SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  22
โดย นางสาวณัฐมน  เดชมา คณะศึกษาศาสตร์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)    ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีผลต่อความคงทนในการเรียนรู้   เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์  และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน   เรื่อง สารละลายกรด - เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1
ความสำคัญของปัญหา ,[object Object],[object Object],ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน  (O-NET)   นักเรียนโรงเรียน อยุธยาวิทยาลัย ได้คะแนนวิชาวิทยาศาสตร์ได้คะแนนเฉลี่ย  29.16  นักเรียนไม่สามารถนำความรู้ต่างๆ ที่เคยเรียนมาแล้ว มาเชื่อมโยงกับความรู้ใหม่ที่จะสอนได้ และนักเรียนส่วนใหญ่ไม่ค่อยชอบวิชาวิทยาศาสตร์
ความสำคัญของปัญหา ,[object Object],[object Object],แผนผังมโนทัศน์ การจัดการเรียนรู้แบบ สืบเสาะหาความรู้
ความสำคัญของปัญหา ,[object Object],ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการเรียนรู้  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์
คำถามการวิจัย 1.  การจัดการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์มีลักษณะอย่างไรที่จะพัฒนาความคงทนในการเรียนรู้  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง  สารละลายกรด - เบส  2.  นักเรียนมีความคงทนในการเรียนรู้  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  เรื่อง  สารละลายกรด - เบส  อย่างไร เมื่อเรียนรู้จากการจัดการเรียนรู้ด้วย วัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  ( 7E)  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีผลต่อความคงทนในการเรียนรู้  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1
ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ขอบเขตด้านแนวคิดการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีผลต่อความคงทนในการเรียนรู้  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  ซึ่งหมายถึง  การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์  7   ขั้นตอน ที่เน้นกระบวนการสืบสอบ และนำแผนผังมโนทัศน์ใช้ในขั้นตอนที่   4  ของการสอน
ขอบเขตของการวิจัย - ใช้เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  เรื่อง สารละลายกรด - เบส  - ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้  12  คาบคาบละ  50  นาที ในภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2554   - ใช้กลุ่มที่ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  1  ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา  สังกัดสำนักงานเขตมัธยมศึกษา เขต  3 ขอบเขตด้านเวลา  เนื้อหา  และกลุ่มที่ศึกษา
ขอบเขตของการวิจัย ได้แก่  1.  แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฎจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์  2.  ความคงทนในการเรียนรู้ 3.  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์  4.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขอบเขตด้านตัวแปรที่ศึกษา
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 1.  ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้ได้แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในเนื้อหา และระดับชั้นอื่นๆ โดยใช้วัฎจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์  2.  ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ที่มีความสนใจจะพัฒนาทักษะด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพสูงสุด
นิยามศัพท์ 1.  ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์  หมายถึง  ลักษณะคำตอบของนักเรียนที่แสดงถึงความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนในวิชาวิทยาศาสตร์  วัดได้จากแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน  เรื่องสารละลายกรด - เบส  ที่เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ มี  4  ตัวเลือก ที่วัดด้านความเข้าใจ  การคิดวิเคราะห์ และการนำไปใช้  ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบบันทึกการเรียนรู้  และใบกิจกรรมแผนผังมโนทัศน์ของนักเรียน  2.  เจตคติต่อวิทยาศาสตร์  หมายถึง ความรู้สึกหรือความคิดเห็นของนักเรียน ใน   2  ส่วน คือความรู้สึกหรือความคิดเห็นที่มีต่อครูวิทยาศาสตร์ และความรู้สึกหรือความคิดเห็นที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โดยในการวิจัยครั้งนี้ทำการวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนใน   5  ด้าน ซึ่งประกอบด้วย   1)  ความรู้สึกต่อวิทยาศาสตร์โดยทั่วไป   2)  ความรู้สึกถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร์ 3)  ความนิยมชมชอบวิทยาศาสตร์   4)  ความสนใจต่อวิทยาศาสตร์ และ   5)  การแสดงออกหรือการมีส่วนร่วมในกิจกรรมวิทยาศาสตร์
นิยามศัพท์ 3.  ความคงทนในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  หมายถึง  ความสามารถในการคงไว้ซึ่งความรู้ความเข้าใจในการเรียนวิทยาศาสตร์   เรื่อง  สารละลายกรด - เบส  ในระยะเวลา  2  สัปดาห์  ซึ่งวัดจากการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ความเข้าใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ ระหว่างการทดสอบและหลังเรียนทันที  และทดสอบหลังเรียน  2  สัปดาห์  โดยใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น  ซึ่งหากค่าเฉลี่ยของคะแนนจากการทดสอบ  2  ครั้ง ไม่แตกต่างกัน แสดงว่า  ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
นิยามศัพท์ 4.  การจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้   7E  ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์  หมายถึง รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะแบบหนึ่งที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้วิธีการสืบเสาะหาความรู้เชิงวิทยาศาสตร์   (Inquiry approach)  ที่ต้องอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นพบความรู้หรือประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความหมายด้วยตนเอง แบ่งการสอนออกเป็น   7  ขั้นตอน และนำแผนผังมโนทัศน์มาใช้ขั้นที่  4  ของการสอน ดังนี้   1.  ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม 2.  ขั้นเร้าความสนใจ 3.  ขั้นสำรวจและค้นหา 4.  ขั้นอธิบาย   หมายถึง ขั้นที่นักเรียนนำข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนำเสนอผลที่ได้ในรูปแบบของแผนผังมโนทัศน์ 5.  ขั้นขยายความคิด 6.  ขั้นประเมินผล 7.  ขั้นนำความรู้ไปใช้
ทบทวนวรรณกรรม 1.  แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้  1.1  ความหมายของการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้ 1.2  ประเภทของการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้ 1.3  ความหมายของวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  1.4  ความเป็นมาและแนวคิดสำคัญของวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  1.5  ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)   ร่วมกับการใช้ แผนผังมโนทัศน์  1.6  งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้  7  ขั้นตอน  (7E)  2.  แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแผนผังมโนทัศน์ 3.  แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการความคงทนในการเรียนรู้ 4.  แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ 5.  แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับเจคติต่อวิทยาศาสตร์
วิธีดำเนินการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
วิธีดำเนินการวิจัย ,[object Object],[object Object]
3.  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4.  การเก็บรวบรวมข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4.  การเก็บรวบรวมข้อมูล ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
5.  การวิเคราะห์ข้อมูล  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
5.  การวิเคราะห์ข้อมูล  ,[object Object],[object Object],[object Object]
 

Contenu connexe

Tendances

วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558Anusara Sensai
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพKamolthip Boonpo
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติWichai Likitponrak
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Worachot Piyanatpool
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนWiparat Khangate
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตWichai Likitponrak
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57Aphitsada Phothiklang
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์Anusara Sensai
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษานางมยุรี เซนักค้า
 

Tendances (19)

วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
วิจัย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติวิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
วิจัยในชั้นเรียนตรีโกณมิติ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์วิธีสอนวิทยาศาสตร์
วิธีสอนวิทยาศาสตร์
 
สังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียนสังเกตชั้นเรียน
สังเกตชั้นเรียน
 
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิตงานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
งานวิจัยในชั้นเรียนต้นทุนชีวิต
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียน วิทยาศาสตร์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษางานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
งานBest practice ครูมยุรี โรงเรียนวัดโบสถ์ศึกษา
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 

Similaire à 7 E

นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)sopa sangsuy
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรmaturos1984
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3sopa sangsuy
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 

Similaire à 7 E (20)

01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
002ชุดการเรียนรู้ชุดที่2(1)
 
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตรความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
ความหมาย ความสำคัญของหลักสูตร
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
003ชุดการเรียนรู้ชุดที่3
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 

7 E

  • 1. โดย นางสาวณัฐมน เดชมา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ การศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีผลต่อความคงทนในการเรียนรู้ เจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5. คำถามการวิจัย 1. การจัดการเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์มีลักษณะอย่างไรที่จะพัฒนาความคงทนในการเรียนรู้ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส 2. นักเรียนมีความคงทนในการเรียนรู้ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส อย่างไร เมื่อเรียนรู้จากการจัดการเรียนรู้ด้วย วัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน ( 7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์
  • 6. วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีผลต่อความคงทนในการเรียนรู้ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
  • 7. ขอบเขตของการวิจัย ขอบเขตของแนวคิดในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอน ขอบเขตด้านแนวคิดการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ที่มีผลต่อความคงทนในการเรียนรู้ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง สารละลายกรด - เบส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งหมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 7 ขั้นตอน ที่เน้นกระบวนการสืบสอบ และนำแผนผังมโนทัศน์ใช้ในขั้นตอนที่ 4 ของการสอน
  • 8. ขอบเขตของการวิจัย - ใช้เนื้อหาในกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สารละลายกรด - เบส - ใช้เวลาในการจัดการเรียนรู้ 12 คาบคาบละ 50 นาที ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 - ใช้กลุ่มที่ศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดสำนักงานเขตมัธยมศึกษา เขต 3 ขอบเขตด้านเวลา เนื้อหา และกลุ่มที่ศึกษา
  • 9. ขอบเขตของการวิจัย ได้แก่ 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้ด้วยวัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ 2. ความคงทนในการเรียนรู้ 3. เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ขอบเขตด้านตัวแปรที่ศึกษา
  • 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย 1. ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้ได้แนวทางในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในเนื้อหา และระดับชั้นอื่นๆ โดยใช้วัฎจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ 2. ผลการวิจัยสามารถใช้เป็นแนวทางให้ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มีความสนใจจะพัฒนาทักษะด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพสูงสุด
  • 11. นิยามศัพท์ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ หมายถึง ลักษณะคำตอบของนักเรียนที่แสดงถึงความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่เรียนในวิชาวิทยาศาสตร์ วัดได้จากแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องสารละลายกรด - เบส ที่เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ มี 4 ตัวเลือก ที่วัดด้านความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์ และการนำไปใช้ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบบันทึกการเรียนรู้ และใบกิจกรรมแผนผังมโนทัศน์ของนักเรียน 2. เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกหรือความคิดเห็นของนักเรียน ใน 2 ส่วน คือความรู้สึกหรือความคิดเห็นที่มีต่อครูวิทยาศาสตร์ และความรู้สึกหรือความคิดเห็นที่มีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ โดยในการวิจัยครั้งนี้ทำการวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนใน 5 ด้าน ซึ่งประกอบด้วย 1) ความรู้สึกต่อวิทยาศาสตร์โดยทั่วไป 2) ความรู้สึกถึงความสำคัญของวิทยาศาสตร์ 3) ความนิยมชมชอบวิทยาศาสตร์ 4) ความสนใจต่อวิทยาศาสตร์ และ 5) การแสดงออกหรือการมีส่วนร่วมในกิจกรรมวิทยาศาสตร์
  • 12. นิยามศัพท์ 3. ความคงทนในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการคงไว้ซึ่งความรู้ความเข้าใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารละลายกรด - เบส ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ ซึ่งวัดจากการเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ความเข้าใจในการเรียนวิทยาศาสตร์ ระหว่างการทดสอบและหลังเรียนทันที และทดสอบหลังเรียน 2 สัปดาห์ โดยใช้แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งหากค่าเฉลี่ยของคะแนนจากการทดสอบ 2 ครั้ง ไม่แตกต่างกัน แสดงว่า ผู้เรียนมีความคงทนในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
  • 13. นิยามศัพท์ 4. การจัดการเรียนรู้แบบวัฎจักรการเรียนรู้ 7E ร่วมกับการใช้แผนผังมโนทัศน์ หมายถึง รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะแบบหนึ่งที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถใช้วิธีการสืบเสาะหาความรู้เชิงวิทยาศาสตร์ (Inquiry approach) ที่ต้องอาศัยทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นพบความรู้หรือประสบการณ์การเรียนรู้อย่างมีความหมายด้วยตนเอง แบ่งการสอนออกเป็น 7 ขั้นตอน และนำแผนผังมโนทัศน์มาใช้ขั้นที่ 4 ของการสอน ดังนี้ 1. ขั้นตรวจสอบความรู้เดิม 2. ขั้นเร้าความสนใจ 3. ขั้นสำรวจและค้นหา 4. ขั้นอธิบาย หมายถึง ขั้นที่นักเรียนนำข้อมูล ข้อสนเทศที่ได้มาวิเคราะห์ แปลผล สรุปผล และนำเสนอผลที่ได้ในรูปแบบของแผนผังมโนทัศน์ 5. ขั้นขยายความคิด 6. ขั้นประเมินผล 7. ขั้นนำความรู้ไปใช้
  • 14. ทบทวนวรรณกรรม 1. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับการ จัดการเรียนรู้ แบบสืบเสาะหาความรู้ 1.1 ความหมายของการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้ 1.2 ประเภทของการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีสืบเสาะหาความรู้ 1.3 ความหมายของวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) 1.4 ความเป็นมาและแนวคิดสำคัญของวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) 1.5 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) ร่วมกับการใช้ แผนผังมโนทัศน์ 1.6 งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน (7E) 2. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับแผนผังมโนทัศน์ 3. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องการความคงทนในการเรียนรู้ 4. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ 5. แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกับเจคติต่อวิทยาศาสตร์
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.