SlideShare a Scribd company logo
1 of 88
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน
เล่มที่ 4 เรื่อง การเข้าไม้
อานาจ ศรีทิม
ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ
โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
คานา
ในปัจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง
ให้มากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ อยู่เสมอ ดังนั้นการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน
เป็นแนวทางหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าและสามารถเรียนรู้หาคาตอบได้ด้วยตนเอง
ผู้เขียนจึงได้ดาเนินการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ราย วิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 6 เล่ม เป็นเอกสารที่ผู้เขียนดาเนินการสร้างตรงตาม หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียนได้ค้นคว้า รวบรวม เนื้อหา ความรู้จากตาราและ
แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการปฏิบัติจริง
ที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ประ กอบด้วย
เนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าไม้แบบต่าง ๆ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนที่จัดทาเล่มนี้
สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพต่อไป นอกจากนั้นครูอาจารย์ที่สนใจสามารถ
ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดมุ่ งหมายของหลักสูตร
อย่างมีประสิทธิภาพ
ขอขอบคุณ นายธวัชชัย เทศขา ผู้อานวยการโรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ นายอาวุธ เพ็งแตง
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นายอภิรัฐ จันดาหาญ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนตะพานหิน นางกมลรัตน์ มีไ ชโย ครูชานาญการพิเศษ นางธันยพร เขียวเขิน
ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ และนางศิริพร ภู่ดี ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนบ้านหนองหูช้าง ที่ได้กรุณาตรวจสอบเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะ
ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้
อานาจ ศรีทิม
สารบัญ
หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
จุดประสงค์การเรียนรู้ ง
คาชี้แจง จ
กระดาษคาตอบ ฉ
แบบทดสอบก่อนเรียน ช
เรื่องที่ 1 การเพลาะไม้ 1
- กิจกรรมที่ 1 6
เรื่องที่ 2 การเข้าไม้แบบการเข้าชน 8
- กิจกรรมที่ 2 12
เรื่องที่ 3 การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า 14
- กิจกรรมที่ 3 21
เรื่องที่ 4 การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น 23
- กิจกรรมที่ 4 30
เรื่องที่ 5 การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ 32
- กิจกรรมที่ 5 37
เรื่องที่ 6 การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ 39
- กิจกรรมที่ 6 46
เรื่องที่ 7 การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย 48
- กิจกรรมที่ 7 56
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
แบบทดสอบหลังเรียน 58
ภาคผนวก 61
- เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 62
- เฉลยกิจกรรมที่ 1 63
- เฉลยกิจกรรมที่ 2 65
- เฉลยกิจกรรมที่ 3 67
- เฉลยกิจกรรมที่ 4 69
- เฉลยกิจกรรมที่ 5 71
- เฉลยกิจกรรมที่ 6 73
- เฉลยกิจกรรมที่ 7 75
- เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 77
บรรณานุกรม 78
จุดประสงค์การเรียนรู้
หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่อง การเข้าไม้
แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้
1. นักเรียนสามารถอธิบายเครื่องมือที่ใช้ในการเข้าไม้แต่ละประเภทได้
2. นักเรียนสามารถจัดลาดับขั้นตอนการเข้าไม้แบบต่าง ๆ ได้
3. สามารถเข้าไม้แบบต่าง ๆ ที่ใช้ในงานไม้ครุภัณฑ์ได้
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน
เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระการอาชีพ
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ เป็นเอกสารสาหรับนักเรียน เพื่อใช้ประกอบ
การเรียนรู้ และ ฝึกทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม โดยนักเรียนสามารถใช้เอกสารปร ะกอบการเรียน
ได้ด้วยตนเองตามลาดับดังนี้
1. ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อศึกษาจบแล้ว จะได้รับความรู้
อะไรบ้าง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน
3. ให้นักเรียนศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหา เรื่องที่ 1 การเพลาะไม้ เรื่องที่ 2 การเข้าไม้แบบ
การเข้าชน เรื่องที่ 3 การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า เรื่องที่ 4 การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น เรื่องที่ 5 การเข้า
ไม้แบบการเข้าปากกบ เรื่องที่ 6 การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ และเรื่องที่ 7 การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย
4. ทากิจกรรมตามที่กาหนดให้ด้วยตนเอง ถ้าทาไม่ได้ หรือสงสัยให้อ่านทบทวนเนื้อหาใหม่
5. ตรวจคาตอบกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 7 จากเฉลยในส่วนของภาคผนวก
6. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ
7. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยในส่วนของ
ภาคผนวก
8. สรุปคะแนนในแบบสรุปผลการเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เล่มที่ 4 เรื่องการเข้าไม้
ชื่อ ................................................................................................................ เลขที่ .............................
แบบทดสอบก่อนเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรุปผลการเรียน
คะแนนเต็ม คะแนน
แบบทดสอบก่อนเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
แบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ์การประเมิน
80 - 100 % = ดีมาก
70 – 79 % = ดี
60 - 69 % = พอใช้
0 - 59 % = ควรปรับปรุง
กระดาษคาตอบ
คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ
1. ข้อใดคือความหมายของการเข้าไม้
ก. การต่อไม้
ข. การตอกตะปู
ค. การนาไม้มาประกอบเข้าด้วยกัน
ง. การตัดไม้
2. ประโยชน์ของการเพลาะไม้คืออะไร
ก. ได้ไม้ขนาดยาวขึ้น
ข. ได้ไม้ขนาดกว้างขึ้น
ค. ได้ไม้หลายชิ้น
ง. ได้ไม้เรียบเนียน
3. แม่แรงเป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดกับการเข้าไม้แบบใด
ก. การเพลาะไม้
ข. การเข้าทาบ
ค. การเข้าเดือย
ง. การเข้าบ่า
4. การนาไม้ท่อนหนึ่งฝังเข้าไปในร่องของไม้อีกท่อน เรียกการเข้าไม้แบบใด
ก. การเพลาะไม้
ข. การเข้าทาบ
ค. การเข้าลิ้น
ง. การเข้าบ่า
แบบทดสอบก่อนเรียน
รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องการเข้าไม้
5. จากแบบที่กาหนดให้ คือแบบการเข้าไม้แบบใด
ก. การเพลาะไม้
ข. การเข้าทาบ
ค. การเข้าลิ้น
ง. การเข้าบ่า
6. ตัดปลายไม้เป็นมุม 45 องศา เครื่องมือที่ใช้วัดมุม คือเครื่องมือใด
ก. สิ่ว
ข. ไม้บรรทัด
ค. ตลับเมตร
ง. ฉากลอง
7. บากไม้ลงไปครึ่งหนึ่งของความหนาของเนื้อไม้ทั้งสองท่อน แล้วนาไม้สองท่อนอัด
เข้าด้วยกัน เป็นการเข้าไม้แบบใด
ก. การเพลาะไม้
ข. การเข้าทาบ
ค. การเข้าลิ้น
ง. การเข้าบ่า
8. การเข้าไม้แบบใดคือว่าดีที่สุดและแข็งแรงที่สุด
ก. การเข้าเดือย
ข. การเข้าบ่า
ค. การปากกบ
ง. การเข้าชน
ไม้แผ่นที่ 1
ไม้แผ่นที่ 2
9. การทดสอบความพอดีของการเข้าไม้จะทาในขั้นตอนใด
ก. หลังการเตรียมแบบ
ข. ก่อนการตัดไม้
ค. ก่อนการประกอบชิ้นงาน
ง. หลังจากประกอบชิ้นงาน
10. การผลิตชิ้นงานไม้ครุภัณฑ์จะใช้การเข้าไม้แบบใด เพราะเหตุใด
ก. การเข้าเดือย เพราะถือว่าเป็นการเข้าไม้ที่ดีที่สุด
ข. การเข้าชน เพราะเป็นการเข้าไม้ที่ง่ายที่สุด ประหยัดเวลา
ค. การเข้าลิ้น เพราะบากไม้แค่ชิ้นเดียว เอาไม้อีกชิ้นมาเข้าในร่องบากก็เสร็จ
ง. ทุกชนิดของการเข้าไม้ ขึ้นอยู่กับชิ้นที่ทา เพราะการเข้าไม้แต่ละอย่าง
มีข้อดีข้อเสียต่างกัน
**********************
เรื่องที่ 1
การเพลาะไม้
การเข้าไม้
การเข้าไม้ หมายถึง การนาไม้มาประกอบเข้าด้วยกัน ทาให้เกิดเป็นมุมหรือรูปร่างต่าง ๆ
เพื่อสนองความต้องการในการใช้งาน ส่วนใหญ่จะได้แก่งานทาเครื่องเรือนต่าง ๆ
การเข้าไม้ที่ใช้กันทั่วไปมีมากมายหลายแบบ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการที่คล้ายคลึงกัน แต่แบบ
ที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจนและเป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่
การเพลาะไม้
การเพลาะไม้ คือการเอาแผ่นไม้มาวางเรียงแล้วอัดเข้าด้วยกันให้แผ่นใหญ่ขึ้น การเพลาะไม้
นิยมใช้กับการทาพื้นโต๊ะ พื้นเก้าอี้ พื้นบ้าน หรือผนังเครื่องเรือน ที่ต้องการพื้นที่กว้าง ๆ
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
แม่แรง
ค้อน
เลื่อยลันดา
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ตะปู
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท
ให้จัดการแก้ไข
2.2 แม่แรงทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก เวลายกหรือเคลื่อนย้ายต้องใช้ความระมัดระวัง
ควรถือจับให้แน่น
2.3 เวลาบีบอัดไม้ ควรล็อคหน้าอัดตัวที่เลื่อนได้ให้แน่น เพื่อป้ องกันการลื่นไหล
ของชิ้นงานในขณะทางาน
2.4 ในขณะบีบอัด ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ
2.5 เวลาตอกตะปูควรจับตะปูและค้อนให้แน่น ป้ องกันไม่ให้ตะปูกระเด็นโดน
ผู้ปฏิบัติงาน
2.6 ไม่ควรนาตะปูใส่กระเป๋ าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะอาจทิ่มแทงผู้ใช้งาน
ได้รับบาดเจ็บได้
2.7 ไม่หยอกล้อหรือเล่นกันขณะปฏิบัติงาน อาจก่อให้เกิดอันตรายได้
3. แบบการเพลาะไม้
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 เตรียมไม้แผ่นทั้งหมดที่ต้องการเพลาะเข้าด้วยกัน (ไม้ 2 แผ่น) จากนั้นแต่งขอบไม้
แต่ละแผ่นให้เรียบตรงและได้ฉาก เพื่อที่จะเพลาะเข้ากันได้สนิท ไม้ที่จะนามาเพลาะต้องแห้งสนิท
ไม่บิดงอ
4.2 ทดลองวางเรียงไม้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน แล้วจัดหรือสลับแผ่นไม้ เพื่อให้ขอบไม้
เข้ากันได้สนิท จัดวางลายไม้ให้ไปในทิศทางเดียวกัน เขียนหมายเลขเรียงตามลาดับไว้
4.3 ตีตะปูยึดไม้ แผ่นแรกเข้ากับคานไม้
ไม้แผ่นที่ 1 ไม้แผ่นที่ 2
4.4 นาไม้แผ่นที่ 2 มาวางเรียงต่อไม้แผ่นที่ 1 ยึดอัดด้วยแม่แรงให้สนิทพอประมาณ
และตอกยึดไม้แผ่นที่ 2 กับคาน (ถ้าต้องการเพลาะไม้หลายแผ่นก็ทาในลักษณะเดียวกัน คือนาไม้มา
วางเรียงกันตามลาดับหมายเลขไปเรื่อย ๆ และตอกยึดด้วยตะปู)
4.5 ตัดแต่งขอบไม้แต่ละแผ่นให้เรียบเสมอกันด้วยเลื่อยลันดา
4.6 ชิ้นงานสาเร็จ
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง การเพลาะไม้
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน )
เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการเพลาะไม้
การเพลาะไม้
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเพลาะไม้ ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น
(20 คะแนน)
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ
ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
5 4 3 2 1
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เทคนิค
วิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เหมาะสม
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสมแต่
น่าสนใจเป็น
บางส่วน
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสม
แต่ไม่ค่อย
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
บางส่วน
สมบูรณ์แต่ไม่
ค่อยน่าสนใจ
เทคนิค
วิธีการไม่
ถูกต้อง
ประณีต
สวยงาม
ผลงาน
ประณีต
และสวยงาม
ผลงานประณีต
แต่ไม่ค่อย
สวยงาม
ผลงานไม่ค่อย
ประณีต แต่มี
ความสวยงามบ้าง
เล็กน้อย
ผลงานไม่ค่อย
ประณีตไม่
สวยงาม
ผลงานไม่
เสร็จ
สมบูรณ์
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงาน
มีความ
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงานค่อนข้าง
สะอาดเรียบร้อย
ผลงานมีความ
เรียบร้อย แต่ไม่
ค่อยสะอาด
ผลงานไม่
สะอาดและไม่
เรียบร้อยเป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานไม่
สะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งผลงาน
ตามกาหนด
ผลงานเสร็จ
ตามเวลา
ที่กาหนด
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนด 1 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
2 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่
กาหนด 3 วัน
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนดเกิน
3 วัน
เรื่องที่ 2
การเข้าไม้แบบการเข้าชน
การเข้าไม้แบบการเข้าชน
การเข้าชนเป็นการเข้าไม้ที่ง่ายที่สุด ด้วยการนาเอาปลายไม้ของไม้แผ่นหนึ่งชนเข้ากับหน้าไม้
หรือขอบของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วจึงทาการยึดด้วยตะปูหรือตะปูเกลียว จะทาให้รอยต่อแข็งแรงดียิ่งขึ้น
การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้ในการทาเครื่องเรือนราคาถูก เช่น ทากล่อง หีบ ลิ้นชักโต๊ะ หรือตู้ เก้าอี้
หรือโครงเครื่องเรือน เป็นต้น
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ค้อน
ปากกาหัวโต๊ะ
ตะปู
ดินสอ
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ
2.2 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน
การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก
2.3 ในขณะบีบอัด ไม่ควรใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ
2.4 เวลาตอกตะปูควรจับตะปูและค้อนให้แน่น ป้ องกันไม่ให้ตะปูกระเด็นโดน
ผู้ปฏิบัติงาน
2.5 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน เพราะตะปูเป็นของแหลมคม อาจทาให้เกิด
อุบัติเหตุ
2.6 ไม่ควรนาตะปูใส่กระเป๋ าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะอาจทิ่มแทงผู้ใช้งาน
ได้รับบาดเจ็บ
2.7 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่ม
แทงร่างกายได้
2.8 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ
นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดยรับอันตรายได้
2.9 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าชน
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความยาว ความหนา และความยาว
ของปลายไม้ที่ตัดต้องได้ฉากจริงๆ
4.2 วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 1 ลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 2 โดยให้ขอบ
ด้านนอกเสมอกับด้านหัวของไม้ชิ้นล่าง จากนั้นใช้ดินสอขีดไปตามขอบด้านในของไม้ชิ้นที่ 2
ไม้ชิ้นที่ 1
ไม้ชิ้นที่ 2
4.3 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบจับไม้ชิ้นที่ 1 จากนั้นนาไม้ชิ้นที่ 2 มาวางให้อยู่ตรง
ตาแหน่งเดิม โดยอาศัยรอยดินสอที่ขีดไว้ในข้อ 4.2 แล้วยึดติดด้วยตะปู
4.4 ชิ้นงานสาเร็จ
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าชน
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน )
เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าชน
การเข้าชน
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าชน ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น
(20 คะแนน)
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ
ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
5 4 3 2 1
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เทคนิค
วิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เหมาะสม
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสมแต่
น่าสนใจเป็น
บางส่วน
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสม
แต่ไม่ค่อย
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
บางส่วน
สมบูรณ์แต่ไม่
ค่อยน่าสนใจ
เทคนิค
วิธีการไม่
ถูกต้อง
ประณีต
สวยงาม
ผลงาน
ประณีต
และสวยงาม
ผลงานประณีต
แต่ไม่ค่อย
สวยงาม
ผลงานไม่ค่อย
ประณีต แต่มี
ความสวยงามบ้าง
เล็กน้อย
ผลงานไม่ค่อย
ประณีตไม่
สวยงาม
ผลงานไม่
เสร็จ
สมบูรณ์
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงาน
มีความ
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงานค่อนข้าง
สะอาดเรียบร้อย
ผลงานมีความ
เรียบร้อย แต่ไม่
ค่อยสะอาด
ผลงานไม่
สะอาดและไม่
เรียบร้อยเป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานไม่
สะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งผลงาน
ตามกาหนด
ผลงานเสร็จ
ตามเวลา
ที่กาหนด
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนด 1 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
2 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่
กาหนด 3 วัน
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนดเกิน
3 วัน
เรื่องที่ 3
การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า
การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า
การเข้าบ่าเป็นการเข้าไม้โดยการเอาปลายหรือหัวไม้ของไม้แผ่นหนึ่งลงไปในร่อง ที่ปลายหรือ
หัวไม้ซึ่งบากเอาไว้ของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วยึดตรึงด้วยตะปูหรือตะปูเกลียว ร่องที่บากควรจะลึก
ประมาณ 1 ใน 2 ถึง 2 ใน 3 ของความหนาของไม้ การเข้าไม้แบบนี้จะแข็งแรงกว่าการเข้าชน
ในปัจจุบันนิยมใช้มากกับการเข้ามุมเครื่องเรือนต่าง ๆ ทาลิ้นชักโต๊ะ และกล่องอย่างง่าย ๆ
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
เลือยรอ
ค้อน
ค้อนไม้
สิ่ว
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ขอขีดไม้
ฉากลอง
ปากกาหัวโต๊ะ
ตะไบ
ดินสอ
ตะปู 2 นิ้ว
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท
ให้จัดการแก้ไข
2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้ง ทั้งค้อนหงอนและค้อนไม้
2.3 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป
ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู
2.4 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง
เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย ทาให้เกิดอันตรายได้
2.5 ตัวขอขีดไม้เป็นเครื่องมือที่ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาด
โดนร่างกายอาจบาดเจ็บได้ หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้
2.6 ฉากลองทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
2.7 ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น
2.8 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ
2.9 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน
การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก
2.10 ในขณะบีบอัด ไม่ควรใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงกันอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บได้
2.11 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่ม
แทงร่างกายได้
2.12 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ
นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกาย
2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน
2.14 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว
2.15 จับด้ามค้อนไม้บริเวณใกล้ๆ กับหัวค้อนด้วยมือข้างที่ถนัด ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง
จับด้ามสิ่วในตาแหน่งที่ต้องการจะตอก
2.16 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าบ่า
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 การร่างแบบ
4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว
ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริง ๆ
4.1.2 วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 1 ลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 2 โดยให้
ขอบด้านนอกเสมอกับด้านหัวของไม้ชิ้นล่าง จากนั้นใช้ดินสอขีดไปตามขอบด้านในของไม้ชิ้นที่ 2
ไม้แผ่นที่ 1 ไม้แผ่นที่ 2
4.1.3 ใช้ฉากลองเข้ากับหน้าไม้แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่อจากเส้นที่ขีด
ไว้แล้ว ตามข้อที่4.1.2 ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
4.1.4 ปรับขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้ใช้ขอขีด
ไม้ทาบเข้ากับหน้าไม้ แล้วลากขอไปตามหน้าไม้ จากเส้นที่ขีดไว้ ในข้อที่ 4.1.3 ไปหาหัวไม้ ก็จะได้
เส้นแสดงระดับลึกของบ่าตามต้องการ ให้ทาที่ไม้ทั้ง 2 ตัว
4.2 การตัดบ่า
4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ- จับ ไม้ที่ได้ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้ด้านที่
ร่างแบบอยู่ด้านบน ใช้เลือยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ ให้ตัดในเส้นส่วนที่จะตัดทิ้ง จนถึงระดับ
ความลึกที่กาหนด
4.2.2 คลายปากกาหัวโต๊ะ แล้วบีบจับชิ้นงานใหม่ในแนวตั้ง จากนั้นให้ใช้
เลือยรอ ตัดไปตามเส้นระดับความลึกที่ร่างไว้ ให้ตัดในเส้นส่วนที่จะตัดทิ้งเช่นกัน จนบรรจบกับรอย
ที่ตัดไว้ในข้อ 4.2.1 ก็จะทาให้ไม้ส่วนที่จะตัดทิ้งหลุด ก็จะได้บ่าตามที่ต้องการ
4.3 การทดสอบความพอดีของบ่า
4.3.1 ทดลองวางหัวไม้ชิ้นที่จะใช้ประกอบเข้าด้วยกันลงในบ่าที่ตัด
ตรวจความเรียบร้อย บ่าจะต้องเข้ากันสนิทและได้ฉาก
4.3.2 ถ้าประกอบเข้าไปแล้วยังไม่เรียบร้อย ก็ให้ใช้สิ่วแต่งบ่าให้พอดี
4.4 การประกอบชิ้นงาน
4.4.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะ บีบ – จับไม้ที่จะใช้ประกอบเข้าที่บ่า นาไม้ชิ้นที่ 2
มาวางบนบ่าและตอกตะปูยึด
4.5 ชิ้นงานสาเร็จ
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน )
เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าบ่า
การเข้าบ่า
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าบ่า ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น
(20 คะแนน)
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ
ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
5 4 3 2 1
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เทคนิค
วิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เหมาะสม
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสมแต่
น่าสนใจเป็น
บางส่วน
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสม
แต่ไม่ค่อย
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
บางส่วน
สมบูรณ์แต่ไม่
ค่อยน่าสนใจ
เทคนิค
วิธีการไม่
ถูกต้อง
ประณีต
สวยงาม
ผลงาน
ประณีต
และสวยงาม
ผลงานประณีต
แต่ไม่ค่อย
สวยงาม
ผลงานไม่ค่อย
ประณีต แต่มี
ความสวยงามบ้าง
เล็กน้อย
ผลงานไม่ค่อย
ประณีตไม่
สวยงาม
ผลงานไม่
เสร็จ
สมบูรณ์
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงาน
มีความ
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงานค่อนข้าง
สะอาดเรียบร้อย
ผลงานมีความ
เรียบร้อย แต่ไม่
ค่อยสะอาด
ผลงานไม่
สะอาดและไม่
เรียบร้อยเป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานไม่
สะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งผลงาน
ตามกาหนด
ผลงานเสร็จ
ตามเวลา
ที่กาหนด
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนด 1 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
2 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่
กาหนด 3 วัน
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนดเกิน
3 วัน
เรื่องที่ 4
การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น
การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น
การเข้าไม้แบบนี้เหมาะที่สุดกับการทาชั้นวางของ บันได ตู้ใส่หนังสือ เนื่องจากมีความแน่น
หนาและแข็งแรงดี โดยการนาเอาไม้แผ่นหนึ่งฝังเข้าไปในร่องของไม้อีกแผ่น ปลายของไม้ที่ฝังเข้าไป
อาจจะบากหรือ ไม่บากก็ได้ จากนั้นใช้ตะปูหรือตะปูเกลียวเป็น ตัวยึดตรึง ร่องที่เซาะควรจะลึก
ประมาณ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
เลือยรอ
ค้อน
ค้อนไม้
ขอขีดไม้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ฉาก
ปากกาหัวโต๊ะ
ตะไบ
สิ่ว
ดินสอ
ตะปู 2 นิ้ว
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท
ให้จัดการแก้ไข
2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้ง ทั้งค้อนหงอนและค้อนไม้
2.3 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป
ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู
2.4 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง
เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้
2.5 ตัวขอขีดไม้ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บ
หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้
2.6 ฉากลองทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
2.7 ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น
2.8 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ
2.9 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน
การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก
2.10 ในขณะบีบอัดไม้ ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ
2.11 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่ม
แทงร่างกายได้
2.12 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ
นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกาย
2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน
2.14 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว
2.15 จับด้ามค้อนไม้บริเวณใกล้ๆ กับหัวค้อนด้วยมือข้างที่ถนัด ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง
จับด้ามสิ่วในตาแหน่งที่ต้องการจะตอก
2.16 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น
ไม้ชิ้นที่ 1 ไม้ชิ้นที่ 2
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 การร่างแบบ
4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว
ปลายไม้ที่ตัดต้องได้ฉากจริงๆ
4.1.2 เพื่อกาหนดแนวในการตัดร่องลิ้น ให้ใช้ฉากลองทาบเข้ากับขอบไม้
ในตาแหน่งที่กาหนด จากนั้นใช้ดินสอขีดเส้นขวางกันหน้าไม้ ให้ขีดเพียงเส้นเดียว
4.1.3 วางหัวไม้ที่จะใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ให้ด้านหนึ่งทาบเข้ากับเส้น
ที่ขีดไว้ในข้อ 4.1.2 แล้วใช้ดินสอขีดเส้นอีกด้านหนึ่ง ก็จะได้ความกว้างของร่องลิ้นตามต้องการ
4.1.4 ใช้ฉากลองทาบกับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่อจากเส้น
ที่ขีดไว้ตามลาดับในข้อ 4.1.2 และ 4.1.3 ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
4.1.5 ปรับขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้
4.1.6 ใช้ขอขีดไม้ทาบเข้ากับหน้าไม้ จากนั้นลากขอขีดไม้ไปตามขอบไม้
ระหว่างเส้นที่ขีดในข้อ 4.1.4 ก็จะได้เส้นแสดงระดับความลึกของร่องลิ้นตามต้องการ ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
เช่นกัน
4.2 การตัดร่องลิ้น
4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับ ไม้ที่ได้ร่างแบบไว้แล้วโดยให้ด้านที่ร่างแบบ
อยู่ด้านบน
4.2.2 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ร่างไว้ ให้ตัดในเส้นส่วนที่จะตัดทิ้ง จนถึง
ระดับความลึกที่กาหนด ห้ามตัดพอดีเส้นหรือนอกเส้นโดยเด็ดขาด เพราะจะทาให้ร่องลิ้นกว้างไป
จะทาให้เมื่อประกอบไม้เข้าไปแล้วจะไม่แน่น
4.2.3 ใช้เลื่อยตัดหลาย ๆ แนว ให้ได้ระดับความลึกที่กาหนด
4.2.4 ใช้สิ่วทาการบากร่อง
4.2.5 ใช้ตะไบขัดร่องลิ้นให้เรียบ
4.3 การทดสอบความพอดีของร่องลิ้น
4.3.1 กดหัวไม้ที่ใช้ประกอบลงไปในร่องลิ้นที่ทาไว้ ร่องลิ้นที่พอดีจะต้อง
สามารถกดลงไปด้วยแรงกดจากมือ
4.3.2 ถ้าฝืดเกินไปให้ใช้สิ่วแต่งด้านข้างของร่องลิ้นจนพอดี
4.4 การประกอบชิ้นงาน
การประกอบชิ้นงานให้ใช้ตะปูตอกยึดชิ้นงาน
4.5 ชิ้นงานสาเร็จ
กิจกรรมที่ 4
เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน )
เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น
การเข้าลิ้น
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น
(20 คะแนน)
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ
ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
5 4 3 2 1
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เทคนิค
วิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เหมาะสม
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสมแต่
น่าสนใจเป็น
บางส่วน
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสม
แต่ไม่ค่อย
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
บางส่วน
สมบูรณ์แต่ไม่
ค่อยน่าสนใจ
เทคนิค
วิธีการไม่
ถูกต้อง
ประณีต
สวยงาม
ผลงาน
ประณีต
และสวยงาม
ผลงานประณีต
แต่ไม่ค่อย
สวยงาม
ผลงานไม่ค่อย
ประณีต แต่มี
ความสวยงามบ้าง
เล็กน้อย
ผลงานไม่ค่อย
ประณีตไม่
สวยงาม
ผลงานไม่
เสร็จ
สมบูรณ์
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงาน
มีความ
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงานค่อนข้าง
สะอาดเรียบร้อย
ผลงานมีความ
เรียบร้อย แต่ไม่
ค่อยสะอาด
ผลงานไม่
สะอาดและไม่
เรียบร้อยเป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานไม่
สะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งผลงาน
ตามกาหนด
ผลงานเสร็จ
ตามเวลา
ที่กาหนด
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนด 1 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
2 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่
กาหนด 3 วัน
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนดเกิน
3 วัน
เรื่องที่ 5
การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ
การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ
การเข้าไม้แบบปากกบเป็นการเข้าไม้เป็นมุมด้วยการตัดปลายไม้ที่จะนามาต่อเข้าด้วยกันให้ได้
มุมที่เท่ากันเสียก่อน แล้วจึงนามาประกอบเข้าด้วยกัน และใช้ตะปู ตะปูเกลียว หรือสลักไม้ยึดตรึง
ให้เกิดความแข็งแรง การเข้าไม้แบบที่นิยมใช้กันมากที่สุดจะตัดปลายไม้เป็นมุม 45 องศาเมื่อประกอบ
เข้าด้วยกันแล้วจะได้มุม 90 องศา พอดี การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้ทากรอบรูป ทากล่อง ทาวงกบประตู –
หน้าต่างหรือทาโครงเครื่องเรือน เป็นต้น
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
เลื่อยรอ
ค้อน
ฉาก
ปากกาหัวโต๊ะ
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ตะไบ
ดินสอ
ตะปู 2 นิ้ว
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท
ให้จัดการแก้ไข
2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้งเวลาตอกตะปูหรือถอนตะปู
2.3 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป
ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู
2.4 ฉากลองและบรรทัดเหล็กทาด้วยโลหะ มีความคม เวลาใช้งานต้องใช้
ด้วยความระมัดระวัง
2.5 ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น
2.6 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ
2.7 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน
การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก
2.8 ในขณะบีบอัด ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บได้
2.9 เนื่องจากดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
เพราะอาจทิ่มแทงร่างกายได้
2.10 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้ อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ
นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดยร่างกายได้
2.11 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน
2.12 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 การร่างแบบ
การร่างแบบ โดยกาหนดความยาวของไม้ที่จะตัดทาเครื่องหมายไว้ที่ขอบไม้ด้านนอก
ใช้ฉากทาบเข้าไปแล้วขีดเส้นขวางกับไม้ด้านนอกและหน้าไม้ทั้ง 2 ด้าน ที่เส้นมุมขอบไม้ด้านนอก
เท่ากับ 45 องศา
ไม้ชิ้นที่ 1 ไม้ชิ้นที่ 2
4.2 การตัดปากกบ
4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับ ชิ้นงานที่ได้ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้ด้าน
ที่ได้ร่างแบบไว้แล้วอยู่ด้านบน
4.2.2 ใช้เลื่อยรอเลื่อยไปตามเส้นร่างไว้ ให้ตัดในเส้นด้านที่จะตัดทิ้งจนขาด
ให้พลิกดูรอยด้านตรงข้ามด้วย จะต้องให้อยู่ในตาแหน่งหรือแนวเดียวกัน
4.2.3 ให้เลื่อยไม้ตามลาดับข้อ 4.2.1 และ 4.2.2 ที่ไม้ชิ้นที่ 2
4.3 การทดสอบความพอดีของปากกบ
การทดสอบความพอดีของปากกบ โดยวางไม้ทุกชิ้นลงบนพื้นราบ และทดลอง
ประกอบไม้ ที่ตัดเข้าด้วยกัน จากนั้นใช้ฉากทดสอบการได้ฉากที่มุมของปากไม้ที่ประกอบเข้าด้วยกัน
ถ้ามุมยังไม่ได้ฉากก็ใช้เลื่อยหรือกบไสตกแต่ง จนปากไม้เข้ากันได้สนิท
4.4 การประกอบชิ้นงาน
4.4.1 ตอกตะปูเข้าที่ปลายไม้ด้านหนึ่ง โดยตอกให้ปลายตะปูโผล่มาเล็กน้อย
ต้องกะให้พอดีเมื่อตอกตะปูจะฝังลงไปที่กึ่งกลางของปากไม้อีกชิ้นหนึ่งที่จะนามาชนเข้าด้วยกัน
4.4.2 จับไม้ในแนวตั้งด้วยปากกาหัวโต๊ะ จากนั้นทาบปากไม้ชิ้นที่ตอกตะปู
เข้าไปที่ปากไม้ชิ้นที่จับด้วยปากกา ให้ปากไม้ชิ้นที่ทาบลงไปยื่นเลยขอบของปากไม้ชิ้นที่จับด้วยปากกา
ขึ้นไปเล็กน้อย เพื่อที่เวลาตอกตะปูเข้าไปแล้ว ปากไม้จะเลื่อนลงมาพอดี
4.4.3 ตอกตะปูเข้าไปจนเรียบเสมอผิวไม้
4.5 ชิ้นงานสาเร็จ
กิจกรรมที่ 5
เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน )
เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ
การเข้าปากกบ
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น
(20 คะแนน)
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ
ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
5 4 3 2 1
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เทคนิค
วิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เหมาะสม
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสมแต่
น่าสนใจเป็น
บางส่วน
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสม
แต่ไม่ค่อย
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
บางส่วน
สมบูรณ์แต่ไม่
ค่อยน่าสนใจ
เทคนิค
วิธีการไม่
ถูกต้อง
ประณีต
สวยงาม
ผลงาน
ประณีต
และสวยงาม
ผลงานประณีต
แต่ไม่ค่อย
สวยงาม
ผลงานไม่ค่อย
ประณีต แต่มี
ความสวยงามบ้าง
เล็กน้อย
ผลงานไม่ค่อย
ประณีตไม่
สวยงาม
ผลงานไม่
เสร็จ
สมบูรณ์
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงาน
มีความ
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงานค่อนข้าง
สะอาดเรียบร้อย
ผลงานมีความ
เรียบร้อย แต่ไม่
ค่อยสะอาด
ผลงานไม่
สะอาดและไม่
เรียบร้อยเป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานไม่
สะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งผลงาน
ตามกาหนด
ผลงานเสร็จ
ตามเวลา
ที่กาหนด
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนด 1 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
2 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่
กาหนด 3 วัน
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนดเกิน
3 วัน
เรื่องที่ 6
การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ
การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ
การเข้าไม้แบบนี้ใช้เมื่อต้องการประกอบไม้สองตัวขวางกันเป็นมุมฉากหรือเป็นรูปกากบาท
โดยบากไม้ลงไปครึ่งหนึ่งของความหนาของเนื้อไม้ทั้งสองตัว แล้วนาไม้สองตัวอัดเข้าด้วยกัน จากนั้น
ยึดตรึงด้วยโลหะยึดตรึงหรือสลักไม้ เพื่อให้เกิดความแข็งแรง การเข้าไม้แบบนี้ใช้สาหรับการประกอบ
ขาโต๊ะ เก้าอี้ ทาวงกบ ประตู - หน้าต่าง
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
เลื่อยรอ
ค้อน
ค้อนไม้
ขอขีดไม้
บรรทัดเหล็ก
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ฉาก
ปากกาหัวโต๊ะ
ตะไบ
สิ่ว
ดินสอ
ตะปู 2 นิ้ว
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้ง ทั้งค้อนหงอนและค้อนไม้
2.2 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป
ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู
2.3 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง
เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้
2.4 ตัวขอขีดไม้ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บ
หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้
2.5 ฉากลองและบรรทัดเหล็กทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วย
ความระมัดระวัง
2.6 ห้ามโยนฉากลองให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุ
2.7 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ
2.8 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน
การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก
2.9 ในขณะบีบอัด ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงกันอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ
2.10 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง อาจทิ่มแทง
ร่างกายได้
2.11 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ
นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกายได้
2.12 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน
2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว
2.14 จับด้ามค้อนไม้บริเวณใกล้ๆ กับหัวค้อนด้วยมือข้างที่ถนัด ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง
จับด้ามสิ่วในตาแหน่งที่ต้องการจะตอก
2.15 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าทาบ
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 การร่างแบบ
4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว
ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริงๆ
4.1.2 วางไม้ทั้ง 2 ชิ้นชิดกันและหัวไม้เรียบเสมอกัน ลักษณะการวางไม้
จะต้องให้หน้าไม้ชิ้นหงายขึ้น และอีกชิ้นคว่าลง
4.1.3 จากหัวไม้ของไม้ชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ใช้บรรทัดเหล็กวัดระยะเข้าไปเท่ากับ
ความกว้างของหน้าไม้ จากจุดดังกล่าวให้ใช้ฉากลองทาบเข้ากับขอบไม้ แล้วใช้ดินสอขีดเส้นลงไป
บนหน้าไม้ทั้ง 2 ชิ้น
4.1.4 ใช้ฉากลองทาบเข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่อจากเส้น
ที่ขีดไว้แล้ว ในข้อ 4.1.3 ให้ทาทั้ง 2 ข้าง และทาทั้ง 2 ตัว
4.1.5 ปรับ – ตั้งขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้
ที่จะนามาต่อเข้าด้วยกัน จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นไปตามขอบไม้ จากเส้นที่ขีด
ไว้ในข้อ 4.1.4 จนถึงหัวไม้ ให้ทาทั้ง 2 ข้าง และทาทั้ง 2 ตัว
4.2 การตัดบ่าหรือตัดร่อง
4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับ ไม้ที่ได้ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้หัวไม้ตั้งขึ้น
4.2.2 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ โดยตัดในเส้น ด้านที่จะตัดทิ้ง
จนถึงระดับความลึกที่กาหนด
4.2.3 คลายปากกาหัวโต๊ะ แล้วบีบ – จับ ชิ้นงานใหม่ โดยให้ด้านหน้าไม้
หงายขึ้น
4.2.4 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ โดยตัดในเส้นด้านที่จะตัดทิ้ง
จนถึงระดับความลึกที่กาหนด การตัดในลักษณะนี้จะทาให้ไม้ส่วนที่จะตัดทิ้งหลุดออกไป
4.3 การทดสอบความพอดีของบ่าหรือร่องที่ตัด
4.3.1 ประกบส่วนที่เป็นบ่าของชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้นเข้าด้วยกัน แล้วตรวจดู
ความเรียบร้อย เช่น การได้ฉากระหว่างไม้ที่นามาต่อเข้าด้วยกัน ความเรียบเสมอกันของไม้ทั้ง 2 ชิ้น
4.3.2 ถ้าประกอบเข้าไปแล้วยังไม่เรียบร้อย ให้ใช้สิ่วแต่งบ่าจนพอดี
4.4 การประกอบชิ้นงาน
ประกบส่วนที่เป็นบ่าของชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้นเข้าด้วยกัน เมื่อเข้าที่แล้วจับยึดให้แน่น
จากนั้นตอกตะปู
4.5 ชิ้นงานสาเร็จ
กิจกรรมที่ 6
เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ
ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ ..................
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน )
เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน
ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าทาบ
การเข้าทาบ
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าทาบ ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น
(20 คะแนน)
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
ประเด็นการ
ประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน
5 4 3 2 1
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เทคนิค
วิธีการ
ถูกต้อง
สมบูรณ์
เหมาะสม
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสมแต่
น่าสนใจเป็น
บางส่วน
เทคนิควิธีการ
ถูกต้องสมบูรณ์
เหมาะสม
แต่ไม่ค่อย
น่าสนใจ
เทคนิควิธีการ
ถูกต้อง
บางส่วน
สมบูรณ์แต่ไม่
ค่อยน่าสนใจ
เทคนิค
วิธีการไม่
ถูกต้อง
ประณีต
สวยงาม
ผลงาน
ประณีต
และสวยงาม
ผลงานประณีต
แต่ไม่ค่อย
สวยงาม
ผลงานไม่ค่อย
ประณีต แต่มี
ความสวยงามบ้าง
เล็กน้อย
ผลงานไม่ค่อย
ประณีตไม่
สวยงาม
ผลงานไม่
เสร็จ
สมบูรณ์
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงาน
มีความ
สะอาด
เรียบร้อย
ผลงานค่อนข้าง
สะอาดเรียบร้อย
ผลงานมีความ
เรียบร้อย แต่ไม่
ค่อยสะอาด
ผลงานไม่
สะอาดและไม่
เรียบร้อยเป็น
ส่วนใหญ่
ผลงานไม่
สะอาดและ
ไม่เรียบร้อย
ส่งผลงาน
ตามกาหนด
ผลงานเสร็จ
ตามเวลา
ที่กาหนด
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนด 1 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่กาหนด
2 วัน
ผลงานเสร็จช้า
กว่าเวลาที่
กาหนด 3 วัน
ผลงานเสร็จ
ช้ากว่าเวลาที่
กาหนดเกิน
3 วัน
เรื่องที่ 7
การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย
การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย
การเข้าเดือย เป็นการเข้าไม้ที่ดีและแข็งแรงกว่าการเข้าไม้แบบอื่น ๆ ทั้งหมด โดยการบากไม้
ท่อนหนึ่งออกโดยรอบให้เหลือแต่แกนกลางที่ยื่นออกมาเรียกว่าเดือย ส่วนอีกท่อนจะถูกเจาะเป็น
ร่องเล็กเรียกว่ารูหรือร่องเดือย โดยมีขนาดความกว้าง ความลึก ให้พอดีกับขนาดของเดือย โดยทั่วไป
รูเดือยจะลึกประมาณ 2 ใน 3 ของความกว้างของหน้าไม้ เมื่ออัดเดือยเข้าไปในรูหรือร่องเดือยแล้ว
ให้ใช้ตะปูหรือสลักไม้ยึดให้แน่น การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้กับการทาเก้าอี้ โต๊ะและหีบชั้นดี
1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
เลือยรอ
ค้อนไม้
บรรทัดเหล็ก
ขอขีดไม้
ฉาก
วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
ปากกาหัวโต๊ะ
ตะไบ
สิ่ว
ดินสอ
กาว
ไม้
2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
2.1. ตรวจสภาพของค้อนไม้ก่อนใช้งาน
2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนไม้ให้แน่นทุกครั้ง ในขณะตอกสิ่ว
2.3 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง
เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้
2.4 ตัวขอขีดไม้ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บ
หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้
2.5 ฉากลองและบรรทัดเหล็กทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วย
ความระมัดระวัง
2.6 ห้ามโยนฉากลองให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุ
2.7 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ
2.8 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน
การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก
2.9 ในขณะบีบอัด ไม่ควรใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด
จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ
2.10 เนื่องจากดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
เพราะอาจทิ่มแทงร่างกาย
2.11 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืม พลาดหกล้มหรือ
นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกาย
2.12 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน
2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว
2.14 ควรใช้ไม้หรือแท่งพลาสติก ทากาวที่ชิ้นงาน แทนที่จะใช้มือโดยตรง
2.15 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน เพราะกาวอาจกระเด็นเข้าตาหรือปาก
ทาให้ได้รับอันตรายได้
2.16 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าเดือย
4. ขั้นตอนการทางาน
4.1 การร่างแบบเดือย
4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว
ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริงๆ
4.1.2 กาหนดความยาวของเดือย โดยการใช้บรรทัดเหล็กวัดระยะเข้าไปให้
เท่ากับ 2 ใน 3 เท่าของความกว้างของไม้ชิ้นที่หนาที่สุด จากจุดดังกล่าวใช้ฉากลองและดินสอขีดเส้น
ไปโดยรอบ
4.1.3 กาหนดแก้มเดือยส่วนที่บาก ด้วยการปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ให้เท่ากับ
1 ใน 2 ของความหนาของไม้ ลบด้วยความหนาของเดือยที่กาหนด จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหน้าไม้
แล้วขีดเส้นลงไปบนหัวไม้ด้านลึก ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
4.1.4 กาหนดบ่าเดือยส่วนที่จะบากทิ้ง ด้วยการปรับ – ตั้งขอขีดไม้ให้เท่ากับ
ความหนาของเดือย หรือเท่ากับ 1/2 นิ้ว จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับขอบไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบน
หัวไม้ด้านหนา ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
4.2 การร่างแบบร่องเดือย
4.2.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว
ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริงๆ
4.2.2 กาหนดตาแหน่งและขนาดร่องเดือย ด้วยการใช้ขอขีดไม้ดังนี้
- ปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ให้เท่ากับ ระยะบ่าเดือยบวกกับความกว้างของเดือย
จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหัวไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนขอบไม้ก็จะได้เส้นที่ 1
- ปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ให้เท่ากับระยะของบ่าเดือย จากนั้นทาบขอขีดไม้
เข้ากับหัวไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนขอบไม้ตัวเดิม ก็จะได้เส้นที่ 2
- ปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ เท่ากับระยะความหนาของแก้มเดือย บวกกับ
ความหนาของเดือย จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนขอบไม้ตามยาว ตัดกับ
เส้นที่ขีดไว้แล้วข้างต้น ให้ทาทั้ง 2 ข้าง ก็จะได้เส้นที่ 3 และ 4 และแบบของร่องเดือยตามต้องการ
4.3 การเจาะร่องเดือย
4.3.1 เลือกดอกสว่านเจาะร่องเดือย โดยทั่วไปจะต้องเลือกดอกสว่านขนาด
เล็กกว่าความกว้างของร่องเดือย
4.3.2 การเจาะรูเดือย โดยเจาะให้ลึกกว่าความยาวของเดือยประมาณ 1/8 นิ้ว
4.3.3 เจาะรูด้วยดอกสว่าน 2- 3 รูแต่ให้อยู่ภายในแบบร่องเดือยที่ร่าง
4.3.4 ถอดสว่านออกจากรูเดือยไม้ที่เจาะ แล้วใช้สิ่วแต่งร่องเดือยให้เรียบ
4.4 การตัดเดือย
4.4.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะ บีบ – จับ ไม้ที่ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้ด้านหัวไม้
ที่จะตัดทาเดือยตั้งขึ้น
4.4.2 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ โดยตัดในเส้นด้านที่จะตัดทิ้ง
จนถึงระดับความลึกที่กาหนด ในการตัดอาจมีความจาเป็นต้องคลายปากกาหัวโต๊ะ แล้วบีบ – จับ
ชิ้นงานใหม่ในด้านอื่นๆ เพื่อความสะดวกในการเลื่อย
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1
ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1

More Related Content

What's hot

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม IsSasiyada Promsuban
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบWatcharinz
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1Utsani Yotwilai
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56misspornpun
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 

What's hot (20)

หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
โครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบโครงงานออกแบบ
โครงงานออกแบบ
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
แผนการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
แผนการเรียนรู้งานช่าง 1
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
งานวิจัยในชั้นเรียนปี56
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
โครงสร้างรายวิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตรชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
ชุดที่ 1 เครื่องมือเกษตร
 

Viewers also liked

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินอำนาจ ศรีทิม
 
การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้พัน พัน
 
Tape and mask
Tape and maskTape and mask
Tape and maskRSCOS
 
управление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстининуправление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстининholstinin.com Business Engineering Services
 
елочка красавица
елочка красавицаелочка красавица
елочка красавицаmsikanov
 
мероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалковамероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалковаmsikanov
 
день героев отечества
день героев отечествадень героев отечества
день героев отечестваmsikanov
 
4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)msikanov
 
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012Sandstone Press
 
неделя детской книги
неделя детской книгинеделя детской книги
неделя детской книгиmsikanov
 
новый год 5 и 7
новый год 5 и 7новый год 5 и 7
новый год 5 и 7msikanov
 

Viewers also liked (20)

ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ินช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
ช่างไม้ครุภัณฑ์ในท้องถ่ิน
 
การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้การทำครุภัณฑ์งานไม้
การทำครุภัณฑ์งานไม้
 
Tape and mask
Tape and maskTape and mask
Tape and mask
 
NoWorry
NoWorryNoWorry
NoWorry
 
управление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстининуправление клиентским опытом константин холстинин
управление клиентским опытом константин холстинин
 
Branch Transformation
Branch TransformationBranch Transformation
Branch Transformation
 
013.safetymanagement v3
013.safetymanagement v3013.safetymanagement v3
013.safetymanagement v3
 
¿Es más sencillo fidelizar y conocer a la pymes que a individuos?
¿Es más sencillo fidelizar y conocer a la pymes que a individuos?¿Es más sencillo fidelizar y conocer a la pymes que a individuos?
¿Es más sencillo fidelizar y conocer a la pymes que a individuos?
 
елочка красавица
елочка красавицаелочка красавица
елочка красавица
 
мероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалковамероприятие по творчеству михалкова
мероприятие по творчеству михалкова
 
TEZ SUMMARY
TEZ SUMMARYTEZ SUMMARY
TEZ SUMMARY
 
Posgrado de Especialización en Administración de Organizaciones Financieras
Posgrado de Especialización en Administración de Organizaciones FinancierasPosgrado de Especialización en Administración de Organizaciones Financieras
Posgrado de Especialización en Administración de Organizaciones Financieras
 
день героев отечества
день героев отечествадень героев отечества
день героев отечества
 
Bedrijfskunde
BedrijfskundeBedrijfskunde
Bedrijfskunde
 
4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)4 и 6 новый год)
4 и 6 новый год)
 
Galicia Move
Galicia MoveGalicia Move
Galicia Move
 
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
Robert Davidson - Faber Factory Plus 2012
 
неделя детской книги
неделя детской книгинеделя детской книги
неделя детской книги
 
новый год 5 и 7
новый год 5 и 7новый год 5 и 7
новый год 5 и 7
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 

Similar to ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1

1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubonWaree Wera
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555supphawan
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556Kapook Bank
 
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556Kruthai Kidsdee
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..jiraporn1
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..NooCake Prommali
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 

Similar to ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1 (20)

Lession5
Lession5Lession5
Lession5
 
1281946738 ubon
1281946738 ubon1281946738 ubon
1281946738 ubon
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
วิจัยNew2556
วิจัยNew2556วิจัยNew2556
วิจัยNew2556
 
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
การนำเสนอถูกใจกรรมการนครพนม9ธันวาคม2556
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..งานกลุ่ม+..
งานกลุ่ม+..
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
11
1111
11
 
ชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทยชนิดของคำในภาษาไทย
ชนิดของคำในภาษาไทย
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 

More from อำนาจ ศรีทิม

องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5อำนาจ ศรีทิม
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 

More from อำนาจ ศรีทิม (20)

ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56ประวัติดนตรีไทย 56
ประวัติดนตรีไทย 56
 
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
องค์ประกอบของดนตรีไทย ม.2 56
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
คำอธิบายรายวิชางานเชื่อมไฟฟ้า ม.5
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
บทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัยบทคัดย่องานวิจัย
บทคัดย่องานวิจัย
 
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
ปก หน่วยที่ 1 ช่างไม้
 
การป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุการป้องกันอุบัติเหตุ
การป้องกันอุบัติเหตุ
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
เครื่องมือ3
เครื่องมือ3เครื่องมือ3
เครื่องมือ3
 
Picasa[1]
Picasa[1]Picasa[1]
Picasa[1]
 
Google docs[1]
Google docs[1]Google docs[1]
Google docs[1]
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Facebook
FacebookFacebook
Facebook
 
You tube[1]
You tube[1]You tube[1]
You tube[1]
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์การเชื่อมฟลักซ์
การเชื่อมฟลักซ์
 

ปกใช้ หน่วยที่ 4 การปฏิบัติงานไม้1

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนเอกสารประกอบการเรียน เล่มที่ 4 เรื่อง การเข้าไม้ อานาจ ศรีทิม ตาแหน่งครู วิทยฐานะครูชานาญการ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 2. คานา ในปัจจุบันสภาพการจัดการเรียนการสอน มุ่งเน้นให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ด้วยตนเอง ให้มากที่สุด เพื่อให้นักเรียนมีนิสัย ใฝ่เรียน ใฝ่รู้ อยู่เสมอ ดังนั้นการจัดทาเอกสารประกอบการเรียน เป็นแนวทางหนึ่งที่ส่งเสริมให้นักเรียนค้นคว้าและสามารถเรียนรู้หาคาตอบได้ด้วยตนเอง ผู้เขียนจึงได้ดาเนินการสร้างเอกสารประกอบการเรียน ราย วิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 6 เล่ม เป็นเอกสารที่ผู้เขียนดาเนินการสร้างตรงตาม หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผู้เขียนได้ค้นคว้า รวบรวม เนื้อหา ความรู้จากตาราและ แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เพื่อให้นักเรียนมีความรู้และทักษะกระบวนการปฏิบัติจริง ที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียน สาหรับเอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ ประ กอบด้วย เนื้อหาเกี่ยวกับการเข้าไม้แบบต่าง ๆ ซึ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารประกอบการเรียนที่จัดทาเล่มนี้ สามารถแก้ปัญหาและพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพต่อไป นอกจากนั้นครูอาจารย์ที่สนใจสามารถ ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้บรรลุผลตามจุดมุ่ งหมายของหลักสูตร อย่างมีประสิทธิภาพ ขอขอบคุณ นายธวัชชัย เทศขา ผู้อานวยการโรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ นายอาวุธ เพ็งแตง ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนพิจิตรพิทยาคม นายอภิรัฐ จันดาหาญ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนตะพานหิน นางกมลรัตน์ มีไ ชโย ครูชานาญการพิเศษ นางธันยพร เขียวเขิน ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนสามง่ามชนูปถัมภ์ และนางศิริพร ภู่ดี ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนบ้านหนองหูช้าง ที่ได้กรุณาตรวจสอบเอกสารประกอบการเรียน และให้ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ผู้เขียนจึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ อานาจ ศรีทิม
  • 3. สารบัญ หน้า คานา ก สารบัญ ข จุดประสงค์การเรียนรู้ ง คาชี้แจง จ กระดาษคาตอบ ฉ แบบทดสอบก่อนเรียน ช เรื่องที่ 1 การเพลาะไม้ 1 - กิจกรรมที่ 1 6 เรื่องที่ 2 การเข้าไม้แบบการเข้าชน 8 - กิจกรรมที่ 2 12 เรื่องที่ 3 การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า 14 - กิจกรรมที่ 3 21 เรื่องที่ 4 การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น 23 - กิจกรรมที่ 4 30 เรื่องที่ 5 การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ 32 - กิจกรรมที่ 5 37 เรื่องที่ 6 การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ 39 - กิจกรรมที่ 6 46 เรื่องที่ 7 การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย 48 - กิจกรรมที่ 7 56
  • 4. สารบัญ (ต่อ) หน้า แบบทดสอบหลังเรียน 58 ภาคผนวก 61 - เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 62 - เฉลยกิจกรรมที่ 1 63 - เฉลยกิจกรรมที่ 2 65 - เฉลยกิจกรรมที่ 3 67 - เฉลยกิจกรรมที่ 4 69 - เฉลยกิจกรรมที่ 5 71 - เฉลยกิจกรรมที่ 6 73 - เฉลยกิจกรรมที่ 7 75 - เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 77 บรรณานุกรม 78
  • 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากนักเรียนศึกษาเอกสารประกอบการเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่อง การเข้าไม้ แล้ว นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ 1. นักเรียนสามารถอธิบายเครื่องมือที่ใช้ในการเข้าไม้แต่ละประเภทได้ 2. นักเรียนสามารถจัดลาดับขั้นตอนการเข้าไม้แบบต่าง ๆ ได้ 3. สามารถเข้าไม้แบบต่าง ๆ ที่ใช้ในงานไม้ครุภัณฑ์ได้
  • 6. คาชี้แจงสาหรับนักเรียน เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี สาระการอาชีพ รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ เป็นเอกสารสาหรับนักเรียน เพื่อใช้ประกอบ การเรียนรู้ และ ฝึกทักษะในการปฏิบัติกิจกรรม โดยนักเรียนสามารถใช้เอกสารปร ะกอบการเรียน ได้ด้วยตนเองตามลาดับดังนี้ 1. ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่า เมื่อศึกษาจบแล้ว จะได้รับความรู้ อะไรบ้าง 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน จานวน 10 ข้อ เพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียน 3. ให้นักเรียนศึกษาและทาความเข้าใจเนื้อหา เรื่องที่ 1 การเพลาะไม้ เรื่องที่ 2 การเข้าไม้แบบ การเข้าชน เรื่องที่ 3 การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า เรื่องที่ 4 การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น เรื่องที่ 5 การเข้า ไม้แบบการเข้าปากกบ เรื่องที่ 6 การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ และเรื่องที่ 7 การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย 4. ทากิจกรรมตามที่กาหนดให้ด้วยตนเอง ถ้าทาไม่ได้ หรือสงสัยให้อ่านทบทวนเนื้อหาใหม่ 5. ตรวจคาตอบกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมที่ 7 จากเฉลยในส่วนของภาคผนวก 6. หลังทากิจกรรมเสร็จแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน จานวน 10 ข้อ 7. ตรวจคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและแบบทดสอบหลังเรียนจากเฉลยในส่วนของ ภาคผนวก 8. สรุปคะแนนในแบบสรุปผลการเรียน
  • 7. รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี เล่มที่ 4 เรื่องการเข้าไม้ ชื่อ ................................................................................................................ เลขที่ ............................. แบบทดสอบก่อนเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 สรุปผลการเรียน คะแนนเต็ม คะแนน แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ข้อ ก ข ค ง 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การประเมิน 80 - 100 % = ดีมาก 70 – 79 % = ดี 60 - 69 % = พอใช้ 0 - 59 % = ควรปรับปรุง กระดาษคาตอบ
  • 8. คาชี้แจง ข้อสอบแบบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในกระดาษคาตอบ 1. ข้อใดคือความหมายของการเข้าไม้ ก. การต่อไม้ ข. การตอกตะปู ค. การนาไม้มาประกอบเข้าด้วยกัน ง. การตัดไม้ 2. ประโยชน์ของการเพลาะไม้คืออะไร ก. ได้ไม้ขนาดยาวขึ้น ข. ได้ไม้ขนาดกว้างขึ้น ค. ได้ไม้หลายชิ้น ง. ได้ไม้เรียบเนียน 3. แม่แรงเป็นเครื่องมือที่สาคัญที่สุดกับการเข้าไม้แบบใด ก. การเพลาะไม้ ข. การเข้าทาบ ค. การเข้าเดือย ง. การเข้าบ่า 4. การนาไม้ท่อนหนึ่งฝังเข้าไปในร่องของไม้อีกท่อน เรียกการเข้าไม้แบบใด ก. การเพลาะไม้ ข. การเข้าทาบ ค. การเข้าลิ้น ง. การเข้าบ่า แบบทดสอบก่อนเรียน รายวิชาช่างไม้ครุภัณฑ์ เรื่องการเข้าไม้
  • 9. 5. จากแบบที่กาหนดให้ คือแบบการเข้าไม้แบบใด ก. การเพลาะไม้ ข. การเข้าทาบ ค. การเข้าลิ้น ง. การเข้าบ่า 6. ตัดปลายไม้เป็นมุม 45 องศา เครื่องมือที่ใช้วัดมุม คือเครื่องมือใด ก. สิ่ว ข. ไม้บรรทัด ค. ตลับเมตร ง. ฉากลอง 7. บากไม้ลงไปครึ่งหนึ่งของความหนาของเนื้อไม้ทั้งสองท่อน แล้วนาไม้สองท่อนอัด เข้าด้วยกัน เป็นการเข้าไม้แบบใด ก. การเพลาะไม้ ข. การเข้าทาบ ค. การเข้าลิ้น ง. การเข้าบ่า 8. การเข้าไม้แบบใดคือว่าดีที่สุดและแข็งแรงที่สุด ก. การเข้าเดือย ข. การเข้าบ่า ค. การปากกบ ง. การเข้าชน ไม้แผ่นที่ 1 ไม้แผ่นที่ 2
  • 10. 9. การทดสอบความพอดีของการเข้าไม้จะทาในขั้นตอนใด ก. หลังการเตรียมแบบ ข. ก่อนการตัดไม้ ค. ก่อนการประกอบชิ้นงาน ง. หลังจากประกอบชิ้นงาน 10. การผลิตชิ้นงานไม้ครุภัณฑ์จะใช้การเข้าไม้แบบใด เพราะเหตุใด ก. การเข้าเดือย เพราะถือว่าเป็นการเข้าไม้ที่ดีที่สุด ข. การเข้าชน เพราะเป็นการเข้าไม้ที่ง่ายที่สุด ประหยัดเวลา ค. การเข้าลิ้น เพราะบากไม้แค่ชิ้นเดียว เอาไม้อีกชิ้นมาเข้าในร่องบากก็เสร็จ ง. ทุกชนิดของการเข้าไม้ ขึ้นอยู่กับชิ้นที่ทา เพราะการเข้าไม้แต่ละอย่าง มีข้อดีข้อเสียต่างกัน **********************
  • 11. เรื่องที่ 1 การเพลาะไม้ การเข้าไม้ การเข้าไม้ หมายถึง การนาไม้มาประกอบเข้าด้วยกัน ทาให้เกิดเป็นมุมหรือรูปร่างต่าง ๆ เพื่อสนองความต้องการในการใช้งาน ส่วนใหญ่จะได้แก่งานทาเครื่องเรือนต่าง ๆ การเข้าไม้ที่ใช้กันทั่วไปมีมากมายหลายแบบ ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการที่คล้ายคลึงกัน แต่แบบ ที่แตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจนและเป็นที่นิยมในปัจจุบัน ได้แก่ การเพลาะไม้ การเพลาะไม้ คือการเอาแผ่นไม้มาวางเรียงแล้วอัดเข้าด้วยกันให้แผ่นใหญ่ขึ้น การเพลาะไม้ นิยมใช้กับการทาพื้นโต๊ะ พื้นเก้าอี้ พื้นบ้าน หรือผนังเครื่องเรือน ที่ต้องการพื้นที่กว้าง ๆ 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ แม่แรง ค้อน เลื่อยลันดา
  • 12. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ตะปู ไม้ 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท ให้จัดการแก้ไข 2.2 แม่แรงทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก เวลายกหรือเคลื่อนย้ายต้องใช้ความระมัดระวัง ควรถือจับให้แน่น 2.3 เวลาบีบอัดไม้ ควรล็อคหน้าอัดตัวที่เลื่อนได้ให้แน่น เพื่อป้ องกันการลื่นไหล ของชิ้นงานในขณะทางาน 2.4 ในขณะบีบอัด ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ 2.5 เวลาตอกตะปูควรจับตะปูและค้อนให้แน่น ป้ องกันไม่ให้ตะปูกระเด็นโดน ผู้ปฏิบัติงาน 2.6 ไม่ควรนาตะปูใส่กระเป๋ าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะอาจทิ่มแทงผู้ใช้งาน ได้รับบาดเจ็บได้ 2.7 ไม่หยอกล้อหรือเล่นกันขณะปฏิบัติงาน อาจก่อให้เกิดอันตรายได้
  • 13. 3. แบบการเพลาะไม้ 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 เตรียมไม้แผ่นทั้งหมดที่ต้องการเพลาะเข้าด้วยกัน (ไม้ 2 แผ่น) จากนั้นแต่งขอบไม้ แต่ละแผ่นให้เรียบตรงและได้ฉาก เพื่อที่จะเพลาะเข้ากันได้สนิท ไม้ที่จะนามาเพลาะต้องแห้งสนิท ไม่บิดงอ 4.2 ทดลองวางเรียงไม้ทั้งหมดเข้าด้วยกัน แล้วจัดหรือสลับแผ่นไม้ เพื่อให้ขอบไม้ เข้ากันได้สนิท จัดวางลายไม้ให้ไปในทิศทางเดียวกัน เขียนหมายเลขเรียงตามลาดับไว้ 4.3 ตีตะปูยึดไม้ แผ่นแรกเข้ากับคานไม้ ไม้แผ่นที่ 1 ไม้แผ่นที่ 2
  • 14. 4.4 นาไม้แผ่นที่ 2 มาวางเรียงต่อไม้แผ่นที่ 1 ยึดอัดด้วยแม่แรงให้สนิทพอประมาณ และตอกยึดไม้แผ่นที่ 2 กับคาน (ถ้าต้องการเพลาะไม้หลายแผ่นก็ทาในลักษณะเดียวกัน คือนาไม้มา วางเรียงกันตามลาดับหมายเลขไปเรื่อย ๆ และตอกยึดด้วยตะปู) 4.5 ตัดแต่งขอบไม้แต่ละแผ่นให้เรียบเสมอกันด้วยเลื่อยลันดา 4.6 ชิ้นงานสาเร็จ
  • 15.
  • 16. กิจกรรมที่ 1 เรื่อง การเพลาะไม้ ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน ) เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเพลาะไม้ การเพลาะไม้
  • 17. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเพลาะไม้ ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น (20 คะแนน) รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 5 4 3 2 1 เทคนิควิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เทคนิค วิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสม น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสมแต่ น่าสนใจเป็น บางส่วน เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสม แต่ไม่ค่อย น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้อง บางส่วน สมบูรณ์แต่ไม่ ค่อยน่าสนใจ เทคนิค วิธีการไม่ ถูกต้อง ประณีต สวยงาม ผลงาน ประณีต และสวยงาม ผลงานประณีต แต่ไม่ค่อย สวยงาม ผลงานไม่ค่อย ประณีต แต่มี ความสวยงามบ้าง เล็กน้อย ผลงานไม่ค่อย ประณีตไม่ สวยงาม ผลงานไม่ เสร็จ สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อย ผลงาน มีความ สะอาด เรียบร้อย ผลงานค่อนข้าง สะอาดเรียบร้อย ผลงานมีความ เรียบร้อย แต่ไม่ ค่อยสะอาด ผลงานไม่ สะอาดและไม่ เรียบร้อยเป็น ส่วนใหญ่ ผลงานไม่ สะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งผลงาน ตามกาหนด ผลงานเสร็จ ตามเวลา ที่กาหนด ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนด 1 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด 2 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่ กาหนด 3 วัน ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนดเกิน 3 วัน
  • 18. เรื่องที่ 2 การเข้าไม้แบบการเข้าชน การเข้าไม้แบบการเข้าชน การเข้าชนเป็นการเข้าไม้ที่ง่ายที่สุด ด้วยการนาเอาปลายไม้ของไม้แผ่นหนึ่งชนเข้ากับหน้าไม้ หรือขอบของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วจึงทาการยึดด้วยตะปูหรือตะปูเกลียว จะทาให้รอยต่อแข็งแรงดียิ่งขึ้น การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้ในการทาเครื่องเรือนราคาถูก เช่น ทากล่อง หีบ ลิ้นชักโต๊ะ หรือตู้ เก้าอี้ หรือโครงเครื่องเรือน เป็นต้น 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ค้อน ปากกาหัวโต๊ะ ตะปู ดินสอ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ
  • 19. ไม้ 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 2.1 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ 2.2 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก 2.3 ในขณะบีบอัด ไม่ควรใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ 2.4 เวลาตอกตะปูควรจับตะปูและค้อนให้แน่น ป้ องกันไม่ให้ตะปูกระเด็นโดน ผู้ปฏิบัติงาน 2.5 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน เพราะตะปูเป็นของแหลมคม อาจทาให้เกิด อุบัติเหตุ 2.6 ไม่ควรนาตะปูใส่กระเป๋ าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะอาจทิ่มแทงผู้ใช้งาน ได้รับบาดเจ็บ 2.7 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่ม แทงร่างกายได้ 2.8 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดยรับอันตรายได้ 2.9 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าชน
  • 20. 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความยาว ความหนา และความยาว ของปลายไม้ที่ตัดต้องได้ฉากจริงๆ 4.2 วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 1 ลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 2 โดยให้ขอบ ด้านนอกเสมอกับด้านหัวของไม้ชิ้นล่าง จากนั้นใช้ดินสอขีดไปตามขอบด้านในของไม้ชิ้นที่ 2 ไม้ชิ้นที่ 1 ไม้ชิ้นที่ 2
  • 21. 4.3 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบจับไม้ชิ้นที่ 1 จากนั้นนาไม้ชิ้นที่ 2 มาวางให้อยู่ตรง ตาแหน่งเดิม โดยอาศัยรอยดินสอที่ขีดไว้ในข้อ 4.2 แล้วยึดติดด้วยตะปู 4.4 ชิ้นงานสาเร็จ
  • 22. กิจกรรมที่ 2 เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าชน ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน ) เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าชน การเข้าชน
  • 23. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าชน ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น (20 คะแนน) รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 5 4 3 2 1 เทคนิควิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เทคนิค วิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสม น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสมแต่ น่าสนใจเป็น บางส่วน เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสม แต่ไม่ค่อย น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้อง บางส่วน สมบูรณ์แต่ไม่ ค่อยน่าสนใจ เทคนิค วิธีการไม่ ถูกต้อง ประณีต สวยงาม ผลงาน ประณีต และสวยงาม ผลงานประณีต แต่ไม่ค่อย สวยงาม ผลงานไม่ค่อย ประณีต แต่มี ความสวยงามบ้าง เล็กน้อย ผลงานไม่ค่อย ประณีตไม่ สวยงาม ผลงานไม่ เสร็จ สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อย ผลงาน มีความ สะอาด เรียบร้อย ผลงานค่อนข้าง สะอาดเรียบร้อย ผลงานมีความ เรียบร้อย แต่ไม่ ค่อยสะอาด ผลงานไม่ สะอาดและไม่ เรียบร้อยเป็น ส่วนใหญ่ ผลงานไม่ สะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งผลงาน ตามกาหนด ผลงานเสร็จ ตามเวลา ที่กาหนด ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนด 1 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด 2 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่ กาหนด 3 วัน ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนดเกิน 3 วัน
  • 24. เรื่องที่ 3 การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า การเข้าบ่าเป็นการเข้าไม้โดยการเอาปลายหรือหัวไม้ของไม้แผ่นหนึ่งลงไปในร่อง ที่ปลายหรือ หัวไม้ซึ่งบากเอาไว้ของไม้อีกแผ่นหนึ่ง แล้วยึดตรึงด้วยตะปูหรือตะปูเกลียว ร่องที่บากควรจะลึก ประมาณ 1 ใน 2 ถึง 2 ใน 3 ของความหนาของไม้ การเข้าไม้แบบนี้จะแข็งแรงกว่าการเข้าชน ในปัจจุบันนิยมใช้มากกับการเข้ามุมเครื่องเรือนต่าง ๆ ทาลิ้นชักโต๊ะ และกล่องอย่างง่าย ๆ 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ เลือยรอ ค้อน ค้อนไม้ สิ่ว
  • 25. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ขอขีดไม้ ฉากลอง ปากกาหัวโต๊ะ ตะไบ ดินสอ ตะปู 2 นิ้ว ไม้
  • 26. 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท ให้จัดการแก้ไข 2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้ง ทั้งค้อนหงอนและค้อนไม้ 2.3 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู 2.4 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย ทาให้เกิดอันตรายได้ 2.5 ตัวขอขีดไม้เป็นเครื่องมือที่ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาด โดนร่างกายอาจบาดเจ็บได้ หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้ 2.6 ฉากลองทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง 2.7 ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น 2.8 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ 2.9 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก 2.10 ในขณะบีบอัด ไม่ควรใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงกันอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บได้ 2.11 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่ม แทงร่างกายได้ 2.12 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกาย 2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน 2.14 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว 2.15 จับด้ามค้อนไม้บริเวณใกล้ๆ กับหัวค้อนด้วยมือข้างที่ถนัด ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง จับด้ามสิ่วในตาแหน่งที่ต้องการจะตอก 2.16 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน
  • 27. 3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าบ่า 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 การร่างแบบ 4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริง ๆ 4.1.2 วางด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 1 ลงบนหน้าไม้ด้านหัวของไม้ชิ้นที่ 2 โดยให้ ขอบด้านนอกเสมอกับด้านหัวของไม้ชิ้นล่าง จากนั้นใช้ดินสอขีดไปตามขอบด้านในของไม้ชิ้นที่ 2 ไม้แผ่นที่ 1 ไม้แผ่นที่ 2
  • 28. 4.1.3 ใช้ฉากลองเข้ากับหน้าไม้แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่อจากเส้นที่ขีด ไว้แล้ว ตามข้อที่4.1.2 ให้ทาทั้ง 2 ข้าง 4.1.4 ปรับขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้ใช้ขอขีด ไม้ทาบเข้ากับหน้าไม้ แล้วลากขอไปตามหน้าไม้ จากเส้นที่ขีดไว้ ในข้อที่ 4.1.3 ไปหาหัวไม้ ก็จะได้ เส้นแสดงระดับลึกของบ่าตามต้องการ ให้ทาที่ไม้ทั้ง 2 ตัว 4.2 การตัดบ่า 4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ- จับ ไม้ที่ได้ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้ด้านที่ ร่างแบบอยู่ด้านบน ใช้เลือยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ ให้ตัดในเส้นส่วนที่จะตัดทิ้ง จนถึงระดับ ความลึกที่กาหนด 4.2.2 คลายปากกาหัวโต๊ะ แล้วบีบจับชิ้นงานใหม่ในแนวตั้ง จากนั้นให้ใช้ เลือยรอ ตัดไปตามเส้นระดับความลึกที่ร่างไว้ ให้ตัดในเส้นส่วนที่จะตัดทิ้งเช่นกัน จนบรรจบกับรอย ที่ตัดไว้ในข้อ 4.2.1 ก็จะทาให้ไม้ส่วนที่จะตัดทิ้งหลุด ก็จะได้บ่าตามที่ต้องการ
  • 29. 4.3 การทดสอบความพอดีของบ่า 4.3.1 ทดลองวางหัวไม้ชิ้นที่จะใช้ประกอบเข้าด้วยกันลงในบ่าที่ตัด ตรวจความเรียบร้อย บ่าจะต้องเข้ากันสนิทและได้ฉาก 4.3.2 ถ้าประกอบเข้าไปแล้วยังไม่เรียบร้อย ก็ให้ใช้สิ่วแต่งบ่าให้พอดี 4.4 การประกอบชิ้นงาน 4.4.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะ บีบ – จับไม้ที่จะใช้ประกอบเข้าที่บ่า นาไม้ชิ้นที่ 2 มาวางบนบ่าและตอกตะปูยึด
  • 31. กิจกรรมที่ 3 เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าบ่า ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน ) เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าบ่า การเข้าบ่า
  • 32. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าบ่า ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น (20 คะแนน) รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 5 4 3 2 1 เทคนิควิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เทคนิค วิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสม น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสมแต่ น่าสนใจเป็น บางส่วน เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสม แต่ไม่ค่อย น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้อง บางส่วน สมบูรณ์แต่ไม่ ค่อยน่าสนใจ เทคนิค วิธีการไม่ ถูกต้อง ประณีต สวยงาม ผลงาน ประณีต และสวยงาม ผลงานประณีต แต่ไม่ค่อย สวยงาม ผลงานไม่ค่อย ประณีต แต่มี ความสวยงามบ้าง เล็กน้อย ผลงานไม่ค่อย ประณีตไม่ สวยงาม ผลงานไม่ เสร็จ สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อย ผลงาน มีความ สะอาด เรียบร้อย ผลงานค่อนข้าง สะอาดเรียบร้อย ผลงานมีความ เรียบร้อย แต่ไม่ ค่อยสะอาด ผลงานไม่ สะอาดและไม่ เรียบร้อยเป็น ส่วนใหญ่ ผลงานไม่ สะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งผลงาน ตามกาหนด ผลงานเสร็จ ตามเวลา ที่กาหนด ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนด 1 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด 2 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่ กาหนด 3 วัน ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนดเกิน 3 วัน
  • 33. เรื่องที่ 4 การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น การเข้าไม้แบบนี้เหมาะที่สุดกับการทาชั้นวางของ บันได ตู้ใส่หนังสือ เนื่องจากมีความแน่น หนาและแข็งแรงดี โดยการนาเอาไม้แผ่นหนึ่งฝังเข้าไปในร่องของไม้อีกแผ่น ปลายของไม้ที่ฝังเข้าไป อาจจะบากหรือ ไม่บากก็ได้ จากนั้นใช้ตะปูหรือตะปูเกลียวเป็น ตัวยึดตรึง ร่องที่เซาะควรจะลึก ประมาณ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้ 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ เลือยรอ ค้อน ค้อนไม้ ขอขีดไม้
  • 34. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ฉาก ปากกาหัวโต๊ะ ตะไบ สิ่ว ดินสอ ตะปู 2 นิ้ว ไม้ 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย
  • 35. 2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท ให้จัดการแก้ไข 2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้ง ทั้งค้อนหงอนและค้อนไม้ 2.3 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู 2.4 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้ 2.5 ตัวขอขีดไม้ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บ หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้ 2.6 ฉากลองทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง 2.7 ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น 2.8 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ 2.9 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก 2.10 ในขณะบีบอัดไม้ ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ 2.11 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่ม แทงร่างกายได้ 2.12 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกาย 2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน 2.14 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว 2.15 จับด้ามค้อนไม้บริเวณใกล้ๆ กับหัวค้อนด้วยมือข้างที่ถนัด ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง จับด้ามสิ่วในตาแหน่งที่ต้องการจะตอก 2.16 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น ไม้ชิ้นที่ 1 ไม้ชิ้นที่ 2
  • 36. 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 การร่างแบบ 4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว ปลายไม้ที่ตัดต้องได้ฉากจริงๆ 4.1.2 เพื่อกาหนดแนวในการตัดร่องลิ้น ให้ใช้ฉากลองทาบเข้ากับขอบไม้ ในตาแหน่งที่กาหนด จากนั้นใช้ดินสอขีดเส้นขวางกันหน้าไม้ ให้ขีดเพียงเส้นเดียว
  • 37. 4.1.3 วางหัวไม้ที่จะใช้ประกอบเข้าด้วยกัน ให้ด้านหนึ่งทาบเข้ากับเส้น ที่ขีดไว้ในข้อ 4.1.2 แล้วใช้ดินสอขีดเส้นอีกด้านหนึ่ง ก็จะได้ความกว้างของร่องลิ้นตามต้องการ 4.1.4 ใช้ฉากลองทาบกับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่อจากเส้น ที่ขีดไว้ตามลาดับในข้อ 4.1.2 และ 4.1.3 ให้ทาทั้ง 2 ข้าง 4.1.5 ปรับขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้ 4.1.6 ใช้ขอขีดไม้ทาบเข้ากับหน้าไม้ จากนั้นลากขอขีดไม้ไปตามขอบไม้ ระหว่างเส้นที่ขีดในข้อ 4.1.4 ก็จะได้เส้นแสดงระดับความลึกของร่องลิ้นตามต้องการ ให้ทาทั้ง 2 ข้าง เช่นกัน
  • 38. 4.2 การตัดร่องลิ้น 4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับ ไม้ที่ได้ร่างแบบไว้แล้วโดยให้ด้านที่ร่างแบบ อยู่ด้านบน 4.2.2 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ร่างไว้ ให้ตัดในเส้นส่วนที่จะตัดทิ้ง จนถึง ระดับความลึกที่กาหนด ห้ามตัดพอดีเส้นหรือนอกเส้นโดยเด็ดขาด เพราะจะทาให้ร่องลิ้นกว้างไป จะทาให้เมื่อประกอบไม้เข้าไปแล้วจะไม่แน่น 4.2.3 ใช้เลื่อยตัดหลาย ๆ แนว ให้ได้ระดับความลึกที่กาหนด 4.2.4 ใช้สิ่วทาการบากร่อง 4.2.5 ใช้ตะไบขัดร่องลิ้นให้เรียบ 4.3 การทดสอบความพอดีของร่องลิ้น 4.3.1 กดหัวไม้ที่ใช้ประกอบลงไปในร่องลิ้นที่ทาไว้ ร่องลิ้นที่พอดีจะต้อง สามารถกดลงไปด้วยแรงกดจากมือ
  • 40. กิจกรรมที่ 4 เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน ) เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น การเข้าลิ้น
  • 41. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าลิ้น ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น (20 คะแนน) รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 5 4 3 2 1 เทคนิควิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เทคนิค วิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสม น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสมแต่ น่าสนใจเป็น บางส่วน เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสม แต่ไม่ค่อย น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้อง บางส่วน สมบูรณ์แต่ไม่ ค่อยน่าสนใจ เทคนิค วิธีการไม่ ถูกต้อง ประณีต สวยงาม ผลงาน ประณีต และสวยงาม ผลงานประณีต แต่ไม่ค่อย สวยงาม ผลงานไม่ค่อย ประณีต แต่มี ความสวยงามบ้าง เล็กน้อย ผลงานไม่ค่อย ประณีตไม่ สวยงาม ผลงานไม่ เสร็จ สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อย ผลงาน มีความ สะอาด เรียบร้อย ผลงานค่อนข้าง สะอาดเรียบร้อย ผลงานมีความ เรียบร้อย แต่ไม่ ค่อยสะอาด ผลงานไม่ สะอาดและไม่ เรียบร้อยเป็น ส่วนใหญ่ ผลงานไม่ สะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งผลงาน ตามกาหนด ผลงานเสร็จ ตามเวลา ที่กาหนด ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนด 1 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด 2 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่ กาหนด 3 วัน ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนดเกิน 3 วัน
  • 42. เรื่องที่ 5 การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ การเข้าไม้แบบปากกบเป็นการเข้าไม้เป็นมุมด้วยการตัดปลายไม้ที่จะนามาต่อเข้าด้วยกันให้ได้ มุมที่เท่ากันเสียก่อน แล้วจึงนามาประกอบเข้าด้วยกัน และใช้ตะปู ตะปูเกลียว หรือสลักไม้ยึดตรึง ให้เกิดความแข็งแรง การเข้าไม้แบบที่นิยมใช้กันมากที่สุดจะตัดปลายไม้เป็นมุม 45 องศาเมื่อประกอบ เข้าด้วยกันแล้วจะได้มุม 90 องศา พอดี การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้ทากรอบรูป ทากล่อง ทาวงกบประตู – หน้าต่างหรือทาโครงเครื่องเรือน เป็นต้น 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ เลื่อยรอ ค้อน ฉาก ปากกาหัวโต๊ะ
  • 43. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ตะไบ ดินสอ ตะปู 2 นิ้ว ไม้ 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 2.1. ตรวจความเรียบร้อยของตัวค้อนกับด้ามจับให้แน่นสนิททุกครั้ง หากไม่สนิท ให้จัดการแก้ไข 2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้งเวลาตอกตะปูหรือถอนตะปู 2.3 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู 2.4 ฉากลองและบรรทัดเหล็กทาด้วยโลหะ มีความคม เวลาใช้งานต้องใช้ ด้วยความระมัดระวัง 2.5 ห้ามโยนฉากให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้น 2.6 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ 2.7 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก 2.8 ในขณะบีบอัด ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บได้ 2.9 เนื่องจากดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่มแทงร่างกายได้
  • 44. 2.10 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้ อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดยร่างกายได้ 2.11 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน 2.12 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 การร่างแบบ การร่างแบบ โดยกาหนดความยาวของไม้ที่จะตัดทาเครื่องหมายไว้ที่ขอบไม้ด้านนอก ใช้ฉากทาบเข้าไปแล้วขีดเส้นขวางกับไม้ด้านนอกและหน้าไม้ทั้ง 2 ด้าน ที่เส้นมุมขอบไม้ด้านนอก เท่ากับ 45 องศา ไม้ชิ้นที่ 1 ไม้ชิ้นที่ 2
  • 45. 4.2 การตัดปากกบ 4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับ ชิ้นงานที่ได้ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้ด้าน ที่ได้ร่างแบบไว้แล้วอยู่ด้านบน 4.2.2 ใช้เลื่อยรอเลื่อยไปตามเส้นร่างไว้ ให้ตัดในเส้นด้านที่จะตัดทิ้งจนขาด ให้พลิกดูรอยด้านตรงข้ามด้วย จะต้องให้อยู่ในตาแหน่งหรือแนวเดียวกัน 4.2.3 ให้เลื่อยไม้ตามลาดับข้อ 4.2.1 และ 4.2.2 ที่ไม้ชิ้นที่ 2 4.3 การทดสอบความพอดีของปากกบ การทดสอบความพอดีของปากกบ โดยวางไม้ทุกชิ้นลงบนพื้นราบ และทดลอง ประกอบไม้ ที่ตัดเข้าด้วยกัน จากนั้นใช้ฉากทดสอบการได้ฉากที่มุมของปากไม้ที่ประกอบเข้าด้วยกัน ถ้ามุมยังไม่ได้ฉากก็ใช้เลื่อยหรือกบไสตกแต่ง จนปากไม้เข้ากันได้สนิท
  • 46. 4.4 การประกอบชิ้นงาน 4.4.1 ตอกตะปูเข้าที่ปลายไม้ด้านหนึ่ง โดยตอกให้ปลายตะปูโผล่มาเล็กน้อย ต้องกะให้พอดีเมื่อตอกตะปูจะฝังลงไปที่กึ่งกลางของปากไม้อีกชิ้นหนึ่งที่จะนามาชนเข้าด้วยกัน 4.4.2 จับไม้ในแนวตั้งด้วยปากกาหัวโต๊ะ จากนั้นทาบปากไม้ชิ้นที่ตอกตะปู เข้าไปที่ปากไม้ชิ้นที่จับด้วยปากกา ให้ปากไม้ชิ้นที่ทาบลงไปยื่นเลยขอบของปากไม้ชิ้นที่จับด้วยปากกา ขึ้นไปเล็กน้อย เพื่อที่เวลาตอกตะปูเข้าไปแล้ว ปากไม้จะเลื่อนลงมาพอดี 4.4.3 ตอกตะปูเข้าไปจนเรียบเสมอผิวไม้ 4.5 ชิ้นงานสาเร็จ
  • 47. กิจกรรมที่ 5 เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน ) เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ การเข้าปากกบ
  • 48. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าปากกบ ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น (20 คะแนน) รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 5 4 3 2 1 เทคนิควิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เทคนิค วิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสม น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสมแต่ น่าสนใจเป็น บางส่วน เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสม แต่ไม่ค่อย น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้อง บางส่วน สมบูรณ์แต่ไม่ ค่อยน่าสนใจ เทคนิค วิธีการไม่ ถูกต้อง ประณีต สวยงาม ผลงาน ประณีต และสวยงาม ผลงานประณีต แต่ไม่ค่อย สวยงาม ผลงานไม่ค่อย ประณีต แต่มี ความสวยงามบ้าง เล็กน้อย ผลงานไม่ค่อย ประณีตไม่ สวยงาม ผลงานไม่ เสร็จ สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อย ผลงาน มีความ สะอาด เรียบร้อย ผลงานค่อนข้าง สะอาดเรียบร้อย ผลงานมีความ เรียบร้อย แต่ไม่ ค่อยสะอาด ผลงานไม่ สะอาดและไม่ เรียบร้อยเป็น ส่วนใหญ่ ผลงานไม่ สะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งผลงาน ตามกาหนด ผลงานเสร็จ ตามเวลา ที่กาหนด ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนด 1 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด 2 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่ กาหนด 3 วัน ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนดเกิน 3 วัน
  • 49. เรื่องที่ 6 การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ การเข้าไม้แบบนี้ใช้เมื่อต้องการประกอบไม้สองตัวขวางกันเป็นมุมฉากหรือเป็นรูปกากบาท โดยบากไม้ลงไปครึ่งหนึ่งของความหนาของเนื้อไม้ทั้งสองตัว แล้วนาไม้สองตัวอัดเข้าด้วยกัน จากนั้น ยึดตรึงด้วยโลหะยึดตรึงหรือสลักไม้ เพื่อให้เกิดความแข็งแรง การเข้าไม้แบบนี้ใช้สาหรับการประกอบ ขาโต๊ะ เก้าอี้ ทาวงกบ ประตู - หน้าต่าง 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ เลื่อยรอ ค้อน ค้อนไม้ ขอขีดไม้ บรรทัดเหล็ก
  • 50. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ฉาก ปากกาหัวโต๊ะ ตะไบ สิ่ว ดินสอ ตะปู 2 นิ้ว ไม้ 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 2.1 ใช้มือจับด้ามค้อนให้แน่นทุกครั้ง ทั้งค้อนหงอนและค้อนไม้ 2.2 ถ้าตอกตะปูแล้วคดให้ดัดตะปูให้ตรง หรือเปลี่ยนตัวใหม่ แล้วตอกลงไป ในเนื้อไม้ เพื่อป้ องกันอันตรายจากการหลุดกระเด็นของตะปู 2.3 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้
  • 51. 2.4 ตัวขอขีดไม้ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บ หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้ 2.5 ฉากลองและบรรทัดเหล็กทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วย ความระมัดระวัง 2.6 ห้ามโยนฉากลองให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุ 2.7 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ 2.8 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก 2.9 ในขณะบีบอัด ไม่ควรให้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงกันอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ 2.10 ดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง อาจทิ่มแทง ร่างกายได้ 2.11 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืมพลาดหกล้มหรือ นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกายได้ 2.12 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน 2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว 2.14 จับด้ามค้อนไม้บริเวณใกล้ๆ กับหัวค้อนด้วยมือข้างที่ถนัด ส่วนมืออีกข้างหนึ่ง จับด้ามสิ่วในตาแหน่งที่ต้องการจะตอก 2.15 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าทาบ
  • 52. 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 การร่างแบบ 4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริงๆ 4.1.2 วางไม้ทั้ง 2 ชิ้นชิดกันและหัวไม้เรียบเสมอกัน ลักษณะการวางไม้ จะต้องให้หน้าไม้ชิ้นหงายขึ้น และอีกชิ้นคว่าลง 4.1.3 จากหัวไม้ของไม้ชิ้นใดชิ้นหนึ่ง ใช้บรรทัดเหล็กวัดระยะเข้าไปเท่ากับ ความกว้างของหน้าไม้ จากจุดดังกล่าวให้ใช้ฉากลองทาบเข้ากับขอบไม้ แล้วใช้ดินสอขีดเส้นลงไป บนหน้าไม้ทั้ง 2 ชิ้น 4.1.4 ใช้ฉากลองทาบเข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นขวางกับขอบไม้ต่อจากเส้น ที่ขีดไว้แล้ว ในข้อ 4.1.3 ให้ทาทั้ง 2 ข้าง และทาทั้ง 2 ตัว
  • 53. 4.1.5 ปรับ – ตั้งขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของแผ่นไม้ ที่จะนามาต่อเข้าด้วยกัน จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นไปตามขอบไม้ จากเส้นที่ขีด ไว้ในข้อ 4.1.4 จนถึงหัวไม้ ให้ทาทั้ง 2 ข้าง และทาทั้ง 2 ตัว 4.2 การตัดบ่าหรือตัดร่อง 4.2.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะบีบ – จับ ไม้ที่ได้ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้หัวไม้ตั้งขึ้น 4.2.2 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ โดยตัดในเส้น ด้านที่จะตัดทิ้ง จนถึงระดับความลึกที่กาหนด 4.2.3 คลายปากกาหัวโต๊ะ แล้วบีบ – จับ ชิ้นงานใหม่ โดยให้ด้านหน้าไม้ หงายขึ้น 4.2.4 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ โดยตัดในเส้นด้านที่จะตัดทิ้ง จนถึงระดับความลึกที่กาหนด การตัดในลักษณะนี้จะทาให้ไม้ส่วนที่จะตัดทิ้งหลุดออกไป
  • 54. 4.3 การทดสอบความพอดีของบ่าหรือร่องที่ตัด 4.3.1 ประกบส่วนที่เป็นบ่าของชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้นเข้าด้วยกัน แล้วตรวจดู ความเรียบร้อย เช่น การได้ฉากระหว่างไม้ที่นามาต่อเข้าด้วยกัน ความเรียบเสมอกันของไม้ทั้ง 2 ชิ้น 4.3.2 ถ้าประกอบเข้าไปแล้วยังไม่เรียบร้อย ให้ใช้สิ่วแต่งบ่าจนพอดี
  • 55. 4.4 การประกอบชิ้นงาน ประกบส่วนที่เป็นบ่าของชิ้นงานทั้ง 2 ชิ้นเข้าด้วยกัน เมื่อเข้าที่แล้วจับยึดให้แน่น จากนั้นตอกตะปู 4.5 ชิ้นงานสาเร็จ
  • 56. กิจกรรมที่ 6 เรื่อง การเข้าไม้แบบการเข้าทาบ ชื่อ .............................................................................................................. เลขที่ .................. ตอนที่ 1 ให้นักเรียนเติมข้อความ ลงในกรอบที่กาหนดให้สมบูรณ์ ( 10 คะแนน ) เครื่องมือ – วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการเข้าไม้แบบการเข้าทาบ การเข้าทาบ
  • 57. ตอนที่ 2 ให้นักเรียนปฏิบัติการเข้าไม้แบบการเข้าทาบ ทาเป็นกลุ่มๆ ละ 3 คน ส่งงานกลุ่มละ 1 ชิ้น (20 คะแนน) รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน ประเด็นการ ประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน 5 4 3 2 1 เทคนิควิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เทคนิค วิธีการ ถูกต้อง สมบูรณ์ เหมาะสม น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสมแต่ น่าสนใจเป็น บางส่วน เทคนิควิธีการ ถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะสม แต่ไม่ค่อย น่าสนใจ เทคนิควิธีการ ถูกต้อง บางส่วน สมบูรณ์แต่ไม่ ค่อยน่าสนใจ เทคนิค วิธีการไม่ ถูกต้อง ประณีต สวยงาม ผลงาน ประณีต และสวยงาม ผลงานประณีต แต่ไม่ค่อย สวยงาม ผลงานไม่ค่อย ประณีต แต่มี ความสวยงามบ้าง เล็กน้อย ผลงานไม่ค่อย ประณีตไม่ สวยงาม ผลงานไม่ เสร็จ สมบูรณ์ สะอาด เรียบร้อย ผลงาน มีความ สะอาด เรียบร้อย ผลงานค่อนข้าง สะอาดเรียบร้อย ผลงานมีความ เรียบร้อย แต่ไม่ ค่อยสะอาด ผลงานไม่ สะอาดและไม่ เรียบร้อยเป็น ส่วนใหญ่ ผลงานไม่ สะอาดและ ไม่เรียบร้อย ส่งผลงาน ตามกาหนด ผลงานเสร็จ ตามเวลา ที่กาหนด ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนด 1 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่กาหนด 2 วัน ผลงานเสร็จช้า กว่าเวลาที่ กาหนด 3 วัน ผลงานเสร็จ ช้ากว่าเวลาที่ กาหนดเกิน 3 วัน
  • 58. เรื่องที่ 7 การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย การเข้าไม้แบบการเข้าเดือย การเข้าเดือย เป็นการเข้าไม้ที่ดีและแข็งแรงกว่าการเข้าไม้แบบอื่น ๆ ทั้งหมด โดยการบากไม้ ท่อนหนึ่งออกโดยรอบให้เหลือแต่แกนกลางที่ยื่นออกมาเรียกว่าเดือย ส่วนอีกท่อนจะถูกเจาะเป็น ร่องเล็กเรียกว่ารูหรือร่องเดือย โดยมีขนาดความกว้าง ความลึก ให้พอดีกับขนาดของเดือย โดยทั่วไป รูเดือยจะลึกประมาณ 2 ใน 3 ของความกว้างของหน้าไม้ เมื่ออัดเดือยเข้าไปในรูหรือร่องเดือยแล้ว ให้ใช้ตะปูหรือสลักไม้ยึดให้แน่น การเข้าไม้แบบนี้นิยมใช้กับการทาเก้าอี้ โต๊ะและหีบชั้นดี 1. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ เลือยรอ ค้อนไม้ บรรทัดเหล็ก ขอขีดไม้ ฉาก
  • 59. วัสดุ – อุปกรณ์ และเครื่องมือ ภาพ ปากกาหัวโต๊ะ ตะไบ สิ่ว ดินสอ กาว ไม้ 2. ข้อควรระวังในการปฏิบัติงานเพื่อความปลอดภัย 2.1. ตรวจสภาพของค้อนไม้ก่อนใช้งาน 2.2 ใช้มือจับด้ามค้อนไม้ให้แน่นทุกครั้ง ในขณะตอกสิ่ว 2.3 ขอขีดไม้มีหมุดที่ทาด้วยโลหะ ดังนั้นเวลาใช้งานขีดไม้ต้องใช้ความระมัดระวัง เพราะถ้าพลาดโดนร่างกาย จะเป็นอันตรายได้ 2.4 ตัวขอขีดไม้ทาจากไม้ ห้ามโยนส่งให้กัน เพราะถ้าพลาดโดนร่างกายอาจบาดเจ็บ หรือถ้าตกหล่นจะเกิดความเสียหายได้ 2.5 ฉากลองและบรรทัดเหล็กทาด้วยโลหะ มีความคมเวลาใช้งานต้องใช้ด้วย ความระมัดระวัง 2.6 ห้ามโยนฉากลองให้กัน พยายามส่งกันมือถึงมือ เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุ
  • 60. 2.7 ปากกาหัวโต๊ะทาด้วยโลหะมีน้าหนักมาก ควรยึดจับให้แน่นกับโต๊ะ 2.8 เวลาบีบจับหรือหนีบไม้ ควรจับชิ้นงานให้แน่นสนิทกับหน้าอัด เพื่อป้ องกัน การลื่นไหล เมื่อหมุนหน้าอัดอีกหน้ามาถึงชิ้นงานจึงปล่อยมือออก 2.9 ในขณะบีบอัด ไม่ควรใช้ส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกายไปอยู่ในช่วงการอัด จะทาให้ได้รับบาดเจ็บ 2.10 เนื่องจากดินสอเป็นของแหลมคมการใช้งานต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทิ่มแทงร่างกาย 2.11 ห้ามนาดินสอใส่กระเป่าเสื้อหรือกระเป๋ ากางเกง เพราะถ้าลืม พลาดหกล้มหรือ นั่งทับ อาจทิ่มแทงโดนร่างกาย 2.12 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับตะไบให้แน่นสนิทกับตัวตะไบก่อนใช้งาน 2.13 ตรวจความเรียบร้อยของด้ามจับสิ่วให้แน่นสนิทกับตัวสิ่ว 2.14 ควรใช้ไม้หรือแท่งพลาสติก ทากาวที่ชิ้นงาน แทนที่จะใช้มือโดยตรง 2.15 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน เพราะกาวอาจกระเด็นเข้าตาหรือปาก ทาให้ได้รับอันตรายได้ 2.16 ไม่หยอกล้อเล่นกันขณะปฏิบัติงาน 3. แบบการเข้าไม้แบบการเข้าเดือย
  • 61. 4. ขั้นตอนการทางาน 4.1 การร่างแบบเดือย 4.1.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริงๆ 4.1.2 กาหนดความยาวของเดือย โดยการใช้บรรทัดเหล็กวัดระยะเข้าไปให้ เท่ากับ 2 ใน 3 เท่าของความกว้างของไม้ชิ้นที่หนาที่สุด จากจุดดังกล่าวใช้ฉากลองและดินสอขีดเส้น ไปโดยรอบ 4.1.3 กาหนดแก้มเดือยส่วนที่บาก ด้วยการปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ให้เท่ากับ 1 ใน 2 ของความหนาของไม้ ลบด้วยความหนาของเดือยที่กาหนด จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนหัวไม้ด้านลึก ให้ทาทั้ง 2 ข้าง
  • 62. 4.1.4 กาหนดบ่าเดือยส่วนที่จะบากทิ้ง ด้วยการปรับ – ตั้งขอขีดไม้ให้เท่ากับ ความหนาของเดือย หรือเท่ากับ 1/2 นิ้ว จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับขอบไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบน หัวไม้ด้านหนา ให้ทาทั้ง 2 ข้าง 4.2 การร่างแบบร่องเดือย 4.2.1 ปรับไม้ให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง ทั้งความกว้าง ความหนา และความยาว ปลายไม้ที่ตัดจะต้องได้ฉากจริงๆ 4.2.2 กาหนดตาแหน่งและขนาดร่องเดือย ด้วยการใช้ขอขีดไม้ดังนี้ - ปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ให้เท่ากับ ระยะบ่าเดือยบวกกับความกว้างของเดือย จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหัวไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนขอบไม้ก็จะได้เส้นที่ 1 - ปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ให้เท่ากับระยะของบ่าเดือย จากนั้นทาบขอขีดไม้ เข้ากับหัวไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนขอบไม้ตัวเดิม ก็จะได้เส้นที่ 2 - ปรับ – ตั้ง ขอขีดไม้ เท่ากับระยะความหนาของแก้มเดือย บวกกับ ความหนาของเดือย จากนั้นทาบขอขีดไม้เข้ากับหน้าไม้ แล้วขีดเส้นลงไปบนขอบไม้ตามยาว ตัดกับ เส้นที่ขีดไว้แล้วข้างต้น ให้ทาทั้ง 2 ข้าง ก็จะได้เส้นที่ 3 และ 4 และแบบของร่องเดือยตามต้องการ
  • 63. 4.3 การเจาะร่องเดือย 4.3.1 เลือกดอกสว่านเจาะร่องเดือย โดยทั่วไปจะต้องเลือกดอกสว่านขนาด เล็กกว่าความกว้างของร่องเดือย 4.3.2 การเจาะรูเดือย โดยเจาะให้ลึกกว่าความยาวของเดือยประมาณ 1/8 นิ้ว 4.3.3 เจาะรูด้วยดอกสว่าน 2- 3 รูแต่ให้อยู่ภายในแบบร่องเดือยที่ร่าง 4.3.4 ถอดสว่านออกจากรูเดือยไม้ที่เจาะ แล้วใช้สิ่วแต่งร่องเดือยให้เรียบ 4.4 การตัดเดือย 4.4.1 ใช้ปากกาหัวโต๊ะ บีบ – จับ ไม้ที่ร่างแบบไว้แล้ว โดยให้ด้านหัวไม้ ที่จะตัดทาเดือยตั้งขึ้น 4.4.2 ใช้เลื่อยรอตัดไปตามเส้นที่ได้ร่างไว้ โดยตัดในเส้นด้านที่จะตัดทิ้ง จนถึงระดับความลึกที่กาหนด ในการตัดอาจมีความจาเป็นต้องคลายปากกาหัวโต๊ะ แล้วบีบ – จับ ชิ้นงานใหม่ในด้านอื่นๆ เพื่อความสะดวกในการเลื่อย