SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 1
องค์ประกอบของดนตรีไทย
1. เสียงของดนตรีไทย ประกอบด้วยระดับเสียง7 เสียง แต่ละเสียงมีช่วงห่างเท่ากันทุกเสียง เสียงดนตรีไทย
แต่ละเสียงเรียกชื่อแตกต่างกันไปในดนตรีไทยเรียกระดับเสียงว่า“ทาง”
2. จังหวะของดนตรีไทย “จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดาเนินไปในช่วงของ
การบรรเลงเพลงอย่างสม่าเสมอ เป็นตัวกาหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการบรรเลงเพลง จังหวะของดนตรี
ไทยจาแนกได้ 3 ประเภท คือ
2.1. จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสาคัญในการบรรเลงและขับร้องโดย
ปกติจังหวะสามัญที่ใช้กัน ในวงดนตรีจะมี 3 ระดับ คือ
จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น
จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น
จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว
2.2 จังหวะฉิ่ง หมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่งเป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี“ฉิ่ง…ฉับ”
สลับกันไป ตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ “ฉิ่ง” ตลอดเพลง บางเพลงตี “ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้ง
เพลง หรืออาจจะตีแบบอื่นๆ ก็ได้จังหวะฉิ่งนี้นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะ
สามชั้น สองชั้น หรือ ชั้นเดียวก็ได้เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง หรือ ตีเร็ว
กระชั้นจังหวะ ในเพลงชั้นเดียว
2.3 จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรี ประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่ง
เลียนเสียงการตีมาจาก“ทับ” เป็นเครื่องกาหนดจังหวะเครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ตะโพน กลองแขก สองหน้า
โทน - รามะนา หน้าทับ
3. ทานองดนตรีไทย คือลักษณะทานองเพลงที่มีเสียงสูงๆ ต่าๆ สั้นๆ ยาวๆ สลับ คละเคล้ากันไป ตาม
จินตนาการของคีตกวีที่ประพันธ์บทเพลงซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ เหมือนกันทุกชาติภาษาจะมีความแตกต่างกันตรง
ลักษณะประจาชาติที่มีพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรมไม่เหมือนกัน เช่น เพลงของอเมริกัน อินโดนีเซีย อินเดีย จีน
ไทย ย่อมมีโครงสร้างของทานองที่แตกต่างกันทานองของดนตรีไทยประกอบด้วยระบบของเสียง การเคลื่อนที่
ของเสียง ความยาว ความกว้างของเสียง และระบบหลักเสียงเช่นเดียวกับทานองเพลงทั่วโลก
3.1 ทานองทางร้อง เป็นทานองที่ประดิษฐ์เอื้อนไปตามทานองบรรเลงของเครื่องดนตรี และมีบท
ร้องซึ่งเป็นบทร้อยกรอง ทานองทางร้องคลอเคล้าไปกับทานองทางรับหรือร้องอิสระได้การร้องนี้ต้องถือทานองเป็น
สาคัญ
3.2 ทานองการบรรเลง หรือทางรับ เป็นการบรรเลงของเครื่องดนตรีในวงดนตรี ซึ่งคีตกวีแต่ง
ทานองไว้สาหรับบรรเลง ทานองหลักเรียกลูกฆ้อง “Basic Melody” เดิม นิยมแต่งจากลูกฆ้องของฆ้องวงใหญ่ และ
แปรทางเป็นทางของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆดนตรีไทยนิยมบรรเลงเพลงในแต่ละท่อน 2 ครั้งซ้ากันภายหลังได้มีการ
แต่งทานองเพิ่มใช้บรรเลงในเที่ยวที่สองแตกต่างไปจากเที่ยวแรกเรียกว่า “ทางเปลี่ยน”
องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 2
4. การประสานเสียง หมายถึง การทาเสียงดนตรีพร้อมกัน2 เสียง พร้อมกันเป็นคู่ขนานหรือเหลื่อมล้ากัน
ตามลีลาเพลงก็ได้
4.1 การประสานเสียงในเครื่องดนตรีเดียวกันเครื่องดนตรีบางชนิดสามารถบรรเลงสอดเสียง พร้อม
กันได้ โดยเฉพาะทาเสียงขั้นคู่ (คู่2 คู่3 คู่4 คู่5 คู่6 และ คู่7)
4.2 การประสานเสียงระหว่างเครื่องดนตรี คือ การบรรเลงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีต่างชนิดกัน
สุ้มเสียง และความรู้สึกของเครื่องดนตรีเหล่านั้นก็ออกมาไม่เหมือนกันแม้ว่าจะบรรเลงเหมือนกันก็ตาม
4.3 การประสานเสียงโดยการทาทาง การแปรทานองหลักคือ ลูกฆ้อง “Basic Melody” ให้เป็น
ทานองของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเรียกว่า“การทาทาง” ทางของเครื่องดนตรี (ทานอง)แต่ละชนิดไม่เหมือนกันดังนั้น
เมื่อบรรเลงเป็นวงเครื่องดนตรีต่างเครื่องก็จะบรรเลงตามทางหรือทานองของตนโดยถือทานองหลักเป็นสาคัญ
ของ การบรรเลง
จังหวะในดนตรีไทย
“จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดาเนินไปในช่วงของการบรรเลงเพลงอย่าง
สม่าเสมอ เป็นตัวกาหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการบรรเลงเพลง จังหวะของดนตรีไทยจาแนกได้
3 ประเภทคือ
1. จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสาคัญในการบรรเลงและขับร้องโดยปกติ
จังหวะสามัญที่ใช้กัน ในวงดนตรีจะมี 3 ระดับ คือ
จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น
จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น
จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว
2. จังหวะฉิ่งหมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่ง เป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี“ฉิ่ง…ฉับ” สลับกันไป
ตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ “ฉิ่ง” ตลอดเพลง บางเพลงตี “ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้งเพลง หรือ
อาจจะตีแบบอื่นๆ ก็ได้จังหวะฉิ่งนี้นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะสาม
ชั้น สองชั้น หรือ ชั้นเดียวก็ได้เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง หรือ ตีเร็ว
กระชั้นจังหวะในเพลงชั้นเดียว
องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 3
การตีฉิ่งแบบธรรมดา
อัตราจังหวะ 3 ชั้น
- - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ - - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ
อัตราจังหวะ 2 ชั้น
- - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ
อัตราจังหวะชั้นเดียว
- ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ -ฉิ่ง - ฉับ
การตีฉิ่งแบบพิเศษ
การตีฉิ่งแบบฉิ่งตัดเช่น ในเพลงชมตลาด
- - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉับ
การตีฉิ่งในเพลงสาเนียงจีน
- - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉับ
การตีฉิ่งแบบ“ฉิ่ง” อย่างเดียว เช่น เพลงสาธุการ เพลงเชิด เพลงกราวใน เป็นต้น
- - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง
การตีฉิ่งแบบ“ฉับ” อย่างเดียว เช่น เพลงเชิดจีน เป็นต้น
- - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ
3. จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรี ประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่งเลียนเสียง
การตีมาจาก“ทับ” เป็นเครื่องกาหนดจังหวะ เครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ตะโพน กลองแขกสองหน้า โทน - รามะนา
หน้าทับ
องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 4
หน้าทับปรบไก่
3 ชั้น
- - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - - - - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ
- ติง - ติง - ทั่งติงทั่ง ติงทั่ง - ติง - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง
2 ชั้น
- - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง
ชั้นเดียว
- - ติง ทั่ง - ติง - - ติง ทั่ง - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง
หน้าทับสองไม้
3 ชั้น
- - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง– ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง– ติง - ทั่ง ติง ทั่ง
2 ชั้น
(ติ้ง)- -โจ๊ะจ๊ะ ติงติง-ติง - - โจ๊ะ จ๊ะ ติงติง-ทั่ง
ชั้นเดียว
(ติ้ง)- -โจ๊ะจ๊ะ ติงติง-ทั่ง
หน้าทับเขมร
3 ชั้น
- - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง
- - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ
2 ชั้น
- - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ
องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2)
นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 5
ชั้นเดียว
- โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ
หน้าทับแขก
3 ชั้น
- - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - - - - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ
- - ติง ติง - - ทั่ง ทั่ง - - ทั่ง ทั่ง - - ติง ติง - - ติง ติง - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง
2 ชั้น
- - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง
ชั้นเดียว
- - โจ๊ะ จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง
หน้าทับลาว (2ชั้น)
- ติง - โจ๊ะ - ติง - ติง - - ติง ทั่ง - ติง - ทั่ง
หน้าทับมอญ (2ชั้น)
- - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - - ทั่ง ติง - - ทั่ง ติง
หน้าทับญวน (2ชั้น)
- - - - - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - ติง - ติง

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นโรงเรียนวัดทองทั่ว
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีTeach Singing
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติwaraporny
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสีพัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์Kruple Ratchanon
 

Tendances (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
แบบสำรวจข้อมูลแหล่งการเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
เพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลีเพลงหนูมาลี
เพลงหนูมาลี
 
สารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติสารคดีชีวประวัติ
สารคดีชีวประวัติ
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
สีและการผสมสี
สีและการผสมสีสีและการผสมสี
สีและการผสมสี
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)นาฏยศัพท์  และภาษาท่า  ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม 2 ปี 2557 (เผยแพร่)
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์เนื้อเพลง ดาวดึงส์
เนื้อเพลง ดาวดึงส์
 

En vedette

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 
выставка моя москва
выставка моя москвавыставка моя москва
выставка моя москваmsikanov
 
пряники
пряникипряники
пряникиtia20061
 
Questionnaire analysis
Questionnaire analysisQuestionnaire analysis
Questionnaire analysiszarif7861
 
DKK eksamens projekt
DKK eksamens projektDKK eksamens projekt
DKK eksamens projektLoni777
 
華藝世界美術資料庫2012
華藝世界美術資料庫2012華藝世界美術資料庫2012
華藝世界美術資料庫2012airiti-all
 
الفعل الماضي
الفعل الماضيالفعل الماضي
الفعل الماضيRayan Badr
 
4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)msikanov
 
Week 15 (2014) Interface and application programming
Week 15 (2014) Interface and application programmingWeek 15 (2014) Interface and application programming
Week 15 (2014) Interface and application programmingVaneza Caycho Ñuflo
 
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพพฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพอำนาจ ศรีทิม
 
CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)
CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)
CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)Kai Chew
 

En vedette (20)

เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1ใบความรู้ ที่ 1
ใบความรู้ ที่ 1
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
выставка моя москва
выставка моя москвавыставка моя москва
выставка моя москва
 
пряники
пряникипряники
пряники
 
Jre.word
Jre.wordJre.word
Jre.word
 
Questionnaire analysis
Questionnaire analysisQuestionnaire analysis
Questionnaire analysis
 
DKK eksamens projekt
DKK eksamens projektDKK eksamens projekt
DKK eksamens projekt
 
Gezondheidswetenschappen
GezondheidswetenschappenGezondheidswetenschappen
Gezondheidswetenschappen
 
華藝世界美術資料庫2012
華藝世界美術資料庫2012華藝世界美術資料庫2012
華藝世界美術資料庫2012
 
الفعل الماضي
الفعل الماضيالفعل الماضي
الفعل الماضي
 
4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)
 
Week 15 (2014) Interface and application programming
Week 15 (2014) Interface and application programmingWeek 15 (2014) Interface and application programming
Week 15 (2014) Interface and application programming
 
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพพฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม  จริยธรรม  และจรรยาบรรณวิชาชีพ
พฤติกรรมที่แสดงถึงความเป็นผู้มีวินัยคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
SUSANA MOLINA
SUSANA MOLINASUSANA MOLINA
SUSANA MOLINA
 
CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)
CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)
CloudStat Pitch Your Way to Silicon Valley (StartupMalaysia.org)
 
009.itsecurity bcp v1
009.itsecurity bcp v1009.itsecurity bcp v1
009.itsecurity bcp v1
 

Plus de อำนาจ ศรีทิม

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบอำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์อำนาจ ศรีทิม
 

Plus de อำนาจ ศรีทิม (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 5 การขัดและเคลือบผิวไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
ปกใช้ หน่วยที่ 3 แบบและการอ่านแบบ
 
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
ปกใช้ หน่วยที่ 2 เครื่องมือช่างไม้ครุภัณฑ์1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปกใช้ หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
คำอธิบายรายวิชางานไม้ครุภัณฑ์
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56

  • 1. องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 1 องค์ประกอบของดนตรีไทย 1. เสียงของดนตรีไทย ประกอบด้วยระดับเสียง7 เสียง แต่ละเสียงมีช่วงห่างเท่ากันทุกเสียง เสียงดนตรีไทย แต่ละเสียงเรียกชื่อแตกต่างกันไปในดนตรีไทยเรียกระดับเสียงว่า“ทาง” 2. จังหวะของดนตรีไทย “จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดาเนินไปในช่วงของ การบรรเลงเพลงอย่างสม่าเสมอ เป็นตัวกาหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการบรรเลงเพลง จังหวะของดนตรี ไทยจาแนกได้ 3 ประเภท คือ 2.1. จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสาคัญในการบรรเลงและขับร้องโดย ปกติจังหวะสามัญที่ใช้กัน ในวงดนตรีจะมี 3 ระดับ คือ จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว 2.2 จังหวะฉิ่ง หมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่งเป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี“ฉิ่ง…ฉับ” สลับกันไป ตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ “ฉิ่ง” ตลอดเพลง บางเพลงตี “ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้ง เพลง หรืออาจจะตีแบบอื่นๆ ก็ได้จังหวะฉิ่งนี้นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะ สามชั้น สองชั้น หรือ ชั้นเดียวก็ได้เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง หรือ ตีเร็ว กระชั้นจังหวะ ในเพลงชั้นเดียว 2.3 จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรี ประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่ง เลียนเสียงการตีมาจาก“ทับ” เป็นเครื่องกาหนดจังหวะเครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ตะโพน กลองแขก สองหน้า โทน - รามะนา หน้าทับ 3. ทานองดนตรีไทย คือลักษณะทานองเพลงที่มีเสียงสูงๆ ต่าๆ สั้นๆ ยาวๆ สลับ คละเคล้ากันไป ตาม จินตนาการของคีตกวีที่ประพันธ์บทเพลงซึ่งลักษณะดังกล่าวนี้ เหมือนกันทุกชาติภาษาจะมีความแตกต่างกันตรง ลักษณะประจาชาติที่มีพื้นฐานทางสังคม วัฒนธรรมไม่เหมือนกัน เช่น เพลงของอเมริกัน อินโดนีเซีย อินเดีย จีน ไทย ย่อมมีโครงสร้างของทานองที่แตกต่างกันทานองของดนตรีไทยประกอบด้วยระบบของเสียง การเคลื่อนที่ ของเสียง ความยาว ความกว้างของเสียง และระบบหลักเสียงเช่นเดียวกับทานองเพลงทั่วโลก 3.1 ทานองทางร้อง เป็นทานองที่ประดิษฐ์เอื้อนไปตามทานองบรรเลงของเครื่องดนตรี และมีบท ร้องซึ่งเป็นบทร้อยกรอง ทานองทางร้องคลอเคล้าไปกับทานองทางรับหรือร้องอิสระได้การร้องนี้ต้องถือทานองเป็น สาคัญ 3.2 ทานองการบรรเลง หรือทางรับ เป็นการบรรเลงของเครื่องดนตรีในวงดนตรี ซึ่งคีตกวีแต่ง ทานองไว้สาหรับบรรเลง ทานองหลักเรียกลูกฆ้อง “Basic Melody” เดิม นิยมแต่งจากลูกฆ้องของฆ้องวงใหญ่ และ แปรทางเป็นทางของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆดนตรีไทยนิยมบรรเลงเพลงในแต่ละท่อน 2 ครั้งซ้ากันภายหลังได้มีการ แต่งทานองเพิ่มใช้บรรเลงในเที่ยวที่สองแตกต่างไปจากเที่ยวแรกเรียกว่า “ทางเปลี่ยน”
  • 2. องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 2 4. การประสานเสียง หมายถึง การทาเสียงดนตรีพร้อมกัน2 เสียง พร้อมกันเป็นคู่ขนานหรือเหลื่อมล้ากัน ตามลีลาเพลงก็ได้ 4.1 การประสานเสียงในเครื่องดนตรีเดียวกันเครื่องดนตรีบางชนิดสามารถบรรเลงสอดเสียง พร้อม กันได้ โดยเฉพาะทาเสียงขั้นคู่ (คู่2 คู่3 คู่4 คู่5 คู่6 และ คู่7) 4.2 การประสานเสียงระหว่างเครื่องดนตรี คือ การบรรเลงดนตรีด้วยเครื่องดนตรีต่างชนิดกัน สุ้มเสียง และความรู้สึกของเครื่องดนตรีเหล่านั้นก็ออกมาไม่เหมือนกันแม้ว่าจะบรรเลงเหมือนกันก็ตาม 4.3 การประสานเสียงโดยการทาทาง การแปรทานองหลักคือ ลูกฆ้อง “Basic Melody” ให้เป็น ทานองของเครื่องดนตรีแต่ละชนิดเรียกว่า“การทาทาง” ทางของเครื่องดนตรี (ทานอง)แต่ละชนิดไม่เหมือนกันดังนั้น เมื่อบรรเลงเป็นวงเครื่องดนตรีต่างเครื่องก็จะบรรเลงตามทางหรือทานองของตนโดยถือทานองหลักเป็นสาคัญ ของ การบรรเลง จังหวะในดนตรีไทย “จังหวะ” มีความหมายถึงมาตราส่วนของระบบดนตรีที่ดาเนินไปในช่วงของการบรรเลงเพลงอย่าง สม่าเสมอ เป็นตัวกาหนดให้ผู้บรรเลงจะต้องใช้เป็นหลักในการบรรเลงเพลง จังหวะของดนตรีไทยจาแนกได้ 3 ประเภทคือ 1. จังหวะสามัญ หมายถึงจังหวะทั่วไปที่นักดนตรียึดเป็นหลักสาคัญในการบรรเลงและขับร้องโดยปกติ จังหวะสามัญที่ใช้กัน ในวงดนตรีจะมี 3 ระดับ คือ จังหวะช้า ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สามชั้น จังหวะปานกลาง ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ สองชั้น จังหวะเร็ว ใช้กับเพลงที่มีอัตราจังหวะ ชั้นเดียว 2. จังหวะฉิ่งหมายถึง จังหวะที่ใช้ฉิ่ง เป็นหลักในการตี โดยปกติจังหวะฉิ่งจะตี“ฉิ่ง…ฉับ” สลับกันไป ตลอดทั้งเพลง แต่จะมีเพลงบางประเภทตีเฉพาะ “ฉิ่ง” ตลอดเพลง บางเพลงตี “ฉิ่ง ฉิ่ง ฉับ” ตลอดทั้งเพลง หรือ อาจจะตีแบบอื่นๆ ก็ได้จังหวะฉิ่งนี้นักฟังเพลงจะใช้เป็นแนวในการพิจารณาว่าช่วงใดเป็นอัตราจังหวะสาม ชั้น สองชั้น หรือ ชั้นเดียวก็ได้เพราะฉิ่งจะตีเพลงสามชั้นให้มีช่วงห่างตามอัตราจังหวะของเพลง หรือ ตีเร็ว กระชั้นจังหวะในเพลงชั้นเดียว
  • 3. องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 3 การตีฉิ่งแบบธรรมดา อัตราจังหวะ 3 ชั้น - - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ - - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ อัตราจังหวะ 2 ชั้น - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - ฉิ่ง - - - ฉับ อัตราจังหวะชั้นเดียว - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ - ฉิ่ง - ฉับ -ฉิ่ง - ฉับ การตีฉิ่งแบบพิเศษ การตีฉิ่งแบบฉิ่งตัดเช่น ในเพลงชมตลาด - - - - - - - ฉิ่ง - - - - - - - ฉับ - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉับ การตีฉิ่งในเพลงสาเนียงจีน - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉับ - - - - - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉับ การตีฉิ่งแบบ“ฉิ่ง” อย่างเดียว เช่น เพลงสาธุการ เพลงเชิด เพลงกราวใน เป็นต้น - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง - - - ฉิ่ง การตีฉิ่งแบบ“ฉับ” อย่างเดียว เช่น เพลงเชิดจีน เป็นต้น - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ - - - ฉับ 3. จังหวะหน้าทับ หมายถึงเกณฑ์การนับจังหวะที่ใช้เครื่องดนตรี ประเภทเครื่องตีประเภทหนังซึ่งเลียนเสียง การตีมาจาก“ทับ” เป็นเครื่องกาหนดจังหวะ เครื่องดนตรีเหล่านี้ ได้แก่ ตะโพน กลองแขกสองหน้า โทน - รามะนา หน้าทับ
  • 4. องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 4 หน้าทับปรบไก่ 3 ชั้น - - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - - - - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง - ติง - ทั่งติงทั่ง ติงทั่ง - ติง - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง 2 ชั้น - - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง ชั้นเดียว - - ติง ทั่ง - ติง - - ติง ทั่ง - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง หน้าทับสองไม้ 3 ชั้น - - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง– ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง– ติง - ทั่ง ติง ทั่ง 2 ชั้น (ติ้ง)- -โจ๊ะจ๊ะ ติงติง-ติง - - โจ๊ะ จ๊ะ ติงติง-ทั่ง ชั้นเดียว (ติ้ง)- -โจ๊ะจ๊ะ ติงติง-ทั่ง หน้าทับเขมร 3 ชั้น - - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ 2 ชั้น - - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ
  • 5. องค์ประกอบของดนตรีไทย (ดนตรี – นาฎศิลป์ ม.2) นายอานาจ ศรีทิม ครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สพม.เขต 41 หน้า 5 ชั้นเดียว - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - โจ๊ะ - จ๊ะ หน้าทับแขก 3 ชั้น - - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - - - - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - ติง ติง - - ทั่ง ทั่ง - - ทั่ง ทั่ง - - ติง ติง - - ติง ติง - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง 2 ชั้น - - ทั่ง ติง ทั่งติงโจ๊ะจ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - - โจ๊ะ จ๊ะ - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง ชั้นเดียว - - โจ๊ะ จ๊ะ - โจ๊ะ - จ๊ะ - ติง - ทั่ง ติง ทั่ง - ติง หน้าทับลาว (2ชั้น) - ติง - โจ๊ะ - ติง - ติง - - ติง ทั่ง - ติง - ทั่ง หน้าทับมอญ (2ชั้น) - - - - - โจ๊ะ - จ๊ะ - - ทั่ง ติง - - ทั่ง ติง หน้าทับญวน (2ชั้น) - - - - - ติง - ทั่ง - ติง - ทั่ง - ติง - ติง