SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
1

                                         เสียงกับการไดยิน

                                     เสียงเกิดขึ้นไดอยางไร
พลังงานเสียง (sound energy) เปนพลังงานรูปหนึ่งที่มองไมเห็น ไมมีตวตน เกิดจากการสั่นสะเทือน
                                                                          ั
ของวัตถุ เสียงจะเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดเสียงทุกทิศทุกทาง ผานตัวกลาง 3 ชนิด คือ ของแข็ง
ของเหลว และกาซ ไปยังอวัยวะรับเสียงก็คอ หู (ear) ื
สวนประกอบของหู แบงได 3 ชั้น ไดแก
     1. หูชั้นนอก (ใบหู รูหูและเยื่อแกวหู)
     2. หูชั้นกลาง (กระดูกคอน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน)
     3. หูชั้นใน (คลอเคลียมีลักษณะเปนทอเหมือนเปลือกหอยโขง)
เสียงที่เราไดยนนั้นมาจากวัตถุตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา วัตถุที่ทําใหเกิดเสียงเราเรียกวา แหลงกําเนิด
                 ิ
เสียง เสียงที่เราไดยนมีทั้งเสียงดังและเสียงคอย เสียงบางเสียงเราเคยไดยิน และเสียงบางเสียงเราก็
                      ิ
ไมเคยไดยิน แสดงวามีวัตถุมากมายที่เปนแหลงกําเนิดเสียงอยูรอบ ๆ ตัวเรา
      เสียงกําเนิดขึ้นเมื่อวัตถุมีการสั่น ถาวัตถุสั่นดวยพลังงานมากๆ เราจะไดยินเสียงจากวัตถุนั้นได
เชน ลําโพงสั่นเราจะไดยนเสียงจากลําโพง เสนเสียงในลําคอสั่น ทําใหเราออกเสียงได
                             ิ
การเดินทางของเสียง เสียงมาถึงหูของเราไดอยางไร เสียงเดินทางมาถึงหูเราไดกตองมีตัวกลาง (ถา
                                                                                     ็
ไมมีตัวกลางเสียงเดินทางไมได เชน ในทีสุญญากาศ ไมสามารถไดยินเสียงได) ซึ่งสามารถสรุปได
                                              ่
งาย ๆ ดังนี้
     1. ตัวกลางที่นําเสียงไดดีที่สุดคือของแข็ง รองลงมาคือของเหลว และกาซตามลําดับ
     2. เสียงเดินทางในอุณหภูมิสูงไดดีกวาอุณหภูมต่ํา     ิ
     3. เสียงเดินทางในตัวกลางที่มความหนาแนนสูงไดดีกวาตัวกลางที่มีความหนาแนนต่ํา
                                        ี
องคประกอบของเสียงนั้นมี 3 สวน
     1. แหลงกําเนิดเสียง
     2. ตัวกลางของเสียง
     3. อวัยวะรับเสียง หรือหูนั่นเอง
เสียงสูงกับเสียงต่ําเสียงดังเสียงคอยขึ้นอยูกบอะไร
                                                ั
เสียงสูงกับเสียงต่ําขึ้นอยูกับความถี่เสียง ถาความถี่สูงเสียงจะสูงและแหลม ความถี่ต่ําเสียงจะต่าและ
                                                                                                  ํ
ทุม วัตถุที่สั่นสะเทือนมากเสียงจะดัง วัตถุที่สั่นสะเทือนนอยเสียงจะคอย
2

                                           การไดยนิ
        เสียงเปนคลื่นตามยาวเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง ดังนั้นถาวัตถุสั่นดวยพลังงาน
มากแอมปลิจดของการสั่นก็จะมาก ถาพลังงานที่ใชในการสั่นมีคานอย แอมปลิจูดของการสั่นก็จะ
             ู
นอย การสั่นของแหลงกําเนิดจะถายโอนพลังงานของการสั่นผานตัวกลางมายังผูฟง
        ในการไดยนเสียงครั้งหนึ่งๆ จะมีองคประกอบ 3 อยาง คือ ตนกําเนิดเสียง ตัวกลาง และ
                   ิ
ประสาทรับเสียงของผูฟง ในการไดยินเสียงครั้งหนึ่งๆ ความรูสึกในการไดยินเสียงของมนุษย
โดยทั่วไปแยกออกเปนลักษณะตางๆ ดังนี้
        1. ความรูสึกดัง-คอยของเสียง ขึ้นอยูกับ แอมปลิจูดและความเขมเสียง
                                             
        2. ความรูสึกทุม-แหลมของเสียง ขึ้นอยูกบความถี่ของเสียง
                                                ั
        3. ความไพเราะของเสียง ขึนอยูกับคุณภาพเสียง
                                  ้

       เมื่อเสียงจากแหลงกําเนิดเคลื่อนที่ผานอากาศมาถึงหูเราคลื่นเสียงทําใหลําอากาศในหูสั่นก็จะ
                                           
ทําใหเยื่อแกวหู (ซึ่งมีความไวมาก) สั่น การสั่นเพียงเล็กนอยของเยื่อแกวหูก็สงผลตอไปยังประสาท
รับรูในการไดยินของคนเรา ซึ่งแสดงสวนประกอบตางๆ ของหู และการไดยินของคนเรา ดังรูป




                                   รูป แสดงสวนประกอบของหู

  ขอบเขตความสามารถการไดยินเสียงของหูมนุษยขึ้นอยูกับระดับความเขมเสียง (0 - 120 เดซิเบล)
และความถี่ของเสียง (20 - 20000 Hz)

ธรรมชาติของเสียง
- เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือน เสียงสําหรับ หูมนุษยที่รบฟงได มี ความถี่ 20 - 20,000 เฮิรตซ เกิด
                                                      ั
3

จาก การสั่น ของวัตถุทําใหตวกลางเกิดเปนสวนอัดและสวนขยาย
                           ั
- เสียงเคลื่อนที่ไปในตัวกลางที่ยืดหยุน
- เสียงเปนคลืนกล และ เปนคลื่นตามยาว มีคุณสมบัติการ สะทอน การหักเห แทรกสอด และ
              ่
เลี้ยวเบน
อัตราเร็วของเสียงในอากาศ vt = 331 + 0.6t
vt = ความเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ t (c? )




         รูป แสดงชวงความถี่และระดับความเขมเสียงที่หูคนปกติสามารถรับรูได

                                      เวลาเสียงกอง (Tr)

    Tr เปนเวลาที่นับจากขณะที่เสียงออกจากแหลงกําเนิดจนมีพลังงานลดลง 60 dB และระยะเวลา
ที่เสียงจากแหลงกําเนิดและเสียงสะทอนมาถึงหูผูฟง (ไมใช Tr) มีคานอยกวา 0.1 วินาที่ หูของ
มนุษยจะแยกไมออก แตถาเวลาตางกันมากขึ้น หูของคนเราก็จะแยกออกเปนเสียงคนละเสียง

ขอบคุณที่มาและศึกษาเพิ่มเติมไดท่ี http://www.sa.ac.th/winyoo/Sound/sound_ear.htm

https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=70443
4

                                 แบบทดสอบเรื่อง เสียงกับการไดยน
                                                               ิ

ขอที่ 1) ลักษณะของคลื่นเสียงคลายกับคลื่นชนิดใด
ก. คลื่นน้ํา                 ข.คลื่นวิทยุ               ค.คลื่นแสง       ง. คลื่นไฟฟา
ขอที่ 2) ตัวกลางชนิดใด ทําใหเราสามารถไดยินเสียงชัดเจนที่สุด
ก. ของเหลว                   ข. ของแข็ง                 ค. กาซ          ง. สุญญากาศ
ขอที่ 3) เยื่อแกวหู เปนอวัยวะอยูในบริเวณใด
ก. หูช้นนอก
        ั                    ข. หูช้นกลาง
                                    ั                    ค. หูชั้นใน     ง. ประสาทหู
ขอที่ 4) เยื่อแกวหูมี หนาทีอยางไร
                              ่
ก. ชวยในการทรงตัว                                      ข. แปลงคลื่นเสียงใหเปนเสียง
ค. รับการสั่นสะเทือนของคลื่นเสียง                       ง. ขยายคลื่นเสียงใหมีความเขมขึ้น
ขอที่ 5) อวัยวะในขอใด ที่ชวยควบคุมการทรงตัว
                                
ก. เยื่อแกวหู               ข. กระดูกคอน              ค. กระดูกโกลน ง. คอเคลีย
ขอที่ 6) ถาเราใชไมเคาะขวดแกวเปลา แลวคอย ๆ เติมน้ําลงในขวด แลวเคาะไปเรื่อย ๆ เสียงที่ได
ยินจะเปลี่ยนแปลงอยางไร
ก. เสียงจะคอย ๆ ต่ําลง                                  ข. เสียงจะคอย ๆ สูงขึ้น
ค. เสียงจะคอย ๆ ดังขึ้น                                ง. เสียงจะคอย ๆ เบาลง
ขอที่ 7) สิ่งใดที่ทําใหมนุษยเราเปลงเสียงได
ก. ลิ้นไก                   ข. ริมฝปาก                ค. เสนเสียง ง. เพดานปาก
ขอที่ 8) ระดับความดังของเสียงเทาไร จึงจัดเปนเสียงดัง
ก. 50 เดซิเบล                ข. 60 เดซิเบล              ค. 70 เดซิเบล        ง. 80 เดซิเบล
ขอที่ 9) ระดับความดังของเสียงในขอใดทีคนเราสามารถทนฟงได
                                             ่
ก. ไมเกิน 60 เดซิเบล                          ข. ไมเกิน 80 เดซิเบล
ค. ไมเกิน 100 เดซิเบล                         ง. ไมเกิน 120 เดซิเบล
ขอที่ 10) ขอใด ไมใช องคประกอบที่ชวยในการไดยินเสียง
ก. ตัวกลาง                   ข. ระยะทาง                 ค. อวัยวะรับเสียง        ง. แหลงกําเนิดเสียง

Contenu connexe

Tendances

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaWan Ngamwongwan
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์Biobiome
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลายJariya Jaiyot
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานTanachai Junsuk
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Tendances (20)

วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdnaเฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
เฉลยแบบฝึกหัด17.5โครงสร้างdna
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
เอกสารประกอบการสอน พันธุศาสตร์
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
สารละลาย
สารละลายสารละลาย
สารละลาย
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงานใบงาน เรื่อง พลังงงาน
ใบงาน เรื่อง พลังงงาน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

En vedette

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียงแบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียงPiyanuch Plaon
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 

En vedette (10)

แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียงแบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
 
Matching clothes
Matching clothesMatching clothes
Matching clothes
 
Clothes crossword
Clothes crosswordClothes crossword
Clothes crossword
 
เสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยินเสียง และการได้ยิน
เสียง และการได้ยิน
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
Plural noun worksheet
Plural noun worksheet Plural noun worksheet
Plural noun worksheet
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 

Similaire à เสียงกับการได้ยิน

ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]wattumplavittayacom
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]apiwan
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptxบทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptxssuser7ea064
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of PhysiologicalTuk Diving
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียงKruanek007
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงNawamin Wongchai
 

Similaire à เสียงกับการได้ยิน (20)

Sound
SoundSound
Sound
 
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
ธรรมชาติของเสียงและมลพิษทางเสียง[สายอรุณ14.12.54]
 
หู
หูหู
หู
 
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
งานแก้ตัวสำหรับนักเรียนติด มส.
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
Ppt e.pptm [บันทึกอัตโนมัติ]
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
เสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยินเสียงกับการได้ยิน
เสียงกับการได้ยิน
 
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียงฟิสิกส์ เรื่องเสียง
ฟิสิกส์ เรื่องเสียง
 
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptxบทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
บทที่ 5 เรื่อง เสียง.pptx
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
การขับร้ิองประสานเสียง ชุดที่ 1
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 
Hearing Loss
Hearing LossHearing Loss
Hearing Loss
 
บทที่ 3 Basic Of Physiological
บทที่ 3  Basic Of  Physiologicalบทที่ 3  Basic Of  Physiological
บทที่ 3 Basic Of Physiological
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
P12
P12P12
P12
 
12.เสียง
12.เสียง12.เสียง
12.เสียง
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
งานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียงงานนำเสนอเสียง
งานนำเสนอเสียง
 

เสียงกับการได้ยิน

  • 1. 1 เสียงกับการไดยิน เสียงเกิดขึ้นไดอยางไร พลังงานเสียง (sound energy) เปนพลังงานรูปหนึ่งที่มองไมเห็น ไมมีตวตน เกิดจากการสั่นสะเทือน ั ของวัตถุ เสียงจะเคลื่อนที่ออกจากแหลงกําเนิดเสียงทุกทิศทุกทาง ผานตัวกลาง 3 ชนิด คือ ของแข็ง ของเหลว และกาซ ไปยังอวัยวะรับเสียงก็คอ หู (ear) ื สวนประกอบของหู แบงได 3 ชั้น ไดแก 1. หูชั้นนอก (ใบหู รูหูและเยื่อแกวหู) 2. หูชั้นกลาง (กระดูกคอน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน) 3. หูชั้นใน (คลอเคลียมีลักษณะเปนทอเหมือนเปลือกหอยโขง) เสียงที่เราไดยนนั้นมาจากวัตถุตาง ๆ ที่อยูรอบตัวเรา วัตถุที่ทําใหเกิดเสียงเราเรียกวา แหลงกําเนิด ิ เสียง เสียงที่เราไดยนมีทั้งเสียงดังและเสียงคอย เสียงบางเสียงเราเคยไดยิน และเสียงบางเสียงเราก็ ิ ไมเคยไดยิน แสดงวามีวัตถุมากมายที่เปนแหลงกําเนิดเสียงอยูรอบ ๆ ตัวเรา เสียงกําเนิดขึ้นเมื่อวัตถุมีการสั่น ถาวัตถุสั่นดวยพลังงานมากๆ เราจะไดยินเสียงจากวัตถุนั้นได เชน ลําโพงสั่นเราจะไดยนเสียงจากลําโพง เสนเสียงในลําคอสั่น ทําใหเราออกเสียงได ิ การเดินทางของเสียง เสียงมาถึงหูของเราไดอยางไร เสียงเดินทางมาถึงหูเราไดกตองมีตัวกลาง (ถา ็ ไมมีตัวกลางเสียงเดินทางไมได เชน ในทีสุญญากาศ ไมสามารถไดยินเสียงได) ซึ่งสามารถสรุปได ่ งาย ๆ ดังนี้ 1. ตัวกลางที่นําเสียงไดดีที่สุดคือของแข็ง รองลงมาคือของเหลว และกาซตามลําดับ 2. เสียงเดินทางในอุณหภูมิสูงไดดีกวาอุณหภูมต่ํา ิ 3. เสียงเดินทางในตัวกลางที่มความหนาแนนสูงไดดีกวาตัวกลางที่มีความหนาแนนต่ํา ี องคประกอบของเสียงนั้นมี 3 สวน 1. แหลงกําเนิดเสียง 2. ตัวกลางของเสียง 3. อวัยวะรับเสียง หรือหูนั่นเอง เสียงสูงกับเสียงต่ําเสียงดังเสียงคอยขึ้นอยูกบอะไร ั เสียงสูงกับเสียงต่ําขึ้นอยูกับความถี่เสียง ถาความถี่สูงเสียงจะสูงและแหลม ความถี่ต่ําเสียงจะต่าและ ํ ทุม วัตถุที่สั่นสะเทือนมากเสียงจะดัง วัตถุที่สั่นสะเทือนนอยเสียงจะคอย
  • 2. 2 การไดยนิ เสียงเปนคลื่นตามยาวเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง ดังนั้นถาวัตถุสั่นดวยพลังงาน มากแอมปลิจดของการสั่นก็จะมาก ถาพลังงานที่ใชในการสั่นมีคานอย แอมปลิจูดของการสั่นก็จะ ู นอย การสั่นของแหลงกําเนิดจะถายโอนพลังงานของการสั่นผานตัวกลางมายังผูฟง ในการไดยนเสียงครั้งหนึ่งๆ จะมีองคประกอบ 3 อยาง คือ ตนกําเนิดเสียง ตัวกลาง และ ิ ประสาทรับเสียงของผูฟง ในการไดยินเสียงครั้งหนึ่งๆ ความรูสึกในการไดยินเสียงของมนุษย โดยทั่วไปแยกออกเปนลักษณะตางๆ ดังนี้ 1. ความรูสึกดัง-คอยของเสียง ขึ้นอยูกับ แอมปลิจูดและความเขมเสียง  2. ความรูสึกทุม-แหลมของเสียง ขึ้นอยูกบความถี่ของเสียง ั 3. ความไพเราะของเสียง ขึนอยูกับคุณภาพเสียง ้ เมื่อเสียงจากแหลงกําเนิดเคลื่อนที่ผานอากาศมาถึงหูเราคลื่นเสียงทําใหลําอากาศในหูสั่นก็จะ  ทําใหเยื่อแกวหู (ซึ่งมีความไวมาก) สั่น การสั่นเพียงเล็กนอยของเยื่อแกวหูก็สงผลตอไปยังประสาท รับรูในการไดยินของคนเรา ซึ่งแสดงสวนประกอบตางๆ ของหู และการไดยินของคนเรา ดังรูป รูป แสดงสวนประกอบของหู ขอบเขตความสามารถการไดยินเสียงของหูมนุษยขึ้นอยูกับระดับความเขมเสียง (0 - 120 เดซิเบล) และความถี่ของเสียง (20 - 20000 Hz) ธรรมชาติของเสียง - เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือน เสียงสําหรับ หูมนุษยที่รบฟงได มี ความถี่ 20 - 20,000 เฮิรตซ เกิด ั
  • 3. 3 จาก การสั่น ของวัตถุทําใหตวกลางเกิดเปนสวนอัดและสวนขยาย ั - เสียงเคลื่อนที่ไปในตัวกลางที่ยืดหยุน - เสียงเปนคลืนกล และ เปนคลื่นตามยาว มีคุณสมบัติการ สะทอน การหักเห แทรกสอด และ ่ เลี้ยวเบน อัตราเร็วของเสียงในอากาศ vt = 331 + 0.6t vt = ความเร็วของเสียงที่อุณหภูมิ t (c? ) รูป แสดงชวงความถี่และระดับความเขมเสียงที่หูคนปกติสามารถรับรูได เวลาเสียงกอง (Tr) Tr เปนเวลาที่นับจากขณะที่เสียงออกจากแหลงกําเนิดจนมีพลังงานลดลง 60 dB และระยะเวลา ที่เสียงจากแหลงกําเนิดและเสียงสะทอนมาถึงหูผูฟง (ไมใช Tr) มีคานอยกวา 0.1 วินาที่ หูของ มนุษยจะแยกไมออก แตถาเวลาตางกันมากขึ้น หูของคนเราก็จะแยกออกเปนเสียงคนละเสียง ขอบคุณที่มาและศึกษาเพิ่มเติมไดท่ี http://www.sa.ac.th/winyoo/Sound/sound_ear.htm https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=70443
  • 4. 4 แบบทดสอบเรื่อง เสียงกับการไดยน ิ ขอที่ 1) ลักษณะของคลื่นเสียงคลายกับคลื่นชนิดใด ก. คลื่นน้ํา ข.คลื่นวิทยุ ค.คลื่นแสง ง. คลื่นไฟฟา ขอที่ 2) ตัวกลางชนิดใด ทําใหเราสามารถไดยินเสียงชัดเจนที่สุด ก. ของเหลว ข. ของแข็ง ค. กาซ ง. สุญญากาศ ขอที่ 3) เยื่อแกวหู เปนอวัยวะอยูในบริเวณใด ก. หูช้นนอก ั ข. หูช้นกลาง ั ค. หูชั้นใน ง. ประสาทหู ขอที่ 4) เยื่อแกวหูมี หนาทีอยางไร ่ ก. ชวยในการทรงตัว ข. แปลงคลื่นเสียงใหเปนเสียง ค. รับการสั่นสะเทือนของคลื่นเสียง ง. ขยายคลื่นเสียงใหมีความเขมขึ้น ขอที่ 5) อวัยวะในขอใด ที่ชวยควบคุมการทรงตัว  ก. เยื่อแกวหู ข. กระดูกคอน ค. กระดูกโกลน ง. คอเคลีย ขอที่ 6) ถาเราใชไมเคาะขวดแกวเปลา แลวคอย ๆ เติมน้ําลงในขวด แลวเคาะไปเรื่อย ๆ เสียงที่ได ยินจะเปลี่ยนแปลงอยางไร ก. เสียงจะคอย ๆ ต่ําลง ข. เสียงจะคอย ๆ สูงขึ้น ค. เสียงจะคอย ๆ ดังขึ้น ง. เสียงจะคอย ๆ เบาลง ขอที่ 7) สิ่งใดที่ทําใหมนุษยเราเปลงเสียงได ก. ลิ้นไก ข. ริมฝปาก ค. เสนเสียง ง. เพดานปาก ขอที่ 8) ระดับความดังของเสียงเทาไร จึงจัดเปนเสียงดัง ก. 50 เดซิเบล ข. 60 เดซิเบล ค. 70 เดซิเบล ง. 80 เดซิเบล ขอที่ 9) ระดับความดังของเสียงในขอใดทีคนเราสามารถทนฟงได ่ ก. ไมเกิน 60 เดซิเบล ข. ไมเกิน 80 เดซิเบล ค. ไมเกิน 100 เดซิเบล ง. ไมเกิน 120 เดซิเบล ขอที่ 10) ขอใด ไมใช องคประกอบที่ชวยในการไดยินเสียง ก. ตัวกลาง ข. ระยะทาง ค. อวัยวะรับเสียง ง. แหลงกําเนิดเสียง