้ไม่ต่ากว่า       ครู
                           พฤติกรรมการ               คุณลักษณะ     ระดับคุณภาพ 3 คือ
            ปฏิบัติกิจกรรม เข้าเรียน การ             อันพึง        ดี
                           ปฏิบัติกิจกรรม            ประสงค์       จากระดับคุณภาพ 4
            ส่งงานตรงเวลา และการส่งงาน                             คือ ดีมาก
                           ของนักเรียน




คุณลักษณะ         ภาระงาน/
   อันพึง            ชิ้นงาน/       วิธีการวัด        เครื่องมือ   เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน   ผู้ประเมิน
  ประสงค์         พฤติกรรม
  ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการ      - สังเกต             แบบประเมิน    ต้องได้ไม่ต่ากว่า       ครู
              เรียน แสวงหา      พฤติกรรมความ         คุณลักษณะ     ระดับคุณภาพ 3 คือ
              ความรู้ ตอบ       ร่วมมือในการ         อันพึง        ดี
              คาถาม ยอมรับ      เรียน การ            ประสงค์       จากระดับคุณภาพ 4
              ความคิดเห็น       แสวงหาความรู้                      คือ ดีมาก
              ผู้อื่น และแสดง   การตอบคาถาม
              ความคิดเห็น       การยอมรับความ
              อย่างมีเหตุผล     คิดเห็นผู้อื่น และ
                                การแสดงความ
คิดเห็นอย่างมี
                                   เหตุผล
      ซื่อสัตย์   บันทึกข้อมูล     - สังเกต           แบบประเมิน     ต้องได้ไม่ต่ากว่า          ครู
                  จากการปฏิบัติ    พฤติกรรมการ        คุณลักษณะ      ระดับคุณภาพ 3 คือ
                  กิจกรรม ทา       บันทึกข้อมูล จาก   อันพึง         ดี
                  แบบฝึกหัด ทา     การปฏิบัติ         ประสงค์        จากระดับคุณภาพ 4
                  แบบทดสอบ         กิจกรรม การทา                     คือ ดีมาก
                  ด้วยความ         แบบฝึกหัดและ
                  ซื่อสัตย์        การทา
                                   แบบทดสอบ
    รักสะอาด      รักษาความ        - สังเกต           แบบประเมิน     ต้องได้ไม่ต่ากว่า           ครู
                  สะอาดผลงาน       พฤติกรรมการ        คุณลักษณะ      ระดับคุณภาพ 3 คือ         เพื่อน
                  ห้องเรียนและ     รักษาความ          อันพึง         ดี                       นักเรียน
                  สถานที่ปฏิบัติ   สะอาดผลงาน         ประสงค์        จากระดับคุณภาพ 4
                  กิจกรรม          การทาความ                         คือ ดีมาก
                                   สะอาดห้องเรียน
                                   และสถานที่
                                   ปฏิบัติกิจกรรม

6. คาถามสาคัญ
      1. สารประกอบเกิดขึ้นได้อย่างไร
      2. ทาไมธาตุต้องเกิดเป็นสารประกอบ
      3. สารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมโลหะกับอโลหะ เรียกว่า สารประกอบอะไร
      4. สารประกอบที่เกิดขึ้น โลหะและอโลหะมีหน้าที่อย่างไร

7. การจัดกระบวนการเรียนรู้
       ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement)
       ครูทบทวนความรู้ เรื่อง การเขีย นสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก และพลั งงานกับการเกิด
   สารประกอบไอออนิก ที่เรียนผ่านมา และแจ้งว่าในวันนี้ เราจะร่วมกันศึกษา เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก
   การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้า และการเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก

         ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration)
         1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน
   (สร้างผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams Achievement Division STAD)
         2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
         3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมอง (Brainstorming) ร่วมกันอภิปรายถึงสมบัติของสารประกอบ
   ไอออนิกตามรายละเอียดในใบความรู้ ซึ่งควรสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
- สารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบยึดเหนี่ยวกันอย่างแข็งแรง เมื่อ
          ทุบผลึกของสารประกอบไอออนิกและไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่าง
          ไอออน เป็นเหตุให้ผลึกเปราะและแตกได้ง่าย
                 - เมื่อเป็นของแข็งไม่นาไฟฟ้า เพราะไอออนที่เป็นองค์ประกอบยึดเหนี่ยวกันอย่างแข็งแรงจน
          เคลื่อนที่ไม่ได้ แต่เมื่อทาให้หลอมเหลวหรือละลายในน้าจะนาไฟฟ้าเพราะไอออนเคลื่อนที่ไม่ได้
                 - มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง
                   - มีสภาพละลายได้แตกต่างกัน บางชนิดมีค่าสภาพละลายได้สูง บางชนิดมีสภาพละลายได้ต่า
           มาก และบางชนิดไม่ละลายน้า
      4. ครูแจกใบกิจกรรมการทดลองโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบกิจกรรมและทาการทดลอง โดยการ
   ทดลองจะแบ่งออกเป็น 2 ตอน ประกอบด้วยตอนที่ 1 เรื่อง การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้า และ
   ตอนที่ 2 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก พร้อมทั้งให้สมาชิกกาหนดหน้าที่กันเองในกุล่ม เช่น
                  คนที่ 1 อ่านขั้นตอนการทดลองและบอกวิธีการทดลองตามลาดับ
                  คนที่ 2 ดาเนินการทดลอง จัดเตรียมอุปกรณ์ รับอุปกรณ์ สารเคมี สาหรับการทดลอง
                  คนที่ 3 บันทึกข้อมูล ผลการทดลอง
      5. ครูนาอภิปรายก่อนการทดลอง เพื่อแนะนาเกี่ยวกับการทดลอง


      ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation)
      ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์ อภิปรายผลการทดลอง พร้อมทั้งส่งตัวแทนในการนาเสนอผลการ
ทดลองทั้ง 2 ตอน หน้าชั้นเรียน

       ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
       1. ครูนาอภิปรายจากประเด็นแนวคาถามจากการทดลอง
       2.      ครูให้ นักเรี ย นแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกั บสมบัติของสารประกอบไอออนิก /ปฏิกิริยาของ
   สารประกอบไอออนิก เป็นแบบแผนผังความคิด (Concept map)

    ขั้นประเมิน (Evaluation)
        นักเรี ยนเขียนสรุ ปความรู้ ที่ได้รั บ จากการเรียนรู้ล งในสมุดบันทึกการเรียนรู้ (Learning   logs)   และ
    ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket)

8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้
               1. ใบความรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
               2. กระดาษ post-it
               3. ใบกิจกรรมการทดลอง 2 ตอน ได้แก่
                  ตอนที่ 1 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก
                  ตอนที่ 2 เรื่อง ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
4. แบบประเมินแผนผังความคิด
 5. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด
6. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
บันทึกหลังสอน
รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน             ชั้น ม.4           กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แผนการเรียนรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย

           ประเด็นการบันทึก                                                 ผลการใช้แผนการสอน
1. เนื้อหาที่สอน                     ....................................................................................................................
(สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่)        ....................................................................................................................
2. เวลา                              ....................................................................................................................
(เหมาะสมหรือไม่)                     ....................................................................................................................
3. กิจกรรมที่ใช้สอน                  ....................................................................................................................
(ตามแผนหรือไม่)                      ....................................................................................................................
4. ปัญหาและอุปสรรค                   ....................................................................................................................
                                     ....................................................................................................................

ผลการเรียนของนักเรียน
             ชั้น                                เข้าเรียน (คน)                                                     ขาด (คน)
            ม.4/1
            ม.4/2
            ม.4/3
            ม.4/4
            ม.4/5
            ม.4/6
    ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน         ผ่าน                                                        ไม่ผ่าน
                                  เกณฑ์…………………………………….                                        เกณฑ์…………………………………..

การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บรรยากาศในการเรียน……………………………………………………….…………………………………………………………………………
……………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………..………………………………………………………
                                                ลงชื่อ
                                                       (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)

Contenu connexe

Tendances

การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์Maruko Supertinger
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางSherry Srwchrp
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีPorna Saow
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีzweetiiz
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนMaruko Supertinger
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)Thitaree Samphao
 

Tendances (20)

การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
แบบฝึกหัดารอ่านชื่อแอลเคน แอลีน อแลไคน์
 
Echem 1 redox
Echem 1 redoxEchem 1 redox
Echem 1 redox
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโรปสมัยกลาง
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ปัจจัย
ปัจจัยปัจจัย
ปัจจัย
 
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมีข้อสอบโควต้ามช เคมี
ข้อสอบโควต้ามช เคมี
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 2
 
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมีข้อสอบ เคมี
ข้อสอบ เคมี
 
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคนปฏิกิริยาชองแอลเคน
ปฏิกิริยาชองแอลเคน
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
การสังเคราะห์ด้วยแสง การค้นคว้า (T)
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
โควาเลนต์
โควาเลนต์โควาเลนต์
โควาเลนต์
 

En vedette

ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกPat Jitta
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond kruannchem
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิกkruannchem
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 
แอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลาย
แอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลายแอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลาย
แอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลายaomsin271895
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงานparichat441
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์Pat Jitta
 
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...watchareeii
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารพัน พัน
 
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมบทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมGawewat Dechaapinun
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1Coverslide Bio
 
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221Piyawan Thoosinkaen
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556chartphysic
 

En vedette (20)

ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิกใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
ใบความรู้ 2 สมบัติของสารประกอบไอออนิก
 
Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond Ch 02 ionic bond
Ch 02 ionic bond
 
05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก05 พันธะไอออนิก
05 พันธะไอออนิก
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 
Punmanee study 9
Punmanee study 9Punmanee study 9
Punmanee study 9
 
แอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลาย
แอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลายแอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลาย
แอพพลิเคชันเรื่องการหาค่าPhของสารละลาย
 
Study 1
Study 1Study 1
Study 1
 
4.ใบงาน
4.ใบงาน4.ใบงาน
4.ใบงาน
 
Solubility
SolubilitySolubility
Solubility
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์  เรื่อง  ปฏิกิริยาเคมี  รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ เรื่อง ปฏิกิริยาเคมี รายวิชาเคมีพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึก...
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอมบทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
บทที่ 4 โครงสร้างอะตอม
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1ใบงานโครงสร้างอะตอม1
ใบงานโครงสร้างอะตอม1
 
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์	ว 30221
แผนการสอนสเปกตรัมและแบบจำลองอะตอมของโบร์ ว 30221
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความเป็นมาของโลก และอายุของโลก 2556
 

Similaire à 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ PisaBiobiome
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06jirupi
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีpaknapa
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตkrupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04jirupi
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุุปเคมี
สรุุปเคมีสรุุปเคมี
สรุุปเคมีScan Do Dee
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 

Similaire à 06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก (20)

04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 06
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม01 โครงสร้างอะตอม
01 โครงสร้างอะตอม
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
แผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิตแผน 4 ชีวิต
แผน 4 ชีวิต
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 04
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
42 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่5_อสมการลอการิทึม
 
สรุุปเคมี
สรุุปเคมีสรุุปเคมี
สรุุปเคมี
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 

06 สมบัติของสารประกอบไอออนิก

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 แผนการเรียนรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก เวลา 3 คาบ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1.มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด (หลักสูตรโรงเรียนวิทยาศาสตร์และหลักสูตรแกนกลาง 2551) มาตรฐานที่ 1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยว ระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1.4 วิเคราะห์และอธิบายการเกิดพันธะเคมีในโครงผลึกและในโมเลกุลของสาร 1.5 สืบค้นข้อมูลและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างจุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสารกับแรงยึด เหนี่ยวระหว่างอนุภาคของสาร มาตรฐาน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์ หรือความสนใจ หรือ จากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถ ทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้างแบบจาลองหรือสร้าง รูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือ ตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจ ตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบอย่างถูกต้องทั้ง ทางกว้างและลึก ในเชิงปริมาณและคุณภาพ ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งใน เชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอ ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือ สาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการ และผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลักความ คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมี ส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือ ค้นคว้าเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและ
  • 2. ประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบ อย่างระมัดระวัง อันจะนามาสู่ การ ยอมรับเป็นความรู้ใหม่ ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของ โครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ 2. สาระสาคัญ สารประกอบไอออนิกที่ละลายในตัวทาละลายที่เป็นน้าแล้ว จะแตกตัวเป็นไอออน สามารถนาไฟฟ้าได้พร้อม กันนั้นก็จะมีพลังงานเปลี่ยนแปลงคู่กันไปด้วยเสมอ และเมื่อนาผลึกสารประกอบไอออนิกละลายน้า จะมีพลังงาน ความร้อนเปลี่ยนแปลงควบคู่กันไปเสมอ และการละลายของผลึกสารประกอบไอออนิกนี้มีกระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้น เป็นขั้นย่อย ๆ และแต่ละขั้นตอนมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานด้วย สมการไอออนิก (Ionic equation ) คือ สมการเคมีที่เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกุลของสารที่มีส่วนในการ เกิดปฏิกิริยา ส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารใดไม่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยาไม่ต้องเขียน สมการไอออนิก จะต้อง เป็นสมการที่มีสารใดสารหนึ่งเป็นไอออนร่วมอยู่ด้วยในปฏิกิริยานั้น 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ความรู้ 1. อธิบายเกี่ยวกับสมบัติบางประการของสารประกอบไอออนิกได้ 2. ทาการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงพลังงานของสารประกอบไอออนิกเมื่อละลายในน้าได้ 3. ทาการทดลองและอธิบายเกี่ยวกับปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก พร้อมทั้งเขียนสมการไอออนิกและ สมการไอออนิกสุทธิแสดงปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นได้ 3.2 ทักษะกระบวนการ ทาการทดลอง รวบรวมข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และสรุปผลการทดลองเพื่อศึกษา การเปลี่ยนแปลง พลังงานของสารไอออนิกเมื่อละลายน้าและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสารไอออนิก 3.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. เข้าเรียน ปฏิบัติกิจกรรม และส่งงานตรงเวลา 2. ร่วมมือในการเรียน แสวงหาความรู้ ตอบคาถาม ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น และแสดงความคิดเห็น อย่างมีเหตุผล 3. บันทึกข้อมูลจากการปฏิบัติกิจกรรม 4. รักษาความสะอาดผลงาน ห้องเรียนและสถานที่ปฏิบัติกิจกรรม 4. สาระการเรียนรู้ การละลายน้าของสารประกอบไอออนิก 1. สารประกอบไอออนิกทุกชนิดที่ละลายน้าได้ จะต้องมีพลังงานเปลี่ยนแปลงควบคู่กันไปเสมอ อาจเป็น แบบคายพลังงานหรือดูดพลังงาน 2. สารประกอบไอออนิกที่ละลายน้าได้ เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลของน้ากับไอออนของผลึก ไอออนิกมากกว่าแรงยึดเหนี่ยวระหว่างไอออนบวกและไอออนลบของผลึกไอออนิกนั้น 3. สารประกอบไอออนิกที่ไม่ละลายน้าหรือละลายน้าได้น้อยมาก เกิดในกรณีที่แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุล ของน้าไม่สามารถแยกไอออนจากผลึกได้โดยไอออนบวก และไอออนลบของผลึกไอออนิกดึงดูดแรงมาก
  • 3. 4. สารประกอบไอออนิกใดละลายน้าได้มาก จะอิ่มตัวช้า และถ้าสารประกอบไอออนิกใดที่ละลายน้าได้ น้อยจะอิ่มตัวเร็ว 5. ความสามารถในการละลายของสาร คือ ความสามารถของสารที่ละลายในตัวทาละลายจนอิ่มตัวแต่ ความสามารถในการละลายของสารประกอบไอออนิกจะมากแค่ไหนขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและชนิดของ พลังงานกับการละลายสารประกอบไอออนิก เมื่อนาผลึกสารประกอบไอออนิกละลายน้า จะมีพลังงานความร้อนเปลี่ยนแปลงควบคู่กันไปเสมอ และการ ละลายของผลึกสารประกอบไอออนิกนี้ มีกระบวนการต่าง ๆ เกิดขึ้นเป็นขั้นย่อย ๆ และแต่ละขั้นตอนมีการ เปลี่ยนแปลงพลังงานด้วย เช่น การละลายโซเดียมคลอไร์ (NaCl) ในน้า มีขั้นตอนย่อย ๆ เปลี่ยนแปลงพลังงานดังนี้ ขั้นที่ 1 ผลึกสารประกอบไอออนิกแตกตัวเป็นไอออนในสภาวะก๊าซ ซึ่งมีการดูดพลังงานเพื่อสลายพันธะ ไอออนิกระหว่าง Na+ กับ Cl- ออกจากกันเป็นไอออนในสภาวะก๊าซ พลังงานนี้มีค่าเท่ากับ พลังงานแลตทิซ (Lattice energy) ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า  latt NaCl (s)  Na+ (g) + Cl- (g) ;  latt = +776 kJ ขั้นที่ 2 ไอออนที่เป็นก๊าซจะถูกน้าล้อมรอบเกิดไฮเดรตมีการคายพลังงานออกมา เรียกพลังงานนี้ว่า พลังงานไฮเดรชัน ( Hydration energy) ใช้สัญลักษณ์ย่อว่า  hyd Na+ (g) + Cl- (g) H2O  Na+ (aq) + Cl- (aq) ;   hyd = -771 kJ รวมขั้นที่ 1 และ 2 ข้าด้วยกันจะได้ NaCl (s) H2O  Na+ (aq) + Cl- (aq ;    so ln = +5 kJ ถ้า  so ln = พลังงานของการละลาย รูปแสดงความสัมพันธะระหว่างพลังงานแลตทิซ , พลังงานไฮเดรชัน และพลังงานการละลาย พลังงานแลตทิซ (Lattice energy) คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนในสภาวะก๊าซที่มีประจุตรงข้าม มารวมกันเป็นของแข็งไอออนิก 1 โมล พลังงานไฮเดรชัน (Hydration energy) คือ พลังงานที่คายออกมาเมื่อไอออนของก๊าซรวมกับน้า พลังงานการละลาย (Heat of Solution) คือ พลังงานที่คายออกหรือดูดเข้าไป จากการละลายสาร 1 โมล ในตัวทาละลายตามจานวนที่กาหนดให้
  • 4. สมการไอออนิก สมการไอออนิก (Ionic equation ) คือ สมการเคมีที่เขียนเฉพาะไอออนหรือโมเลกุลของสารที่มีส่วนใน การเกิดปฏิกิริยา ส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารใดไม่มีส่วนในการเกิดปฏิกิริยาไม่ต้องเขียน สมการไอออนิก จะต้องเป็นสมการที่มีสารใดสารหนึ่งเป็นไอออนร่วมอยู่ด้วยในปฏิกิริยานั้น หลักการเขียนสมการไอออนิก 1. ให้เขียนเฉพาะส่วนไอออนหรือโมเลกุลของสารทาปฏิกิริยากันเท่านั้น 2. ถ้าสารที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาเป็นสารที่ไม่ละลายน้าหรือไม่แตกตัวเป็นไอออนหรื อเป็นออกไซด์หรือเป็น ก๊าซให้เขียนสูตรโมเลกุลของสารนั้นในสมการได้ ตัวอย่าง ออกไซด์ เช่น CO2 , H2O ก๊าซ เช่น H2 , NH3 สารที่ไม่ละลายน้า เช่น CaCO3 , AgCl 3. ดุลสมการไอออนิกโดยทาจานวนอะตอมและจานวนไอออนของธาตุทุกธาตุ ทั้งทางซ้ายและทางขวาของ สมการให้เท่ากัน พร้อมทั้งดุลประจุรวมทั้งทางซ้ายและขวาของสมการให้เท่ากัน ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนสมการไอออนิก เมื่อนาสารเหล่านี้ละลายน้า KOH , BaCl2 , H2SO4 วิธีทา KOH ละลายน้าเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้ KOH (s) H2O  K+ (aq) + OH- (aq)   ฺBaCl2 ละลายน้าเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้ BaCl2 H2O  Ba2+ (aq) + 2Cl- (aq)   H2SO4 ละลายน้าเขียนสมการไอออนิกได้ดังนี้ H2SO4(aq) H2O  2H+ (aq) + SO42- (aq)  ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนสมการไอออนิกที่เกิดจากการผสมสารละลายแต่ละคู่ต่อไปนี้ ก. AgNO3 (aq) กับ CaBr2 (aq) ข. CuSO4 (aq) กับ K2S (aq) วิธีทา ก. ขั้นที่ 1 AgNO3 (aq) + CaBr2 (aq)  2AgBr (s) + Ca(NO3)2 (aq) ขั้นที่ 2 2Ag+ (aq) + NO3- (aq) + Ca2+(aq) + 2Br- (aq)  2AgBr (s) + Ca2+(aq) + 2NO3- (aq) ขั้นที่ 3 2Ag+ (aq) + 2Br- (aq)  2AgBr (s) สมการไอออนิก ข. ขั้นที่ 1 CuSO4 (aq) + K2S (aq)  CuS (s) + K2SO4 (aq)
  • 5. ขั้นที่ 2 Cu2+(aq) + SO42- (aq) + 2K+(aq) + S2- (aq)  CuS (s) + K+(aq) + SO42- (aq) ขั้นที่ 3 Cu2+(aq) + S2- (aq)  CuS (s) สมการไอออนิก
  • 6. 5. หลักฐาน หรือร่องรอยของการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล 5.1 ความรู้ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน แผนผังความคิด วัดเมื่อจบบทเรียน - Concept map ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู (Graphic ตามตัวชี้วัดต่อไปนี้ - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด Organize) 1. การกาหนดและ แผนผังความคิด ระดับ 3 ดี 3 คะแนน เชื่อมโยงแนวความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก หลัก แนวความคิดรอง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน แนวความคิดย่อย = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย 2. การเชื่อมโยงความรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 3. การเชื่อมโยง 1 คะแนน ประเด็นต่างๆอย่าง = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก สมเหตุสมผล มี หรือไม่ถูกต้องเลย คาเชื่อมถูกต้อง ชัดเจน ตอบคาถาม ตรวจคาตอบของ - Exit ticket ระดับ 4 ดีเยี่ยม 4 คะแนน ครู สะท้อนความคิด คาถามสะท้อน - แบบประเมิน = ทาได้ถูกต้องทุกตัวชี้วัด เพื่อนนักเรียน (Exit ticket) ความคิด ตามตัวชี้วัด การตอบคาถาม ระดับ 3 ดี 3 คะแนน ต่อไปนี้ สะท้อนความคิด = ทาได้ถูกต้องจานวนมาก 1. ความถูกต้อง ระดับ 2 พอใช้ 2 คะแนน ครอบคลุมสิ่งที่ได้ = ทาได้ถูกต้องจานวนน้อย เรียนรู้ ระดับ 1 ต้องปรับปรุง 2. ความสมเหตุสมผล 1 คะแนน ชัดเจน ของคาตอบ = ทาได้ถูกต้องน้อยมาก 3. การตั้งคาถามที่ หรือไม่ถูกต้องเลย อยากรู้ 5.2 ทักษะกระบวนการ ภาระงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ชิ้นงาน ใบกิจกรรมการ สังเกตพฤติกรรมการ - แบบประเมิน - ต้องได้ไม่ต่ากว่าระดับ ครู ทดลอง - การวางแผนการ ทักษะในการ คุณภาพ 3 คือ ดี จากระดับ ทดลอง ปฏิบัติการ คุณภาพ 4 คือ ดีมาก
  • 7. -การออกแบบตาราง ทดลอง บันทึกผลการทดลอง -การปฏิบัติการทดลอง -การสังเกตและบันทึก ผลการทดลอง -การจัดกระทากับ ข้อมูล การวิเคราะห์ อภิปรายและสรุปผล การทดลอง -การนาเสนอข้อสรุป 5.3 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ คุณลักษณะ ภาระงาน/ อันพึง ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม ตรงต่อเวลา เข้าเรียน - สังเกต แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู พฤติกรรมการ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 3 คือ ปฏิบัติกิจกรรม เข้าเรียน การ อันพึง ดี ปฏิบัติกิจกรรม ประสงค์ จากระดับคุณภาพ 4 ส่งงานตรงเวลา และการส่งงาน คือ ดีมาก ของนักเรียน คุณลักษณะ ภาระงาน/ อันพึง ชิ้นงาน/ วิธีการวัด เครื่องมือ เกณฑ์ที่ใช้ประเมิน ผู้ประเมิน ประสงค์ พฤติกรรม ใฝ่เรียนรู้ ร่วมมือในการ - สังเกต แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู เรียน แสวงหา พฤติกรรมความ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 3 คือ ความรู้ ตอบ ร่วมมือในการ อันพึง ดี คาถาม ยอมรับ เรียน การ ประสงค์ จากระดับคุณภาพ 4 ความคิดเห็น แสวงหาความรู้ คือ ดีมาก ผู้อื่น และแสดง การตอบคาถาม ความคิดเห็น การยอมรับความ อย่างมีเหตุผล คิดเห็นผู้อื่น และ การแสดงความ
  • 8. คิดเห็นอย่างมี เหตุผล ซื่อสัตย์ บันทึกข้อมูล - สังเกต แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู จากการปฏิบัติ พฤติกรรมการ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 3 คือ กิจกรรม ทา บันทึกข้อมูล จาก อันพึง ดี แบบฝึกหัด ทา การปฏิบัติ ประสงค์ จากระดับคุณภาพ 4 แบบทดสอบ กิจกรรม การทา คือ ดีมาก ด้วยความ แบบฝึกหัดและ ซื่อสัตย์ การทา แบบทดสอบ รักสะอาด รักษาความ - สังเกต แบบประเมิน ต้องได้ไม่ต่ากว่า ครู สะอาดผลงาน พฤติกรรมการ คุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 3 คือ เพื่อน ห้องเรียนและ รักษาความ อันพึง ดี นักเรียน สถานที่ปฏิบัติ สะอาดผลงาน ประสงค์ จากระดับคุณภาพ 4 กิจกรรม การทาความ คือ ดีมาก สะอาดห้องเรียน และสถานที่ ปฏิบัติกิจกรรม 6. คาถามสาคัญ 1. สารประกอบเกิดขึ้นได้อย่างไร 2. ทาไมธาตุต้องเกิดเป็นสารประกอบ 3. สารประกอบที่เกิดขึ้นระหว่างอะตอมโลหะกับอโลหะ เรียกว่า สารประกอบอะไร 4. สารประกอบที่เกิดขึ้น โลหะและอโลหะมีหน้าที่อย่างไร 7. การจัดกระบวนการเรียนรู้ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ครูทบทวนความรู้ เรื่อง การเขีย นสูตรและการเรียกชื่อสารประกอบไอออนิก และพลั งงานกับการเกิด สารประกอบไอออนิก ที่เรียนผ่านมา และแจ้งว่าในวันนี้ เราจะร่วมกันศึกษา เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้า และการเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก ขั้นสารวจและค้นหา (Exploration) 1. จัดกลุ่มนักเรียน 3 คน ที่ประกอบด้วยนักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูง ปานกลาง และอ่อน (สร้างผลสัมฤทธิ์ของทีม: Student Teams Achievement Division STAD) 2. ครูแจกใบความรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก 3. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมสมอง (Brainstorming) ร่วมกันอภิปรายถึงสมบัติของสารประกอบ ไอออนิกตามรายละเอียดในใบความรู้ ซึ่งควรสรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
  • 9. - สารประกอบไอออนิกประกอบด้วยไอออนบวกและไอออนลบยึดเหนี่ยวกันอย่างแข็งแรง เมื่อ ทุบผลึกของสารประกอบไอออนิกและไอออนชนิดเดียวกันเลื่อนไปอยู่ตรงกัน จึงเกิดแรงผลักระหว่าง ไอออน เป็นเหตุให้ผลึกเปราะและแตกได้ง่าย - เมื่อเป็นของแข็งไม่นาไฟฟ้า เพราะไอออนที่เป็นองค์ประกอบยึดเหนี่ยวกันอย่างแข็งแรงจน เคลื่อนที่ไม่ได้ แต่เมื่อทาให้หลอมเหลวหรือละลายในน้าจะนาไฟฟ้าเพราะไอออนเคลื่อนที่ไม่ได้ - มีสถานะเป็นของแข็งที่อุณหภูมิห้อง มีจุดหลอมเหลวและจุดเดือดสูง - มีสภาพละลายได้แตกต่างกัน บางชนิดมีค่าสภาพละลายได้สูง บางชนิดมีสภาพละลายได้ต่า มาก และบางชนิดไม่ละลายน้า 4. ครูแจกใบกิจกรรมการทดลองโดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบกิจกรรมและทาการทดลอง โดยการ ทดลองจะแบ่งออกเป็น 2 ตอน ประกอบด้วยตอนที่ 1 เรื่อง การละลายของสารประกอบไอออนิกในน้า และ ตอนที่ 2 เรื่อง การเกิดปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก พร้อมทั้งให้สมาชิกกาหนดหน้าที่กันเองในกุล่ม เช่น คนที่ 1 อ่านขั้นตอนการทดลองและบอกวิธีการทดลองตามลาดับ คนที่ 2 ดาเนินการทดลอง จัดเตรียมอุปกรณ์ รับอุปกรณ์ สารเคมี สาหรับการทดลอง คนที่ 3 บันทึกข้อมูล ผลการทดลอง 5. ครูนาอภิปรายก่อนการทดลอง เพื่อแนะนาเกี่ยวกับการทดลอง ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์ อภิปรายผลการทดลอง พร้อมทั้งส่งตัวแทนในการนาเสนอผลการ ทดลองทั้ง 2 ตอน หน้าชั้นเรียน ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) 1. ครูนาอภิปรายจากประเด็นแนวคาถามจากการทดลอง 2. ครูให้ นักเรี ย นแต่ละคนสรุปองค์ความรู้เกี่ยวกั บสมบัติของสารประกอบไอออนิก /ปฏิกิริยาของ สารประกอบไอออนิก เป็นแบบแผนผังความคิด (Concept map) ขั้นประเมิน (Evaluation) นักเรี ยนเขียนสรุ ปความรู้ ที่ได้รั บ จากการเรียนรู้ล งในสมุดบันทึกการเรียนรู้ (Learning logs) และ ประเมินผลสะท้อนการเรียนรู้ลงใน 3-2-1 Ticket (Exit Ticket) 8. สื่อ วัสดุ อุปกรณ์/ แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก 2. กระดาษ post-it 3. ใบกิจกรรมการทดลอง 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก ตอนที่ 2 เรื่อง ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก
  • 10. 4. แบบประเมินแผนผังความคิด 5. แบบประเมินการตอบคาถามสะท้อนความคิด 6. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
  • 11. บันทึกหลังสอน รหัส-ชื่อรายวิชา ว30131 เคมีพื้นฐาน ชั้น ม.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แผนการเรียนรู้ เรื่อง สมบัติของสารประกอบไอออนิก/ปฏิกิริยาของสารประกอบไอออนิก โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ประเด็นการบันทึก ผลการใช้แผนการสอน 1. เนื้อหาที่สอน .................................................................................................................... (สอนได้สมบูรณ์ครบถ้วนหรือไม่) .................................................................................................................... 2. เวลา .................................................................................................................... (เหมาะสมหรือไม่) .................................................................................................................... 3. กิจกรรมที่ใช้สอน .................................................................................................................... (ตามแผนหรือไม่) .................................................................................................................... 4. ปัญหาและอุปสรรค .................................................................................................................... .................................................................................................................... ผลการเรียนของนักเรียน ชั้น เข้าเรียน (คน) ขาด (คน) ม.4/1 ม.4/2 ม.4/3 ม.4/4 ม.4/5 ม.4/6 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน เกณฑ์……………………………………. เกณฑ์………………………………….. การมอบหมายหน้าที่และความรับผิดชอบ ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บรรยากาศในการเรียน……………………………………………………….………………………………………………………………………… ……………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค……………………………………………………….……………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………..……………………………………………………… ลงชื่อ (นางธิดารัตน์ แสงฮวด)