SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
                      เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต



                                   เขาสูบทเรียน
           ออก




เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


                 บทเรียน

                                ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                                        บทนํา
                            สวนประกอบและหนาที่ของเลือด
                                การหมุนเวียนของเลือด
                                     แบบทดสอบ


           ออก




เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


               ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
           1.อธิบายความหมายและเขียนภาพโครงสรางของระบบ
                 หมุนเวียนเลือดได
           2. อธิบายสวนประกอบตลอดจนหนาที่ของเลือดได
           3. ระบุและอธิบายหนาที่ของอวัยวะที่เปนสวนประกอบตาง
                  ของระบบหมุนเวียนเลือดได
           4. ตระหนักถึงความสําคัญของความดันเลือดในรางกาย



          บทเรียน     ออก




                                                                   1
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


                 บทนํา

                ระบบหมุนเวียนโลหิต เปนระบบที่นําสารตาง ๆ ไปยังเซลลทั่วรางกาย
          เชน สารอาหาร แกสตาง ๆ เกลือแร ฮอรโมน และรับของเสียสงออกนอก
          รางกายโดยลําเลียงไปตามเสนเลือด




บทเรียน    ออก




                    เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)




                    สวนประกอบและหนาที่ของเลือด




บทเรียน    ออก




                    เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


                                                      เรียกวา พลาสมา หรือน้ําเลือด
                   สวนที่เปนของเหลว 55 %
                                                      ประกอบดวย น้ํา 91 %
                                                      สารตาง ๆ เอนไซม ฮอรโมน แกส
                                                      ของเสีย ไดแก ยูเรีย CO2
                   สวนประกอบของเลือด
                                                       เม็ดเลือดแดง(Red blood cell )


                     สวนที่เปนของแข็ง 45 %           เม็ดเลือดขาว (White blood cell )

                                                       เกล็ดเลือด(Platelet)
บทเรียน    ออก




                                                                                          2
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)

           เซลลเม็ดเลือดแดง
           (Red blood cell)
           เปนสารประกอบโปรตีน ลักษณะคอนขางกลม มีสีแดง ตรงกลางเวา เมื่อโตเต็มที่
    ไมมีนิวเคลียส มีสารสีแดง เรียกวา ฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็กเปนองคประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน
    สรางที่ ไขกระดูก ทําลายที่ ตับ ในเด็กสรางที่ ตับ มาม
    และไขกระดูก หนาที่ ของเซลลเม็ดเลือดแดง
                       ลําเลียง O2         เซลล
                       ลําเลียง CO2        ปอด
                  ฮีโมโกลบิน + O2         ออกซีฮีโมโกลบิน
                                           (Oxyhemoglobin)
                1 mm3 มีเซลลเม็ดเลือดแดงประมาณ 5 ลานเม็ด
                                                                                      รูป เซลลเม็ดเลือดแดง
บทเรียน       ออก              ที่มา http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php




                        เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)

            เซลลเม็ดเลือดขาว
            (White blood cell )

         ลักษณะ กลม ไมมีสี มีนิวเคลียส ขนาดใหญกวา
    เม็ดเลือดแดงสรางที่ ไขกระดูก มาม และตอมน้ําเลือง
     อายุ 7-14 วัน เม็ดเลือดขาวทําหนาที่ ทําลายเชื้อโรค
    และสิ่งแปลกปลอม


          1 mm3 มีเซลลเม็ดเลือดขาวประมาณ 4,000- 10,000 เม็ด
                                                                                      รูป เซลลเม็ดเลือดขาว

บทเรียน       ออก       ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php




                        เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


            เพลตเลต (Platelet)


                    เพลตเลต หรือ เศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด แผนเลือดไมใชเซลล
               เปนชิ้นสวนของเซลล ไมมีสี ไมมีนิวเคลียสมีรปรางไมแนนอน
                                                             ู
               ขนาดเล็กกวาเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เทา มีอายุ 4 วัน ทําหนาที่
               ชวยในการแข็งตัวของเลือด ในขณะที่เสนเลือดฉีก




บทเรียน       ออก




                                                                                                              3
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


                                                        เกล็ดเลือดสราง

                                              เอนไซมทรอมโบพลาสติน
          โพทรอมบินในเลือด + แคลเซียม                                              ทรอมบิน

  (วิตามิน K เปนตัวเรงปฏิกริยาในการสราง)
                            ิ
                                                            ไฟบริน                      ไฟบริโนเจน
                                      (เสนใยละเอียดสานปดบาดแผล)

                         กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting)


บทเรียน     ออก




                     เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


    กระบวนการแข็งตัวของเลือด




บทเรียน     ออก                          ที่มาของภาพ : สสวท. ชีววิทยาเลม 2 : 88




                     เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)




                              การหมุนเวียนของเลือด




บทเรียน     ออก




                                                                                                     4
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          การหมุนเวียนของเลือด

                  ภายในหลอดเลือดจะถูกควบคุมโดย
          หัวใจ ซึ่งทําหนาที่เหมือนเครื่องสูบฉีด เพื่อ
          ทําใหเกิดแรงดันที่สามารถจะดันใหเลือดไหล
          ไปตามหลอดเลือดตาง ๆ ที่อยู ทั่วรางกาย และ
          สามารถไหลกลับเขาสูหัวใจได ผูคนพบเปน
          คนแรกไดแก นักวิทยาศาสตร ชาวอังกฤษ
          ชื่อ วิลเลี่ยม ฮารวีย
                                                                               รูป การหมุนเวียนของเลือด

บทเรียน      ออก                    ที่มา : http://www.thailabonline.com/section31.htm




                       เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)

     หัวใจ (Heart)
       หัวใจอยูระหวางปอดทั้ง 2 ขาง คอนไปทางซายเล็กนอย ทําหนาที่สูบฉีดเลือดใหไหล
   ตามหลอดเลือดไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย แลวไหลกลับคืนสูหัวใจ
            หัวใจประกอบ ดวยกลามเนื้อพิเศษที่เรียกวา
    กลามเนื้อหัวใจมี 4 หอง แบงออกเปน หองบน 2 หอง
   เรียกวา เอเตรียม (Atrium) หองลาง 2 หอง เรียกวา
   เวนตริเคิล(Ventricle) ระหวางหองบนซาย-ลางซาย
   จะมีลิ้น ไบคัสพิด (bicuspid valve) คั่นอยู
   และหองบนขวา-ลางขวา จะมีลิ้น ไตรคัสพิด
   (tricuspid valve) คั่นอยู ลิ้นหัวใจทําหนาที่
   ปองกันไมใหเลือดไหลยอนกลับ
                                                                             โครงสรางภายในของหัวใจ
บทเรียน      ออก                 ที่มาของภาพ : สสวท. แบบเรียนชีววิทยาเลม 2 : 75




                       เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          วงจรเลือด
                                    เลือดจากสวนตาง ๆ ของรางกาย


          เอเตรียมซาย ผานไบคัสพิด                                     เอเตรียมขวา ผานลินไตรคัสพิด
                                                                                          ้


                    เวนตริเคิลซาย                                                   เวนตริเคิลขวา

                                                           ปอด
บทเรียน      ออก




                                                                                                          5
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)

            สังเกต
      การไหลเวียนของเลือด
       ผานหัวใจตามลูกศร




                                            ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด
บทเรียน    ออก     ที่มาของภาพ: http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php




                     เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          หลอดเลือด

                      หลอดเลือด ทําหนาที่ลําเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะสวนตาง ๆ
            ทั่วรางกาย และเปนเสนทางใหเลือดจากอวัยวะตาง ๆ ทั่วรางกายกลับเขาสูหัวใจ
            หลอดเลือดในรางกายมี 3 ชนิด ไดแก
                   1. หลอดเลือดแดง (Artery)
                   2. หลอดเลือดดํา (Vein)
                   3. หลอดเลือดฝอย (Capillary)




บทเรียน    ออก




                     เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          1. หลอดเลือดแดง (Artery)


                 หลอดเลือดแดง เปนหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังเซลลตาง ๆ
                                                    ํ
           ของรางกาย มีผนังหนาแข็งแรง เพื่อใหมีความทนทานตอแรงดันเลือดที่ถูกฉีด
           ออกไป ไมมีลิ้นกั้นภายใน เลือดที่อยูในหลอดเลือดแดง มีปริมาณแกสออกซิเจน
           มาก เรียกวา “ เลือดแดง ” ยกเวนหลอดเลือดแดงที่นําเลือดออกจากหัวใจไปยังปอด
           ภายในเปนเลือดที่มีปริมาณ แกสคารบอนไดออกไซดมาก เรียกวา “ เลือดดํา ”




บทเรียน    ออก




                                                                                                  6
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          2. หลอดเลือดดํา (Vein)


                  หลอดเลือดดํา เปนหลอดเลือดที่นําเลือดจากสวนตาง ๆ ของรางกายเขาสู
           หัวใจ หลอดเลือดดํามีผนังบางกวาหลอดเลือดแดง มีลิ้นกั้นภายในเพื่อปองกันเลือด
           ไหลยอนกลับ เลือดที่ไหลอยูภายในหลอดเลือดมีปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดมาก
           ยกเวน หลอดเลือดดําที่นําเลือดจากปอดเขาสูหัวใจ จะเปน เลือดแดง




บทเรียน     ออก




                      เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)




                              รูป โครงสรางของหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดํา


บทเรียน     ออก              ที่มา : www.siamcomic.com/scboard/view.php?scbID=29341




                      เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


     3. หลอดเลือดฝอย (Capillary)

        หลอดเลือดฝอย เปนหลอดเลือดที่เชื่อมตอ
    ระหวางหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดํา
    สานเปนรางแหแทรกอยูตามเนื้อเยื่อตาง ๆ ของ
    รางกาย มีขนาดเล็กละเอียด เปนฝอย มีผนัง
    บางมาก ประกอบดวยเซลลเพียงชั้นเดียว
    เปนแหลงที่มีการแลกเปลี่ยนแกสและสารตาง ๆ
    ระหวางเลือดกับเซลลของรางกาย

                                                                                รูป หลอดเลือดฝอย

บทเรียน     ออก                 ที่มา : http://www.npschool.ac.th/~pollaglove/3.html




                                                                                                   7
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          ความดันเลือด (Blood pressure)

                  คือ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ขณะหัวใจบีบตัว
          เลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดแดงดวยความดันสูงทําใหเลือดเคลื่อนที่ไปตาม
          สวนตาง ๆ ของรางกาย และในขณะที่หัวใจคลายตัวเลือดจะไหลกลับเขาสูหัวใจตาม
          หลอดเลือดดําดวยความดันต่ํา ความดันเลือดมีหนวยเปน มิลลิเมตรของปรอทมีคา 
          ตัวเลข 2 คา เชน 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท

                 120 = คาความดันเลือด ขณะหัวใจบีบตัวใหเลือดออกจากหัวใจ (Systolic pressure)
                  80 = คาความดันเลือด ขณะหัวใจคลายตัวรับเลือดเขาสูหัวใจ (Diastolic pressure)

บทเรียน         ออก




                         เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)

          ความรูเพิ่มเติม
              ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีคา 100 + อายุ ความดันเลือด
    ขณะหัวใจรับเลือดไมควรเกิน 90 มิลลิเมตรของปรอท เครื่องมือวัดความดันเลือด เรียกวา
    มาตรความดันเลือด(Sphymonanomiter) ใชคูกับหูฟงหรือ สเตทโทสโคป (Stethoscope)
    วัดความดันที่หลอดเลือดแดงที่ตนแขน




                                                                        เครื่องมือวัดความดันเลือด



บทเรียน         ออก




                         เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          ปจจัยทีมีผลตอความดันเลือด
                  ่

           1. อายุ ผูสูงอายุมีความดันเลือดมากกวาเด็ก เนื่องจากผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุนลดลง
           2.   เพศ ปกติเพศหญิงมีความดันเลือดต่ํากวาเพศชาย ยกเวนหญิงที่กําลังจะหมดประจําเดือน
           3.   ขนาดของรางกาย คนที่รางกายใหญโตหรือคนอวนจะมีความดันเลือดสูงกวาคนผอม
           4.   อารมณ คนที่เครียด วิตกกังวล โกรธ หรือตกใจ จะมีความดันเลือดสูงกวาคนอารมณปกติ
           5.   การทํางาน ทํางานหนักและการออกกําลังกาย จะมีความดันเลือดสูง
           6.   สภาพรางกาย เชน หลอดเลือดตีบ ระดับไขมันในเลือดสูงจะทําใหความดันเลือดสูง


บทเรียน         ออก




                                                                                                    8
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          ความรูเพิ่มเติม


            1. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของหญิงในวัยหนุมสาว คือ 110 / 70 มิลลิเมตรปรอท
            2. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของชายในวัยหนุมสาว คือ 120 / 80 มิลลิเมตรปรอท
            3. โรคความดันเลือดสูงจะพบมากในผูสูงอายุ ผูที่โกรธงาย และผูท่ีมีจิตใจอยูในภาวะ
            เครียดเปนประจํา สาเหตุของโรคที่สําคัญ คือ การตีบตันของหลอดเลือด
            4. อารมณ เชน ขณะโกรธรางกายจะผลิตสารชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งสารนี้จะมีผลตอการ
            บีบตัวของหัวใจ


บทเรียน      ออก




                       เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


          ชีพจร (pulse)

            ชีพจรคือ จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ
   ผนังเสนเลือดตามจังหวะการเตนของหัวใจ โดยปกติ
   หัวใจเตนเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้ง ตอ 1 นาที และอัตรา
   การเตนของชีพจรในเพศชายจะสูงกวาเพศหญิง
   การวัดชีพจรจะวัดจากเสนเลือดแดงบริเวณขอมือ และ
   ขอศอก

                                                               รูป การวัดชีพจรที่ ขอมือ ขอศอก และซอกคอ
บทเรียน      ออก




                       เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)


           การหมุนเวียนแกส


             การหมุนเวียนของแกส ในรางกายจะเกิดควบคูกับการหมุนเวียนของเลือด โดย
    สวนใหญแลวเปนการหมุนเวียนของแกสที่สําคัญ 2 ชนิด คือ แกสออกซิเจน และ แกส
    คารบอนไดออกไซด
             อวัยวะสําคัญที่เกี่ยวของกับการหมุนเวียนของแกส คือ ปอด โดยปอดจะทําหนาที่
    ในการแลกเปลี่ยนแกสระหวางแกสภายในรางกายกับแกสที่อยูภายนอกรางกาย



บทเรียน      ออก




                                                                                                           9
เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System)




                       รูป การแลกเปลี่ยนแกสกับการลําเลียงแกส

บทเรียน   ออก               ที่มาของภาพ : สสวท. ชีววิทยาเลม2 : 50




                                                                     10

Contenu connexe

Tendances

น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกันน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกันwaratree wanapanubese
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetJiradet Dongroong
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตThaweekoon Intharachai
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2Pinutchaya Nakchumroon
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemพัน พัน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 

Tendances (20)

น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกันน้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
น้ำเหลืองและภูมิคุ้มกัน
 
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือดPpt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
Ppt circuratory ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by JiradetUrinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
Urinary (นำเสนอข้อมูลจาก CD) Physiology by Jiradet
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
Excretory system ม.5
Excretory system ม.5Excretory system ม.5
Excretory system ม.5
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม.2
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
ระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory systemระบบขับถ่าย Excretory system
ระบบขับถ่าย Excretory system
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 

En vedette

สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressการนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressTeemtaro Chaiwongkhot
 

En vedette (7)

Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๑)(1)
 
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpressการนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
การนำ spreadsheet ไปบันทึกคะแนนและเผยแพร่ใน wordpress
 

Similaire à Heart

หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdfYhu Lawan
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด Krupol Phato
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายTa Lattapol
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
กาย่า presentation
กาย่า presentationกาย่า presentation
กาย่า presentationCrystalpet
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตPodjaman Jongkaijak
 

Similaire à Heart (20)

หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
Body system
Body systemBody system
Body system
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
3.หมุนเวียนเลือดและน้ำเหลือง.pdf
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
Hemodynamic disorder
Hemodynamic disorderHemodynamic disorder
Hemodynamic disorder
 
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
บทเรียนสำเร็จรูประบบไหลเวียนเลือด
 
Powp08
Powp08Powp08
Powp08
 
รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5รักษาดุลม.5
รักษาดุลม.5
 
B08
B08B08
B08
 
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกายบทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
บทที่ 1 การรักษาดุลยภาพในร่างกาย
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
กาย่า presentation
กาย่า presentationกาย่า presentation
กาย่า presentation
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

Plus de Nattapong Boonpong

เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)Nattapong Boonpong
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5Nattapong Boonpong
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6Nattapong Boonpong
 
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554Nattapong Boonpong
 
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษหลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษNattapong Boonpong
 
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อNattapong Boonpong
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6Nattapong Boonpong
 

Plus de Nattapong Boonpong (20)

เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
Infographic
InfographicInfographic
Infographic
 
VDO Training
VDO TrainingVDO Training
VDO Training
 
Taxonomy test
Taxonomy testTaxonomy test
Taxonomy test
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.5
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
Genetics
GeneticsGenetics
Genetics
 
Admiss
AdmissAdmiss
Admiss
 
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
คะแนนโอเน็ต ม.6 ปีการศึกษา 2554
 
Tour of Cell
Tour of CellTour of Cell
Tour of Cell
 
Kingdom Protista
Kingdom ProtistaKingdom Protista
Kingdom Protista
 
Monera
MoneraMonera
Monera
 
Law
LawLaw
Law
 
Dichotomous key
Dichotomous keyDichotomous key
Dichotomous key
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษหลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
หลักการเทียบภาษาไทยเป้นภาษาอังกฤษ
 
10 bangkok192
10 bangkok19210 bangkok192
10 bangkok192
 
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
ฮอร์โมนและระบบต่อมไร้ท่อ
 
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อบทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
บทที่ 9 ระบบต่อมไร้ท่อ
 
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
ข้อสอบซ่อม ชีววิทยา 4 ม.6
 

Heart

  • 1. บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต เขาสูบทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) บทเรียน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง บทนํา สวนประกอบและหนาที่ของเลือด การหมุนเวียนของเลือด แบบทดสอบ ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1.อธิบายความหมายและเขียนภาพโครงสรางของระบบ หมุนเวียนเลือดได 2. อธิบายสวนประกอบตลอดจนหนาที่ของเลือดได 3. ระบุและอธิบายหนาที่ของอวัยวะที่เปนสวนประกอบตาง ของระบบหมุนเวียนเลือดได 4. ตระหนักถึงความสําคัญของความดันเลือดในรางกาย บทเรียน ออก 1
  • 2. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) บทนํา ระบบหมุนเวียนโลหิต เปนระบบที่นําสารตาง ๆ ไปยังเซลลทั่วรางกาย เชน สารอาหาร แกสตาง ๆ เกลือแร ฮอรโมน และรับของเสียสงออกนอก รางกายโดยลําเลียงไปตามเสนเลือด บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) สวนประกอบและหนาที่ของเลือด บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) เรียกวา พลาสมา หรือน้ําเลือด สวนที่เปนของเหลว 55 % ประกอบดวย น้ํา 91 % สารตาง ๆ เอนไซม ฮอรโมน แกส ของเสีย ไดแก ยูเรีย CO2 สวนประกอบของเลือด เม็ดเลือดแดง(Red blood cell ) สวนที่เปนของแข็ง 45 % เม็ดเลือดขาว (White blood cell ) เกล็ดเลือด(Platelet) บทเรียน ออก 2
  • 3. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) เซลลเม็ดเลือดแดง (Red blood cell) เปนสารประกอบโปรตีน ลักษณะคอนขางกลม มีสีแดง ตรงกลางเวา เมื่อโตเต็มที่ ไมมีนิวเคลียส มีสารสีแดง เรียกวา ฮีโมโกลบิน มีธาตุเหล็กเปนองคประกอบ มีอายุ 110 - 120 วัน สรางที่ ไขกระดูก ทําลายที่ ตับ ในเด็กสรางที่ ตับ มาม และไขกระดูก หนาที่ ของเซลลเม็ดเลือดแดง ลําเลียง O2 เซลล ลําเลียง CO2 ปอด ฮีโมโกลบิน + O2 ออกซีฮีโมโกลบิน (Oxyhemoglobin) 1 mm3 มีเซลลเม็ดเลือดแดงประมาณ 5 ลานเม็ด รูป เซลลเม็ดเลือดแดง บทเรียน ออก ที่มา http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) เซลลเม็ดเลือดขาว (White blood cell ) ลักษณะ กลม ไมมีสี มีนิวเคลียส ขนาดใหญกวา เม็ดเลือดแดงสรางที่ ไขกระดูก มาม และตอมน้ําเลือง อายุ 7-14 วัน เม็ดเลือดขาวทําหนาที่ ทําลายเชื้อโรค และสิ่งแปลกปลอม 1 mm3 มีเซลลเม็ดเลือดขาวประมาณ 4,000- 10,000 เม็ด รูป เซลลเม็ดเลือดขาว บทเรียน ออก ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) เพลตเลต (Platelet) เพลตเลต หรือ เศษเม็ดเลือด เกล็ดเลือด แผนเลือดไมใชเซลล เปนชิ้นสวนของเซลล ไมมีสี ไมมีนิวเคลียสมีรปรางไมแนนอน ู ขนาดเล็กกวาเม็ดเลือดแดงเกือบ 4 เทา มีอายุ 4 วัน ทําหนาที่ ชวยในการแข็งตัวของเลือด ในขณะที่เสนเลือดฉีก บทเรียน ออก 3
  • 4. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) เกล็ดเลือดสราง เอนไซมทรอมโบพลาสติน โพทรอมบินในเลือด + แคลเซียม ทรอมบิน (วิตามิน K เปนตัวเรงปฏิกริยาในการสราง) ิ ไฟบริน ไฟบริโนเจน (เสนใยละเอียดสานปดบาดแผล) กระบวนการแข็งตัวของเลือด (blood clotting) บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) กระบวนการแข็งตัวของเลือด บทเรียน ออก ที่มาของภาพ : สสวท. ชีววิทยาเลม 2 : 88 เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) การหมุนเวียนของเลือด บทเรียน ออก 4
  • 5. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) การหมุนเวียนของเลือด ภายในหลอดเลือดจะถูกควบคุมโดย หัวใจ ซึ่งทําหนาที่เหมือนเครื่องสูบฉีด เพื่อ ทําใหเกิดแรงดันที่สามารถจะดันใหเลือดไหล ไปตามหลอดเลือดตาง ๆ ที่อยู ทั่วรางกาย และ สามารถไหลกลับเขาสูหัวใจได ผูคนพบเปน คนแรกไดแก นักวิทยาศาสตร ชาวอังกฤษ ชื่อ วิลเลี่ยม ฮารวีย รูป การหมุนเวียนของเลือด บทเรียน ออก ที่มา : http://www.thailabonline.com/section31.htm เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) หัวใจ (Heart) หัวใจอยูระหวางปอดทั้ง 2 ขาง คอนไปทางซายเล็กนอย ทําหนาที่สูบฉีดเลือดใหไหล ตามหลอดเลือดไปยังสวนตาง ๆ ของรางกาย แลวไหลกลับคืนสูหัวใจ หัวใจประกอบ ดวยกลามเนื้อพิเศษที่เรียกวา กลามเนื้อหัวใจมี 4 หอง แบงออกเปน หองบน 2 หอง เรียกวา เอเตรียม (Atrium) หองลาง 2 หอง เรียกวา เวนตริเคิล(Ventricle) ระหวางหองบนซาย-ลางซาย จะมีลิ้น ไบคัสพิด (bicuspid valve) คั่นอยู และหองบนขวา-ลางขวา จะมีลิ้น ไตรคัสพิด (tricuspid valve) คั่นอยู ลิ้นหัวใจทําหนาที่ ปองกันไมใหเลือดไหลยอนกลับ โครงสรางภายในของหัวใจ บทเรียน ออก ที่มาของภาพ : สสวท. แบบเรียนชีววิทยาเลม 2 : 75 เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) วงจรเลือด เลือดจากสวนตาง ๆ ของรางกาย เอเตรียมซาย ผานไบคัสพิด เอเตรียมขวา ผานลินไตรคัสพิด ้ เวนตริเคิลซาย เวนตริเคิลขวา ปอด บทเรียน ออก 5
  • 6. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) สังเกต การไหลเวียนของเลือด ผานหัวใจตามลูกศร ภาพเคลื่อนไหวการไหลเวียนของเลือด บทเรียน ออก ที่มาของภาพ: http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson2.php เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) หลอดเลือด หลอดเลือด ทําหนาที่ลําเลียงเลือดจากหัวใจไปยังอวัยวะสวนตาง ๆ ทั่วรางกาย และเปนเสนทางใหเลือดจากอวัยวะตาง ๆ ทั่วรางกายกลับเขาสูหัวใจ หลอดเลือดในรางกายมี 3 ชนิด ไดแก 1. หลอดเลือดแดง (Artery) 2. หลอดเลือดดํา (Vein) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary) บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) 1. หลอดเลือดแดง (Artery) หลอดเลือดแดง เปนหลอดเลือดที่นาเลือดออกจากหัวใจไปยังเซลลตาง ๆ ํ ของรางกาย มีผนังหนาแข็งแรง เพื่อใหมีความทนทานตอแรงดันเลือดที่ถูกฉีด ออกไป ไมมีลิ้นกั้นภายใน เลือดที่อยูในหลอดเลือดแดง มีปริมาณแกสออกซิเจน มาก เรียกวา “ เลือดแดง ” ยกเวนหลอดเลือดแดงที่นําเลือดออกจากหัวใจไปยังปอด ภายในเปนเลือดที่มีปริมาณ แกสคารบอนไดออกไซดมาก เรียกวา “ เลือดดํา ” บทเรียน ออก 6
  • 7. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) 2. หลอดเลือดดํา (Vein) หลอดเลือดดํา เปนหลอดเลือดที่นําเลือดจากสวนตาง ๆ ของรางกายเขาสู หัวใจ หลอดเลือดดํามีผนังบางกวาหลอดเลือดแดง มีลิ้นกั้นภายในเพื่อปองกันเลือด ไหลยอนกลับ เลือดที่ไหลอยูภายในหลอดเลือดมีปริมาณแกสคารบอนไดออกไซดมาก ยกเวน หลอดเลือดดําที่นําเลือดจากปอดเขาสูหัวใจ จะเปน เลือดแดง บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) รูป โครงสรางของหลอดเลือดแดง และหลอดเลือดดํา บทเรียน ออก ที่มา : www.siamcomic.com/scboard/view.php?scbID=29341 เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) 3. หลอดเลือดฝอย (Capillary) หลอดเลือดฝอย เปนหลอดเลือดที่เชื่อมตอ ระหวางหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดํา สานเปนรางแหแทรกอยูตามเนื้อเยื่อตาง ๆ ของ รางกาย มีขนาดเล็กละเอียด เปนฝอย มีผนัง บางมาก ประกอบดวยเซลลเพียงชั้นเดียว เปนแหลงที่มีการแลกเปลี่ยนแกสและสารตาง ๆ ระหวางเลือดกับเซลลของรางกาย รูป หลอดเลือดฝอย บทเรียน ออก ที่มา : http://www.npschool.ac.th/~pollaglove/3.html 7
  • 8. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ความดันเลือด (Blood pressure) คือ ความดันที่เกิดจากการบีบตัวและคลายตัวของหัวใจ ขณะหัวใจบีบตัว เลือดจะถูกดันออกไปตามหลอดเลือดแดงดวยความดันสูงทําใหเลือดเคลื่อนที่ไปตาม สวนตาง ๆ ของรางกาย และในขณะที่หัวใจคลายตัวเลือดจะไหลกลับเขาสูหัวใจตาม หลอดเลือดดําดวยความดันต่ํา ความดันเลือดมีหนวยเปน มิลลิเมตรของปรอทมีคา  ตัวเลข 2 คา เชน 120 / 80 มิลลิเมตรของปรอท 120 = คาความดันเลือด ขณะหัวใจบีบตัวใหเลือดออกจากหัวใจ (Systolic pressure) 80 = คาความดันเลือด ขณะหัวใจคลายตัวรับเลือดเขาสูหัวใจ (Diastolic pressure) บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ความรูเพิ่มเติม ปกติความดันเลือดสูงสุดขณะหัวใจบีบตัว มีคา 100 + อายุ ความดันเลือด ขณะหัวใจรับเลือดไมควรเกิน 90 มิลลิเมตรของปรอท เครื่องมือวัดความดันเลือด เรียกวา มาตรความดันเลือด(Sphymonanomiter) ใชคูกับหูฟงหรือ สเตทโทสโคป (Stethoscope) วัดความดันที่หลอดเลือดแดงที่ตนแขน เครื่องมือวัดความดันเลือด บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ปจจัยทีมีผลตอความดันเลือด ่ 1. อายุ ผูสูงอายุมีความดันเลือดมากกวาเด็ก เนื่องจากผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุนลดลง 2. เพศ ปกติเพศหญิงมีความดันเลือดต่ํากวาเพศชาย ยกเวนหญิงที่กําลังจะหมดประจําเดือน 3. ขนาดของรางกาย คนที่รางกายใหญโตหรือคนอวนจะมีความดันเลือดสูงกวาคนผอม 4. อารมณ คนที่เครียด วิตกกังวล โกรธ หรือตกใจ จะมีความดันเลือดสูงกวาคนอารมณปกติ 5. การทํางาน ทํางานหนักและการออกกําลังกาย จะมีความดันเลือดสูง 6. สภาพรางกาย เชน หลอดเลือดตีบ ระดับไขมันในเลือดสูงจะทําใหความดันเลือดสูง บทเรียน ออก 8
  • 9. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ความรูเพิ่มเติม 1. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของหญิงในวัยหนุมสาว คือ 110 / 70 มิลลิเมตรปรอท 2. ความดันเลือดเฉลี่ยปกติของชายในวัยหนุมสาว คือ 120 / 80 มิลลิเมตรปรอท 3. โรคความดันเลือดสูงจะพบมากในผูสูงอายุ ผูที่โกรธงาย และผูท่ีมีจิตใจอยูในภาวะ เครียดเปนประจํา สาเหตุของโรคที่สําคัญ คือ การตีบตันของหลอดเลือด 4. อารมณ เชน ขณะโกรธรางกายจะผลิตสารชนิดหนึ่งออกมา ซึ่งสารนี้จะมีผลตอการ บีบตัวของหัวใจ บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) ชีพจร (pulse) ชีพจรคือ จังหวะการบีบตัวและคลายตัวของ ผนังเสนเลือดตามจังหวะการเตนของหัวใจ โดยปกติ หัวใจเตนเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้ง ตอ 1 นาที และอัตรา การเตนของชีพจรในเพศชายจะสูงกวาเพศหญิง การวัดชีพจรจะวัดจากเสนเลือดแดงบริเวณขอมือ และ ขอศอก รูป การวัดชีพจรที่ ขอมือ ขอศอก และซอกคอ บทเรียน ออก เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) การหมุนเวียนแกส การหมุนเวียนของแกส ในรางกายจะเกิดควบคูกับการหมุนเวียนของเลือด โดย สวนใหญแลวเปนการหมุนเวียนของแกสที่สําคัญ 2 ชนิด คือ แกสออกซิเจน และ แกส คารบอนไดออกไซด อวัยวะสําคัญที่เกี่ยวของกับการหมุนเวียนของแกส คือ ปอด โดยปอดจะทําหนาที่ ในการแลกเปลี่ยนแกสระหวางแกสภายในรางกายกับแกสที่อยูภายนอกรางกาย บทเรียน ออก 9
  • 10. เรื่อง ระบบหมุนเวียนโลหิต (Circulatory System) รูป การแลกเปลี่ยนแกสกับการลําเลียงแกส บทเรียน ออก ที่มาของภาพ : สสวท. ชีววิทยาเลม2 : 50 10