SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  75
Télécharger pour lire hors ligne
แผนที่โลก
อเมริกาเหนือเป็นทวีป ซึ่งแต่เดิมยังไม่มีคนรู้จักจนกระทั่งมีนักเดินเรือ
ชาวอิตาเลียนชื่อ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ( Christopher Comlubus ) ได้เดินทาง
มาพบเกาะบริเวณที่เป็นหมู่เกาะอินดีสตะวันตก ใน พ.ศ. 2035 และเข้าใจว่า
ดินแดนใหม่ที่เขาพบนั้นเป็นส่วนหนึ่งของทวีปเอเชีย
        ต่อมา พ.ศ. 2042 อเมริโก เวสปุชชี ( Amerigo Vespucci )
ชาวอิตาเลียนได้เดินทางสารวจดินแดนที่โคลัมบัสเคยสารวจมาแล้ว จึงทราบ
ว่าดินแดนที่พบนั้นเป็นทวีปใหม่ ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของทวีปเอเชียตามที่โคลัมบัส
เข้าใจและเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่เขา ชาวยุโรปจึงตั้งชื่อทวีปใหม่นี้ว่า
 อเมริกา ( America )
ลักษณะทางกายภาพของ
   ทวีปอเมริกาเหนือ


ที่ตั้ง อาณาเขต และขนาด
การแบ่งภูมภาคของทวีปอเมริกาเหนือ
            ิ
ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิอากาศ
ทรัพยากรธรรมชาติ
ที่ตั้ง อาณาเขต
       และขนาด
                ที่ตั้ง
           ทวีปอเมริกาเหนื อ ตั้ง อยู่ ในเขตซีกโลกเหนือทั้ง หมด คือ อยู่
           ระหว่างละติจูด 7 องศาเหนือ ถึง 84 องศาเหนือ และระหว่าง
           ลองจิ จู ด 53 องศาตะวั น ตก ถึ ง 167 องศาตะวั น ตกหรื อ
           มีพื้นที่อยู่ตั้งแต่ เขตทรอปิกขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ
    ขนาด
ทวีปอเมริกาเหนือมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก มีเนื้อที่ประมาณ
24,000,000 ตารางกิโลเมตร รูปร่างของทวีปอเมริกาเหนือคล้ายรูปสามเหลี่ยม
หัวกลับ คือ มีฐานกว้างอยู่ทางเหนือและมียอดของสามเหลี่ยมอยู่ทางใต้
อาณาเขต
  ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ติ ด ต่ อ กั บ ม ห า
สมุทรแอตแลนติก มีเกาะที่สาคัญ
 ได้แก่ เกาะนิวฟันด์แลนด์
เกาะเบอร์มิวดา และหมู่เกาะบาฮามาส
ทิศใต้ ติดต่อกับทวีปอเมริกาใต้
มีคลองปานามาเป็นแนวแบ่งเขตทวีป
น่านน้าทางทิศใต้ ได้แก่ มหาสมุทร
แปซิฟิกกับทะเลแคริบเบียน และอ่าว
เม็กซิโกในมหาสมุทรแอตแลนติก
ส่วนดินแดนทางทิศใต้ ได้แก่ หมู่เกาะ
เวสต์อินดีส เกาะที่สาคัญมี คิวบา
ฮิสปันโยลา จาเมกา เปอร์โตริโก
ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทร
แปซิฟิก ทางตอนเหนือของทวีปมี
ช่องแคบเบริงคั่นระหว่างทวีปอเมริกา
เหนือกับทวีปเอเชีย มีคาบสมุทรที่
สาคัญ คือ คาบสมุทรแคลิฟอร์เนีย
 และคาบสมุทรอะแลสกา น่านน้าที่
สาคัญ ได้แก่ ทะเลเบริง อ่าวอะแลสกา
อ่าวแคลิฟอร์เนีย เกาะที่สาคัญ ได้แก่
เกาะแวนคูเวอร์ หมู่เกาะอาลูเชียน
 และหมู่เกาะควีนชาร์ล็อต
การแบ่งภูมิภาค


             อเมริกาเหนือแบ่งตาม
             สภาพสังคมวัฒนธรรม
             มี 2 ส่วน ได้แก่ แองโกล
            อเมริกาและละตินอเมริกา
โดยถือเอาแม่น้าริโอแกรนด์ เป็นพรม
แดนระหว่างเม็กซิโกกับสหรัฐอเมริกา
เป็นแนวแบ่ง
ลักษณะภูมิ
  ประเทศ
             ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 4 เขต
                เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
                เขตที่ราบภาคกลาง
                เขตหินเก่าแคนาดา
                เขตเทือกเขาภาคตะวันออก
เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก
เป็นเขตเทือกเขาสูงที่สลับซับซ้อนกันหลายแนวที่เกิดจาก
การโก่งตัวของเปลือกโลกที่มีอายุน้อยจึงเป็นเขตที่มักเกิด
ปรากฏการณ์แผ่นดินไหว มีอาณาบริเวณตั้งแต่ตอนเหนือ
สุดของช่องแคบเบริงจนถึงประเทศปานามา ได้แก่ เทือก
เขาอะแลสกา มียอดเขาสูงสุดในทวีปอเมริกเหนือ ชื่อ
ยอดเขาแมกคินลีย์ (6,190 เมตร) เทือกเขารอกกี เทือกเขา
แคสเกต เทือกเขาเซียราเนวาดา เทือกเขาเซียรามาเดร
และเทือกเขาโคสต์ระหว่างเทือกเขาสูงเหล่ามีที่ราบสูง
ระหว่างเทือกเขาที่สาคัญ คือ ที่ราบสูงอะแลสกา ที่ราบสูง
บริติชโคลัมเบีย ที่ราบสูงเกรตเบซิน ที่ราบสูงโคโลราโด
และที่ราบสูงเม็กซิโก โดยเฉพาะที่ราบสูงโคโลราโด มี
ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นโกรกธาร หุบเหวลึก มีหน้าผาสูงชัน ซึ่งเป็นผลมาจากการไหลของ
แม่น้าโคโลราโด ทาให้เกิดการกัดเซาะดินและชั้นหิน เกิดเป็นภูมิประเทศที่สวยงาม ที่มีชื่อเสียง
มากที่สุด คือ แกรนด์แคนยอน ในมลรัฐแอริโซนา
แกรนด์แคนยอน
เขตที่ราบภาคกลาง
    เป็นที่ราบกว้างใหญ่ มีอาณาเขตตั้งแต่
มหาสมุทรอาร์กติกทางตอนเหนือลงมา
จนถึ ง อ่ า วเม็ ก ซิ โ กทางตอนใต้ และ
ระหว่างเทือกเขารอกกีกับเทือกเขาแอปปา
เลเชียน ประกอบด้วยชั้นหินที่เกิดจากการ
โก่งตัวของเปลือกโลก ลักษณะโดยทั่วไป
เป็นที่ราบลูกคลื่น คือ บริเวณที่สูงจะอยู่
ตอนเหนื อ และเขตติ ด ต่ อ กั บ เทื อ กเขา
รอกกี บริ เ วณตอนกลางเป็ น ที่ ร าบลุ่ ม
แม่น้าต่างๆ ประกอบด้วยเขตที่ราบ 6 เขต
คือ
1. ที่ราบลุ่มแม่น้าแมกเคนซี (Mackenzie Lowlands) อยู่ตอนเหนือสุดระหว่างเขตหินเก่า
แคนาดากับเทือกเขาแมกคินลีย์ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าแคบๆ มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง เนื่องจาก
มีอากาศหนาวเย็น
2. ที่ราบแพร์รีแคนาดา (Canadian Prairie) เป็นที่ราบใหญ่อยู่ทางภาคกลางของแคนาดา ได้แก่
บริเวณรัฐแมนิโทบา ซัสแคตเชวัน แอลเบอร์ทา เป็นเขตปลูกข้าวสาลีที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก
3. ที่ราบลุ่มทะเลสาบเกรตเลกส์ และลุ่มแม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ (Great Lakes and St.Lawrence)
ทะเลสาบทั้ง 5 ได้แก่ ทะเลสาบสุพีเรีย (ทะเลสาบน้้าจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก) มิชิแกน ฮูรอน อีรี
และออนแตริโอ เป็นแหล่งน้าที่มีอาณาเขตติดต่อกัน และระหว่างทะเลสาบอีรีกับออนแตริโอมี
น้าตกขนาดใหญ่ ชื่อว่า น้าตกไนแอการาและที่ชายฝั่งทะเลสาบออนแตริโอ มีทางระบายซึ่งเป็น
ต้นกาเนิดของแม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ไหลลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก เขตที่ราบรอบทะเลสาบ
ทั้ง 5 และลุ่มแม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ มีดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก และเป็นบริเวณที่การขนส่ง
ทางน้าภายในทวีปสาคัญที่สุดในโลก จึงเป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น
4. ราบลุ่มแม่น้ามิสซิสซิปปี-มิสซูรี (Missisippi-Missouri Plain) เป็นที่ราบที่เกิดจากแม่น้าพัด
เอาดินตะกอนมาทับถมเป็นบริเวณกว้าง เหมาะแก่การเพาะปลูก ได้แก่ แม่น้ามิสซิสซิปปี
ซึ่งมีความยาวที่สุดในอเมริกาเหนือ ยาว 3,779 กิโลเมตร ไหลลงสู่อ่าวเม็กซิโก และมีแม่น้าสาขา
 คือ แม่น้ามิสซูรี โอไฮโอ เทนเนสซี อาร์คันซอส์เป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นแห่ง
หนึ่งของอเมริกาเหนือ
5. ที่ราบชายฝั่งอ่าวเม็กซิโกและชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก (Gult Coast and Atlantic Plain)
มีบริเวณตั้งแต่ทางตะวันออกของเทือกเขาแอปปาเลเชียนลงไปทางใต้ถึงอ่าวเม็กซิโก โดยเฉพาะ
ที่ราบชายฝั่งอ่าวเม็กซิโกเป็นเขตที่มีอากาศร้อน จึงเหมาะแก่การปลูกพืชเมืองร้อน เช่น ยาสูบ
ข้าวเจ้า ฝ้าย และผลไม้ต่างๆ
6. ที่ราบบนที่สูง (High Plains) ได้แก่ พื้นที่ทางด้านตะวันออกของเทือกเขารอกกี ซึ่งเป็นเขต
เงาฝนหรือเขตอับลม ทาให้มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ยต่อปีต่า เป็นเขตเหมาะสาหรับปลูกข้าวสาลี
 โดยใช้เครื่องจักรทุ่นแรงในการเพาะปลูกแบบไร่ขนาดใหญ่
เขตหินเก่าแคนาดา
ได้แก่ พื้นที่บริเวณรอบๆ อ่าวฮัดสัน
ลงมาถึงทะเลสาบทั้ง 5 เป็นเขตหินที่
เก่าแก่ที่สุดเช่นเดียวกับ บอลติกชีลด์ ใน
ทวีปยุโรป ประกอบด้วยหินเปลือกโลก
ที่มีอายุเก่าแก่และผ่านการสึกกร่อนมา
นาน ลักษณะของพื้นที่จงเป็นที่ราบเกือบ
                           ึ
ทั้งหมดและอยู่ในเขตอากาศหนาวจัด
ทางตอนเหนือมีเกาะใหญ่น้อยมากมาย
พื้นที่ส่วนใหญ่มีธารน้าแข็งปกคลุม
 มีประชากรอาศัยอยู่เบาบางและมี
จานวนน้อยมาก
เขตเทือกเขาภาคตะวันออก
มีอาณาเขตตั้งแต่เกาะนิวฟันด์แลนด์
ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ
แคนาดาลงมาถึงภาคตะวันออกเฉียงใต้
ของสหรัฐอเมริกา เป็นเขตหินเก่าแต่มี
อายุน้อยกว่าเขตหินเก่าแคนาดา
ประกอบด้วยเทือกเขาเตี้ยๆ ที่ผ่านการ
สึกกร่อนมานาน ได้แก่
เทือกเขาแอปปาเลเชียน มียอดเขา
สูงสุดชื่อ ยอดเขามิตเชล อยู่ในมลรัฐ
นอร์ทแคโรไลนา สูง 2,005 เมตร
เขตภูมิอากาศและ                      ภูมิอากาศในทวีปอเมริกาเหนือ
                                            แบ่งได้เป็น 12 เขต ดังนี้
      พืชพรรณธรรมชาติ
                  ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น       ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเขตร้อน

                  ภูมิอากาศแบบทะเลทราย         ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน

                 ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย      ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น

ภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก         ภูมิอากาศแบบทุ่งน้าแข็ง

ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป              ภูมิอากาศแบบที่สูง

ภูมิอากาศแบบไทกาหรือกึ่งขั้วโลก                ภูมิอากาศแบบทุนดราหรือขั้วโลก
ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น

             เป็นภูมิอากาศที่มีฝนตกชุกและอุณหภูมิ
             สูงตลอดปีพชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าดิบ
                         ื
             ชื้น พบบริเวณ ชายฝั่งตะวันออกของ
             อเมริกากลาง บางส่วนของหมู่เกาะอินดีส
             ตะวันตก




ป่าดิบชื้น
ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเขตร้อน

ลักษณะอากาศ
 อุณหภูมิสูงตลอดปีเฉลี่ยสูงกว่า 18
องศาเซลเซียส มีฤดูแล้งสลับให้เห็น
เด่นชัด ฝนส่วนใหญ่ตกในฤดูร้อน
ปริมาณนาฝนมากกว่า 1,200
มิลลิเมตรต่อปี ในฤดูหนาวอากาศ
แห้งคล้ายกับภาคกลาง ภาคเหนือและ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พืชพรรณธรรมชาติ                   ทุ่งหญ้าสะวันนา
เป็นทุ่งหญ้าป่าโปรง หรือที่เรียกว่าทุ่งหญ้าเมืองร้อน Sawanna ทุ่งหญ้าสะวันนา จะปรากฏ
ลักษณะอากาศแบบนี้ ทางตะวันตกของอเมริกากลาง ตอนใต้ของหมู่เกาะอินดีสตะวันตก ในทวีป
อเมริกาเหนือ
ภูมิอากาศแบบทะเลทราย
เป็นภูมิอากาศร้อนแห้งแล้ง ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยไม่เกิน 10 นิ้ว/ปี ลักษณะอากาศ
กลางวันร้อนจัด อุณหภูมิสงกว่า 40 องศาเซลเซียส ในตอนกลางคืนอากาศหนาว
                          ู
จัด อุณหภูมต่ากว่าจุดเยือกแข็ง พืชพรรณธรรมชาติเป็นพืชจาพวกตะบอกเพชร
             ิ
และไม้ประเภทมีหนาม พบบริเวณ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาและ
ภาคเหนือของเม็กซิโก



                            ต้นตะบองเพชร


                               อูฐ
ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย
เป็นภูมิอากาศร้อนแห้งแล้ง ฤดูหนาวอากาศหนาวจัด ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 10-15
นิ้ว/ปี พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทุ่งหญ้าสั้นๆ เรียกว่า ทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe)
พบบริเวณ ชายขอบของทะเลทรายทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ
อเมริกา บางส่วนของแคนาดาและเม็กซิโก




       ลักษณะของทุงหญ้าสเตปป์
                  ่
ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน
ลักษณะอากาศในฤดูร้อนอุณหภูมค่อนข้างสูง อากาศร้อนและแห้งแล้ง ส่วนใน
                               ิ
ฤดูหนาวอากาศอบอุ่นและมีฝนตก ปริมาณน้าฝนประมาณ 1,000 มิลลิเมตรต่อปี
พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้ใบกว้างไม่ผลัดใบ หรือไม้พุ่มเตี้ยสลับทุงหญ้า
                                                                ่
ป่าละเมาะ ป่าแคระ พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่จะเป็นผลไม้ตระกูลส้ม เช่น องุ่น มะกอก
ส้ม เป็นต้น พบบริเวณ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตอนกลางของมลรัฐ
แคลิฟอร์เนียของสหรัฐอเมริกา



ไม้พุ่มเตี้ยสลับ
   ทุ่งหญ้า
ต้น คอร์กโอ๊ค เป็นไม้ยืน
ต้นในเขตภูมิอากาศแบบ
เมดิเตอร์เรเนียน ที่มีต้น
เตี้ยแคระ เปลือกลาต้น
หนา เพราะสามารถป้อง
กันการระเหยของน้าได้ดี
ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น
อุณหภูมในฤดูหนาวจะสูงกว่าเขตภูมิอากาศ
         ิ
แบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ในฤดูร้อนอากาศ
อบอุ่น อุณหภูมิค่อนข้างสูง มีฝนตกเกือบตลอด
ปี ปริมาณน้าฝนประมาณ 650 มิลลิเมตรต่อปี
พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้ใบกว้างผลัดใบ
บริเวณที่มีปริมาณน้าฝนน้อยจะเป็นทุ่งหญ้า
แพรรี พบบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของ
สหรัฐอเมริกาที่ราบชายฝังมหาสมุทร
                        ่
แอตแลนติกและ ดินแดนที่อยู่ภายในทวีปที่
มีฝนตกน้อย
                                             ป่าไม้ใบกว้างผลัดใบ
ภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก

อากาศในฤดูร้อนอบอุ่นถึงค่อนข้างเย็น
ฤดู ห นาวอากาศไม่ ห นาวจั ด มี ฝ นตก
สม่าเสมอตลอดปี เพราะได้รับอิทธิพล
จากลมประจาตะวันตก พืชพรรณ
ธรรมชาติ เ ป็ น ป่ า ไม้ ใ บกว้ า งผลั ด ใบ
ได้ แ ก่ เมเปิ ล วอลนั ท เชสต์ นั ท โอ๊ ก
บีซ เบิร์ช แอช สวีท             พบบริเวณ
ช า ย ฝั่ ง ม ห า ส มุ ท ร แ ป ซิ ฟิ ก ข อ ง
สหรัฐอเมริกาและแคนาดา

                                               ลักษณะต้น คอร์กโอ๊ค
ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป
เนื่องจากพื้นทีส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลจากทะเล
                ่
ในฤดูหนาวอากาศหนาวเย็นเป็นระยะเวลานาน
ส่วนในฤดูร้อน อุณหภูมค่อนข้างร้อน ฝนตก
                       ิ
ในฤดูร้อนส่วนใหญ่เกิดจากฝนพาความร้อน
ในฤดูหนาวมีหิมะตก พืชพรรณธรรมชาติเป็น
ป่าไม้ใบกว้างผลัดใบและป่าผสมป่าสน พบ
บริเวณ พื้นทีทางตะวันออกและตะวันตกของ
              ่
ทะเลสาบทั้ง 5 ( บริเวณทางตอนใต้ของ
แคนาดาและตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา)
                                          ตัวอย่างไม้ใบกว้างและไม้ผลัดใบในช่วง
                                     ฤดูหนาวเป็ นภาพป่าฤดูการผลัด
ภูมิอากาศแบบไทกาหรือกึ่งขั้วโลก
เนื่องจากอยู่ห่างจากทะเลถัดจากภูมิอากาศแบบทุนดรา ทาให้ในฤดูหนาวอากาศ
หนาวจัดรุนแรง ส่วนในฤดูร้อนมีอากาศอบอุ่นขึ้น มีฝนตกส่วนใหญ่ตกในรูปของ
หิมะ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าสนไทกา ต้นไม้มีลักษณะตั้งตรง กิงสั้นมีใบเล็ก
                                                             ่
แหลม คล้ายเข็ม เพื่อลดการคลายน้าจึงมีใบเขียวตลอดปี พบบริเวณ มลรัฐอะแลสกา
 และพื้นที่ส่วนใหญ่ทางภาคเหนือของแคนาดา


                                 ป่าสนไทกา
ภูมิอากาศแบบทุนดราหรือขั้วโลก
ลักษณะอากาศของเขตนี้ ฤดูร้อนมีระยะเวลาสั้นประมาณ 2-3 เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่า
กว่า 10 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจัด อุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งยาวนาน
กว่า 6 เดือน ฝนตกน้อยส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่พวก มอส
ตะไคร่น้า ไลเคน ส่วนในฤดูร้อนจะมีไม้ดอก ซึ่งเรียกว่า ทุนดราแพรรี จาพวก ต้นอาร์กติกวิล
โลว์ อาร์กติกปอบปี เจริญเติบโตในระยะเวลาสั้น ๆ พบบริเวณชายฝั่งของมหาสมุทรอาร์กติก
ของมลรัฐอะแลสกาและแคนาดา




        มอส                             ไลเคน                   ต้นอาร์กติกวิลโลว์
ภูมิอากาศแบบทุ่งน้าแข็ง
ลักษณะอากาศหนาวจัดตลอดทั้งปี ไม่มีเดือนใดอุณหภูมิสูงกว่าจุดเยือกแข็งเป็นเขตที่ทุรกันดาร
จนได้รับสมญาว่าทะเลทรายแห่งหิมะ ทาให้พืชไม่สามารถขึ้นได้เลย ดินแดนนี้จึงปราศจากพืช
พรรณธรรมชาติ บริเวณที่ปรากฏลักษณะภูมิอากาศแบบนี้ได้แก่ ทวีปแอนตาร์กติกา และตอน
กลางของเกาะกรีนแลนด์
           ภูมิอากาศแบบที่สูง
ลักษณะอากาศจะเปลี่ยนแปลงไปตามความสูงและที่ตั้งตามละติจูด ภูมิอากาศจะแตกต่างกัน
ตามท้องถิ่นซึ่งอุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงในอัตราเฉลี่ยทุกๆ 180 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 1 องศา
เซลเซียสโดยประมาณทั้งนี้ขึ้นอยู่กับที่ตั้งตามละติจูด และอาจจะเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยอื่น ๆ
ของภูมิอากาศ อาทิ ระยะห่างจากทะเล ลมประจาปี กระแสน้าในมหาสมุทร เป็นต้น พืชพรรณ
ธรรมชาติก็จะเปลี่ยนแปลงตามความสูงของพื้นที่และที่ตั้งตามละติจูด บริเวณที่ปรากฏลักษณะ
ภูมิอากาศแบบนี้ จะพบตามเทือกเขาสูง ที่สาคัญของโลก อาทิ เทือกเขาหิมาลัย ในทวีปเอเชีย
เทือกเขาร็อกกี้ในทวีปอเมริกาเหนือ เทือกเขาแอนดีส ในทวีปอเมริกาใต้ เทือกเขาคิริมานจาโร ใน
ทวีปแอฟริกา
ทรัพยากรธรรมชาติ                          ทรัพยากรดิน
                                          ทวีปอเมริกาเหนือมีที่ดินที่ขาดความ
                 ความอุดมสมบูรณ์ ไม่เหมาะแก่การเกษตร ได้แก่ ดินในเขตภูมิ
                 อากาศหนาวเย็น ทางภาคเหนือของประเทศแคนาดาและรัฐ
                 อะแลสกา ดินที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตรมีหลายบริเวณ
เช่น ดินในเขตทุ่งหญ้าบริเวณภาคกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตอนกลางของ
ภาคใต้ของแคนาดา ดินในเขตลุ่มน้าต่างๆ เป็นดินตะกอนเหมาะแก่การเพาะปลูก
ดินในพื้นที่แห้งแล้ง เช่น ทะเลทรายและทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายในสหรัฐอเมริกา
และเม็กซิโกก็เป็นดินอุดมสมบูรณ์ หากมีระบบการชลประทานเข้าถึงก็สามารถ
ใช้ในการเพาะปลูกได้ดี
ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้ของอเมริกาเหนือมีประมาณร้อยละ 16 ของพื้นที่
                           ป่าไม้ทั้งหมด ของโลกโดยป่าไม้สาคัญจะอยู่ในประเทศ
ป่าสนที่พบมากในเขตภูมิอา แคนาดา สหรัฐอเมริกา บางส่วนของเม็กซิโก และคิวบา
กาศแบบอบอุ่นและกึ่งขั้วโลก
                           ลักษณะของป่าจะเป็นป่าที่มีต้นไม้จะหนาแน่นมากทาง
 (ป่าไทก้า) ได้แก่ในประเทศ
แคนาดา และสหรัฐอเมริกา ชายฝั่งตะวันตก นับตั้งแต่เทือกเขาร็อกกีไปจนถึงปานามา
                           ต้นไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ไพน์ เปอร์สปรูซ ฮิกคอรี ปอปลาร์
ทรัพยากรสัตว์ในธรรมชาติ
ทวีปอเมริกาเหนือแม้จะมี พื้นที่กว้าง
ใหญ่ไพศาล แต่ปริมาณสัตว์ป่าก็มีไม่
มากนัก เพราะการบุกทาลายพื้นที่ป่า
ไม้และมีการล่าสัตว์ป่า
     สัตว์ป่าทีสาคัญ ได้แก่ ตัวมิงค์
               ่
สุนัขจิ้งจอก หมี บีเวอร์ เออร์มัน
จระเข้ และนกชนิดต่าง ๆ



                                       แผนที่แสดงทรัพยากรสัตว์ป่า
นกอินทรีหัวขาว สัตว์ประจ้าชาติของสหรัฐอเมริกา                  หมีขั้วโลก




               หมีกีซซี่                        นกฮัมมิ่ง เบิร์ด นกที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก
วาฬเพชฌฆาต




                 หมาป่า


สิงโตภูเขาซึ่ง
ชาวอินเดียน
แดงเรียกว่า
   “พูมา”
                          งูหางกระดิ่ง
ทรัพยากรพลังงาน
 ในทวีปอเมริกาเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาและแคนาดา มีการพัฒนา
 การใช้พลังงาน ในหลายรูปแบบ ได้แก่
    น้้ามันปิโตรเลียม แหล่งสาคัญจะอยู่
ในสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก คิวบา
เปอร์โตริโก ประเทศที่มีปริมาณน้ามันสารอง
มากได้แก่ แคนาดา สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
 เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา
        แท่นขุดเจาะน้้ามันในทะเล
ไฟฟ้าพลังน้้า แหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานน้า ที่สาคัญของทวีปอเมริกา
เหนือ จะอยู่ทางด้าน ตะวันตกของประเทศแคนาดา ที่ใช้พลังงานน้าตก รองลงมา
คือสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก คิวบา กัวเตมาลา ปานามา


                                                        ไฟฟ้าพลังน้้าใน
                                                         รัฐออนตาริโอ
                                                        ประเทศแคนาดา
ไฟฟ้าพลังลม แหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานลมได้แก่ รัฐวอชิงตัน
ประเทศสหรัฐอเมริกา




   หุบเขาพลังงานลม ใกล้เมือง Walla Walla รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
ไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์     ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์




   โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์          โรงงานอุตสหรรม
ในเมืองซาคาเมนโต สหรัฐอเมริกา   ในเมือง Frederick รัฐMaryland
แร่ธาตุ
ทวีปอเมริกาเหนือมีแร่ธาตุกระจายอยู่
ตามพื้นทีต่าง ๆ แม้แต่ในประเทศเล็ก ๆ
           ่
เช่น กัวเตมาลา ฮอนดูรัส นิการากัว
คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน จึงเป็น
ปัจจัยหนึ่งในการพัฒนา อุตสาหกรรม
ให้เจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว
แร่ธาตุที่สาคัญได้แก่ เหล็ก ตะกั่ว
อะลูมีเนียม ทองแดง กามะถัน โปรแตส
บ็อกไซต์ นิกเกิล ทอง เงิน
ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม
         ของทวีปอเมริกาเหนือ

               เชื้อชาติ
               ภาษา
ประชากร        ศาสนา
                การศึกษา
               การกระจายและความแน่น
               ของประชากร
เชื้อชาติ
                    1. กลุ่มคนผิวเหลือง เป็นชนเผ่าดั้งเดิมทีอพยพ
                                                            ่
                    มาจากทวีปเอเชีย ได้แก่
            ชาวเอสกิโม หรือ อเมรินเดียน ( Amerindian ) ปัจจุบัน
            อาศัยอยู่ในประเทศแคนาดา มลรัฐอะแลสกาของสหรัฐอเมริกา




                     ภาพชาวเอสกิโม
ชาวอินเดียน ( Indian ) หรือเรียกว่า อเมริกันอินเดียน
ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาและอเมริกากลาง


                        ชนเผ่าโอปิอินเดียน อาศัยอยูทาง
                                                   ่
                        ตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา
2. กลุ่มคนผิวขาว เป็นประชากรที่อพยพมาจากทวีปยุโรป ได้แก่ ชาวสเปน
 โปรตุเกส อังกฤษ ฝรังเศส เยอรมัน และชาวยุโรปอื่นๆ เป็นประชากร
                     ่
 ส่วนใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและแคนาดา
3. กลุ่มคนผิวด้า เป็นประชากรที่ถูกนามาจากทวีปแอฟริกา เพื่อใช้แรงงาน
ในไร่ น าในสหรั ฐ อเมริ ก า มี อ ยู่ ม ากในสหรั ฐ อเมริ ก ามากกว่ า 30 ล้ า นคน


                                                 ชนเผ่าบุ๊ชแมน
4. กลุ่มคนเลือดผสม
เมสติโซ ( Mestizo ) หมายถึง พวกเลือดผสมระหว่างชาวผิวขาวกับ
อินเดียน เป็นประชากรส่วนใหญ่ของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา



                                           พวกเมสติโซ




มูแลตโต ( Mulatto ) หมายถึง พวกเลือดผสมระหว่าง
ชาวผิวดากับชาวผิวขาว เป็นประชากรในสหรัฐอเมริกา
ภาษา
        ภาษาที่ประชากรส่วนใหญ่ใช้ในปัจจุบัน
        เป็นตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีหลายกลุ่ม ดังนี้
        ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาประจาชาติและภาษาราชการ
       ของแคนาดาและสหรัฐอเมริกา
       ภาษาสเปน เป็นภาษาราชการของประเทศเม็กซิโก
       และประเทศต่างๆในอเมริกากลาง
       ภาษาฝรังเศส เป็นภาษาที่ใช้มากในรัฐควิเบกของ
              ่
       แคนาดาและในเกาะเฮติ
ศาสนา
                คริสต์ศาสนา เป็นศาสนาของคนส่วนใหญ่
                ในอเมริกาเหนือ มีนิกายสาคัญคือ
          นิกายโปรเตสแตนต์ ประชากรที่นบถืออยู่ในแคนาดา
                                      ั
          และสหรัฐอเมริกา

นิกายโรมันคาทอลิก ประชากรที่นับถืออยู่ในรัฐควิเบกของแคนาดา
และประเทศต่างๆ ในลาตินอเมริกา รวมทังประชากรในเมืองต่างๆ
                                   ้
ของสหรัฐอเมริกาที่เคยเป็นอาณานิคมของสเปนมาก่อน
การศึกษา
         กลุ่มแองโกลอเมริกา รัฐบาลได้จัดการศึกษาแบบให้เปล่า
         ทั้งระดับประถมและมัธยม อาจกล่าวได้ว่าประชากร
         ที่มีอายุเกิน 15 ปี เกือบทุกคนเป็นผู้อ่านออกเขียนได้

 กลุ่มลาติอเมริกา มีผู้รู้หนังสือมากกว่าร้อยละ 80 ยกเว้น
 เอลซัลวาดอร์ ฮอนดูรัส นิการากัว มีผู้รู้หนังสือประมาณร้อยละ 73
 กัวเตมาลาและเฮติ มีผู้รู้หนังสือเพียงร้อยละ 60 และ 53 ตามลาดับ
การกระจายและความ
หนาแน่นของประชากร

 อเมริกาเหนือมีประชากรทังหมดประมาณ 509 ล้านคน
                         ้
 ( 2548 ) เฉลี่ยความหนาแน่นประมาณ 23 คนต่อตาราง
 กิโลเมตร
1. บริเวณทีมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น
           ่
คือ ภาคตะวันออกของทวีป
     ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ
     ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์
     และการคมนาคมขนส่ง

     มีปริมาณฝนเพียงพอกับการเพาะปลูก

    มีแร่ธาตุที่ส่งเสริมอุตสาหกรรม
    ได้แก่ ถ่านหิน เหล็ก น้ามันปิโตรเลียม

    มีการคมนาคมขนส่งสะดวก ทั้งทางน้า
    ภายใน และทะเลสาบใหญ่ทั้ง 5
    แม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ แม่น้ามิสซิสซิปป
1. บริเวณทีมีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง
           ่
        เขตเทือกเขาและที่ราบสูงภาค
        ตะวันตก

        เขตทะเลทรายทางภาค
        ตะวันตกเฉียงใต้

        เขตอากาศหนาวเย็นใน
        มลรัฐอะแลสกาและดินแดน
        ทางภาคเหนือของแคนาดา
ลักษณะทาง
 เศรษฐกิจ

            อาชีพ
            การคมนาคมขนส่ง
อาชีพ                การเพาะปลูก                    ข้าวโพด
                                     เป็นพืชเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา
                                     ปัจจุบันสามารถผลิตได้เป็นอันดับ 1
                                     ของโลก ปลูกมากบริเวณที่ราบภาค
                                     กลาง โดยเฉพาะดินแดนทางตอนใต้
                                     ของทะเลสาบทั้ง 5 ที่เรียกว่า แดน
                                     ข้าวโพด ( corn belt ) ในเขตประเทศ
                                     สหรัฐอเมริกา

แดนข้าวโพด ( corn belt )
ข้าวสาลี
ปลูกข้าวสาลีในไร่ขนาดใหญ่และเป็น
แหล่งที่สาคัญที่สุดในโลก เขตภาค
กลางของแคนาดาและสหรัฐอเมริกา
และรัฐต่างๆทางภาคตะวันออก เรียก
เขตนี้ว่า แดนข้าวสาลี ( wheat belt )


 ไร่ข้าวสาลี
ฝ้าย
เป็นสินค้าออกที่สาคัญของทวีปอเมริกาเหนือ สามารถส่งไปขายยังทวีปยุโรป
และทวีปอื่นๆ ปลูกกันมากในประเทศสหรัฐอเมริกาบริเวณภาคใต้แถบลุ่มน้า
มิสซิสซิปปี เรียกเขตนี้ว่า แดนฝ้าย ( cotton belt ) และภาคตะวันตกในรัฐแอริ
โซนาและแคลิฟอร์เนีย




                           ไร่ฝ้ายในรัฐมิสซิสซิปปี
พืชผลเมืองร้อน
พื้นที่ครอบคลุมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก และภาคใต้ของมลรัฐแคลิฟอร์เนีย
ในสหรัฐอเมริกา ยาสูบเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญและทารายได้ อย่างมหาศาล จน
ได้รับฉายาว่า "ทองค้าเขียว" ไร่ยาสูบปลูกกันในรัฐเวอร์จีเนีย นอร์ทแคโรไลนา
เซาท์แคโรไลนา เคนทักกี จอร์เจีย และทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา
นอกจากนี้ในประเทศคิวบาก็เป็นแหล่งปลูกยาสูบที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งด้วย โดยสิน
ค้าส่งออกที่มชื่อเสียงของคิวบาก็คือ ซิการ์ฮาวานา
             ี


                                               ไร่ยาสูบในรัฐเวอร์จีเนีย
ผักและผลไม้ต่างๆ
บริเวณรัฐทางใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งอยู่ในเขตร้อน ได้แก่ รัฐฟลอริดา ปลูก
พวกส้ม ในเขตอบอุ่นปลูกเชอร์รี่ แอปเปิล บริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งมีภูมิอากาศ
แบบเมดิเตอร์เรเนียน ปลูกองุ่น มะกอก เป็นต้น



                                                                            เชอร์รี่




                                       ส้มแคลิฟอร์เนีย
แอปเปิล    ไร่องุ่น




มะกอก     สตรอเบอรี่
การเลี้ยงสัตว์
เลี้ยงสัตว์ในทุงหญ้าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยเลี้ยงแบบคอกปศุสัตว์ขนาดใหญ่
               ่
( livestock ranching ) แล้วปล่อยให้โคออกหากินหญ้าในทุ่งตามธรรมชาติ สัตว์เลี้ยง
ส่วนใหญ่เป็นวัวเนื้อ พบในเขตภาคตะวันตกของแคนาดา สหรัฐอเมริกา และส่วน
ใหญ่ของเม็กซิโก




                     การเลี้ยงสัตว์ในทุ่งหญ้าในแคลิฟอร์เนีย
การทาป่าไม้
ทวีปอเมริกาเหนือผลิตไม้ได้เป็นอันดับที่ 2 ของโลก รองจากทวีปยุโรป เขตป่าไม้ที่
สาคัญ อยู่ทางตะวันตกของแคนาดา และสหรัฐอเมริกา ไม้เศรษฐกิจคือ ไม้สน เพราะ
นาไปใช้ในการก่อสร้าง และเยื่อกระดาษ โดยเฉพาะไม้สนที่เรียกว่า " ดักลาสเฟอร์ "
ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นไม้ที่มีค่ามากในการตัดมาใช้ทาประโยชน์ต่างๆ
             ไม้สนที่เรียกว่า " ดักลาสเฟอร์ "เป็นไม้
              เศรษฐกิจที่มีค่ามากในการตัดมาใช้ท้า
                         ประโยชน์ต่างๆ




                                             การท้าไม้ใน
                                              แคนาดา
การประมง
แหล่งประมงสาคัญ ได้แก่ เขตน้าตื้นใกล้ชายฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติก
และทางตะวันตก ของเกาะนิวฟันด์แลนด์ เรียกว่า "แกรนด์แบงก์" เป็นเขต
ไหล่ทวีป มี กระแสน้้าอุ่นกัลฟ์สตรีม และ กระแสน้้าเย็นแลบราดอร์ ไหลมา
บรรจบกัน ทาให้มีปลาอุดมสมบูรณ์ ปลาที่จับได้มาก คือ ปลาคอด ปลาทูน่า
และปลาเฮอร์ริง นอกจากนี้ยังมีปู กุ้งมังกร อีกด้วย



                        การจับปลาเฮอร์ริ่ง
                       ซึ่งเป็นปลาเศรษฐกิจ
                               ที่ส้าคัญ
  ปลาคอด
การทาเมืองแร่
       ถ่านหิน
ทวีปอเมริกาเหนือเป็นแหล่งถ่านหินมากพอๆกับแหล่งถ่านหินของประเทศ
รัสเซียและจีน แต่ถ่านหินในทวีปอเมริกาเหนือมีคุณภาพดีกว่า แหล่งถ่านหิน
ที่สาคัญ คือ ในเทือกเขาแอลปาเลเซียนของสหรัฐอเมริกาได้แก่ รัฐเพนซิล -
                                            วาเนีย เวอร์จิเนียตะวันตก
                                            โอไฮโอ ไวโอมิง เคนตักกี
                                            และเทนเนสซี
                                               เหมืองถ่านหินในรัฐไวโอมิง
                                                     สหรัฐอเมริกา
ปิโตรเลียม
  แหล่งผลิตที่สาคัญ ได้แก่ บริเวณเทือกเขาแอลปาเลเซียน ลุ่มแม่น้ามิสซิสซิปปี
  ชายฝังอ่าวเม็กซิโก รัฐแคลิฟอร์เนีย และอะแลสกา รวมทั้งภาคกลางของแคนาดา
       ่

                                        แท่นขุดเจาะน้้ามันในทะเล ชายฝั่งอ่าวเม็กซิโก




แหล่งที่พบน้้ามันมากในอเมริกาเหนือ
  ก็คือ รัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา
เหล็ก พบมากในบริเวณทะเลสาบทั้ง 5 โดยเฉพาะชายฝั่งทะเลสาบสุพีเรีย
           ในสหรัฐอเมริกา ที่เรียกว่า ย่านเมซาบี (Mesabi) ซึ่งอยู่บริเวณเทือก
           เขาเมซาบี ในรัฐมินนิโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นแหล่งแร่เหล็ก
           ที่สาคัญที่สุดของทวีปอเมริกาเหนือ




เทือกเขาเมซาบีซึ่งเป็นแหล่งแร่เหล็ก            คนงานก้าลังท้างานใน
     ที่ส้าคัญในสหรัฐอเมริกา                     เหมืองแร่เหล็ก
ทองคา           พบครังแรกในรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันพบในบริเวณ
                             ้
                        เทือกเขาร็อกกีและรัฐอแลสกาในสหรัฐอเมริกา และ
                        รัฐออนแทรีโอของแคนาดา

                                            การเปิดหน้าเหมืองทองในสหรัฐอเมริกา




การร่อนหาแร่ทอง เป็นกิจกรรมที่ได้รับ
ความสนใจมากจากนักท่องเที่ยวทั้งหลาย
บอกไซต์
     เป็นแร่ที่ใช้ผลิตแร่อะลูมิเนียมพบ
     มากในหมู่เกาะอินดีสตะวันตก
     โดยเฉพาะที่เกาะจาเมกา และเกาะ
     อีสแปนีโอลา

อลูมิเนียมบริสุทธิ์
ที่ได้จากการ ถลุง
    แร่บอกไซต์

                                          การท้าเหมืองแร่บอกไซต์
                                           ในจาเมกา ซึ่งรถบรรทุก
                                         ก้าลังน้าสินแร่ไปยังโรงถลุง
อุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมสาคัญได้แก่อุตสาหกรรมหนัก เช่น การถลุงเหล็กและเหล็กกล้า
กลั่นน้ามัน ผลิตเครื่องจักรเกษตรกรรมและอุสาหกรรม รถยนต์ เครื่องไฟฟ้า
และอิเล็กทรอนิกส์เขตอุตสาหกรรมสาคัญของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้แก่
บริเวณทะเลสาบเกรตเลกส์ เป็นเขตอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก เหล็กกล้า รถยนต์
เคมีภัณฑ์ เครืองจักร เมืองอุตสาหกรรมที่สาคัญได้แก่ ชิคาโก ดีทรอยต์
               ่
คลิฟแลนด์ พิตเบิร์ก บัพฟาโล
บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นเขตอุตสาหกรรมกลั่นน้ามัน
เครื่องจักร การต่อเรือ ทอผ้า เคมีภัณฑ์ นาฬิกา และอาวุธ เมืองอุตสาหกรรมที่
สาคัญได้แก่ นิวยอร์ก บอสตัน ฟีลาเดอเฟีย บัลติมอร์
บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นเขตอุตสาหกรรมน้ามัน อาหาร เมืองที่
สาคัญได้แก่ ซาน ฟรานซิสโก ลอสแองเจลิส
แผนที่แสดงที่ตั้งของแหล่งอุตสาหกรรมในสหรัฐอเมริกา
จากแผนที่จะพบว่าบริเวณที่มีแหล่งอุตสาหกรรมหนาแน่นที่สุดได้แก่ บริเวณทะเลสาบทั้งห้า
พาณิชยกรรม
อเมริกาเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สหรัฐอเมริกา เป็นตลาดการค้าสาคัญของโลก
ผู้นาทางการค้า ในทวีปอเมริกาเหนือทั้ง 3 ชาติ คือสหรัฐอเมริกา แคนาดา และ
เม็กซิโก รวมกลุ่มกัน จัดตั้งเป็น เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือหรือ นาฟตา (NAFTA)
เพื่อต่อรองและถ่วงดุลอานาจ กับประชาคมยุโรป รวมถึงการเจรจาการค้าในรูปแบบ
ทวีภาคีด้วย เช่น การเจรจา FTA กับประเทศไทย เป็นต้น การค้าของประเทศใน
อเมริกาเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา มีทงตลาดการค้าขายสินค้า
                                                 ั้
(สินค้านาเข้า-สินค้าส่งออก) ตลาดทุน(Stock Market) และตลาดเงิน(Bond Market)
ตลาดทุน
ตลาดทุนของสหรัฐอเมริกาที่สาคัญ และมีอิทธิพลต่อ เศรษฐกิจโลกได้แก่ ตลาดทุน
อุตสาหกรรมดาวน์โจน ( dow jones industrial ) และ ตลาดทุน ( NASDAQ )
                                                 การค้าขายในตลาดหุ้นอุตสาหกรรม
                                                   Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา




       ตลาดหุ้นNASDAQ ตั้งอยู่ที่ Times Square
               นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
ตลาดเงิน
เป็นตลาดค้าขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ โดยเงินสกุลดอลลาร์
สหรัฐ ($) เป็นสกุลเงินที่มีอทธิพลกับภาวะเศรษฐกิจของโลกเป็นอย่างมาก
                            ิ

                                     การค้าขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่าง
                                        ประเทศที่เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา




             เงินดอลลาร์สหรัฐ
การคมนาคมขนส่ง
                ทางบก
ทางรถยนต์ ในทวีปอเมริกาเหนือมีเส้นทางถนนชั้นดีแบบซุปเปอร์ไฮเวย์ 2-4
ช่องทางการเดินรถครอบคลุมพื้นที่ทั่วทังทวีป ถนนสายหลักของของทวีปคือ
                                       ้
 สายแพนอเมริกัน ซึ่งเริ่มต้นจากประเทศแคนาดาตัดลัดเลาะไปตามประเทศต่างๆ
จนกระทั่งสิ้นสุดที่ประเทศชิลี ในทวีปอเมริกาใต้
ทางรถไฟ สหรัฐอเมริกามีเส้นทางรถไฟยาวประมาณ 425,000 กิโลเมตร หรือ
ประมาณ 1 ใน 3 ของเส้นทางรถไฟของโลก ใช้เพื่อการขนส่งลาเลียงสินค้าเป็น
หลัก เส้นทางรถไฟ สายสาคัญของทวีปได้แก่
         - สายนอร์เทิร์นแปซิฟิก สายยูเนียนแปซิฟิก ในสหรัฐอเมริกา
         - สายเอลปาโซ - เม็กซิโกซิตี้ ในประเทศเม็กซิโก
ทางน้า
การคมนาคมทางน้าในกลุมประเทศแองโกลอเมริกาใช้เพื่อลาเลียงสินค้าเป็นหลัก
                         ่
ส่วนประเทศในหมู่เกาะนั้น การคมนาคมทางน้าถือเป็นหัวใจหลักของการคมนาคม
ของประเทศเลยทีเดียว เส้นทางการคมนาคมทางน้าที่สาคัญได้แก่
    - แม่น้าเซนต์ลอร์เลนซ์ แม่น้าแมกแคนซี แม่น้ายูคอล ในประเทศแคนาดา
    - แม่น้ามิสซีสซิปปีและสาขา เขตทะเลสาบทั้งห้า การเดินเรือข้ามมหาสมุทร
      แอตแลนติกเพื่อเชื่อกับยุโรป เป็นต้น
    - การเดินทางเรือเชื่อมระหว่างเกาะ ในหมู่เกาะอินดีสตะวันตก
   - คลองปานามา เชื่อมระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติก
คลองปานามา คลองขุดที่
เชื่อมระหว่างมหาสมุทร
แปซิฟิก กับมหาสมุทรแอต
แลนติก ทาให้ร่นระยะเวลา
ในการเดินทาง จากตะวันตก
( มหาสมุทรแปซิฟิก )มายัง
ฝั่งตะวันออก( มหาสมุทร
แอตแลนติก )
ทางทางอากาศ

ในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา มีการคมนาคมทางอากาศ
ที่เจริญก้าวหน้ามากและแพร่หลายที่สุด ทังการบินภายในประเทศ และการบิน
                                       ้
ระหว่างประเทศ สายการบินที่สาคัญได้แก่
     - แอร์แคนาดา ของประเทศแคนาดา
     - เดลตาแอร์ไลน์, ยูไนเต็ดแอร์ไลน์, อเมริกันแอร์ไลน์, ของสหรัฐเอมริกา
     - เม็กซิกานาแอร์ไลน์ ของเม็กซิโก
    - แอร์ปานามา ของปานามา
สนามบินนานาชาติ
                                      จอร์น เอฟ เคนเนดี้(JFK)




สนามบินนานาชาติ เซนต์หลุยส์   สนามบินนานาชาติ ซานฟรานซิสโก

Contenu connexe

Tendances

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...krupanisara
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์Attapon Phonkamchon
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศPatzuri Orz
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานChamp Wachwittayakhang
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กAriaty KiKi Sang
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตNuunamnoy Singkham
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยNU
 

Tendances (20)

เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล12.  บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
12. บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
 
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site  เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
การจัดการเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google Site เพื่อพัฒนาผลสัมฤท...
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงานบทที่3 วิธีดำเนินงาน
บทที่3 วิธีดำเนินงาน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
ภูมิศาสตร์ภาคเหนือ
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ตใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ใบงานหน่วยที่ 1.1 เรื่อง เริ่มต้นกับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
การนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัยการนำเสนอผลการวิจัย
การนำเสนอผลการวิจัย
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 

En vedette

กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2krunimsocial
 
เบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้าเบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้าkrunimsocial
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้krunimsocial
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาkrunimsocial
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์krunimsocial
 
แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104krunimsocial
 

En vedette (10)

กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2กิจกรรมทื่ 2
กิจกรรมทื่ 2
 
เบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้าเบอร์มิวด้า
เบอร์มิวด้า
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
เอกสารประกอบการเรียนการสอนทวีปอเมริกาใต้
 
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
เนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกาเนื้อหาทวีปอเมริกา
เนื้อหาทวีปอเมริกา
 
South america
South americaSouth america
South america
 
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
ใบความรู้สาระเศรษฐศาสตร์
 
แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104แผนย่อ ส 23104
แผนย่อ ส 23104
 
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
 
Geography ppt-m3
Geography ppt-m3Geography ppt-m3
Geography ppt-m3
 

Similaire à North america

ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้Krittamat
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียchanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือkrunimsocial
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียBangkok University
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติKru Ongart Sripet
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้Artit Boonket
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลางพัน พัน
 

Similaire à North america (20)

ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
pdf2.pdf
pdf2.pdfpdf2.pdf
pdf2.pdf
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
อเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนืออเมริกาเหนือ
อเมริกาเหนือ
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
Aus
AusAus
Aus
 
Bdc412 Africa
Bdc412 AfricaBdc412 Africa
Bdc412 Africa
 
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
กลุ่มทวีปแอฟริกาใต้
 
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลางทวีปอเมริกาเหนือ  และอเมริกากลาง
ทวีปอเมริกาเหนือ และอเมริกากลาง
 

Plus de krunimsocial

กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6krunimsocial
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือkrunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850krunimsocial
 
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขkrunimsocial
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขkrunimsocial
 

Plus de krunimsocial (13)

กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6กิจกรรมที่ 6
กิจกรรมที่ 6
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่ม
 
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่กิจกรรมที่ 5 ใหม่
กิจกรรมที่ 5 ใหม่
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 4  ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 4 ลักษณะทางภูมิอากาศของทวีปอเมริกาเหนือ
 
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือกิจกรรมที่ 3  ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
กิจกรรมที่ 3 ลักษณะทางภูมิศาสตร์ของทวีปอเมริกาเหนือ
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc16615985041d5dac4a241371f711e9fc166159850
41d5dac4a241371f711e9fc166159850
 
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
กิจกรรมที่ 1 สารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
 
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุขเรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
เรียนสังคมอย่างไรให้มีความสุข
 

North america

  • 2. อเมริกาเหนือเป็นทวีป ซึ่งแต่เดิมยังไม่มีคนรู้จักจนกระทั่งมีนักเดินเรือ ชาวอิตาเลียนชื่อ คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ( Christopher Comlubus ) ได้เดินทาง มาพบเกาะบริเวณที่เป็นหมู่เกาะอินดีสตะวันตก ใน พ.ศ. 2035 และเข้าใจว่า ดินแดนใหม่ที่เขาพบนั้นเป็นส่วนหนึ่งของทวีปเอเชีย ต่อมา พ.ศ. 2042 อเมริโก เวสปุชชี ( Amerigo Vespucci ) ชาวอิตาเลียนได้เดินทางสารวจดินแดนที่โคลัมบัสเคยสารวจมาแล้ว จึงทราบ ว่าดินแดนที่พบนั้นเป็นทวีปใหม่ ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของทวีปเอเชียตามที่โคลัมบัส เข้าใจและเพื่อเป็นการให้เกียรติแก่เขา ชาวยุโรปจึงตั้งชื่อทวีปใหม่นี้ว่า อเมริกา ( America )
  • 3. ลักษณะทางกายภาพของ ทวีปอเมริกาเหนือ ที่ตั้ง อาณาเขต และขนาด การแบ่งภูมภาคของทวีปอเมริกาเหนือ ิ ลักษณะภูมิประเทศ ลักษณะภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติ
  • 4. ที่ตั้ง อาณาเขต และขนาด ที่ตั้ง ทวีปอเมริกาเหนื อ ตั้ง อยู่ ในเขตซีกโลกเหนือทั้ง หมด คือ อยู่ ระหว่างละติจูด 7 องศาเหนือ ถึง 84 องศาเหนือ และระหว่าง ลองจิ จู ด 53 องศาตะวั น ตก ถึ ง 167 องศาตะวั น ตกหรื อ มีพื้นที่อยู่ตั้งแต่ เขตทรอปิกขึ้นไปจนถึงขั้วโลกเหนือ ขนาด ทวีปอเมริกาเหนือมีขนาดใหญ่เป็นอันดับ 3 ของโลก มีเนื้อที่ประมาณ 24,000,000 ตารางกิโลเมตร รูปร่างของทวีปอเมริกาเหนือคล้ายรูปสามเหลี่ยม หัวกลับ คือ มีฐานกว้างอยู่ทางเหนือและมียอดของสามเหลี่ยมอยู่ทางใต้
  • 5. อาณาเขต ทิ ศ ต ะ วั น อ อ ก ติ ด ต่ อ กั บ ม ห า สมุทรแอตแลนติก มีเกาะที่สาคัญ ได้แก่ เกาะนิวฟันด์แลนด์ เกาะเบอร์มิวดา และหมู่เกาะบาฮามาส
  • 6. ทิศใต้ ติดต่อกับทวีปอเมริกาใต้ มีคลองปานามาเป็นแนวแบ่งเขตทวีป น่านน้าทางทิศใต้ ได้แก่ มหาสมุทร แปซิฟิกกับทะเลแคริบเบียน และอ่าว เม็กซิโกในมหาสมุทรแอตแลนติก ส่วนดินแดนทางทิศใต้ ได้แก่ หมู่เกาะ เวสต์อินดีส เกาะที่สาคัญมี คิวบา ฮิสปันโยลา จาเมกา เปอร์โตริโก
  • 7. ทิศตะวันตก ติดต่อกับมหาสมุทร แปซิฟิก ทางตอนเหนือของทวีปมี ช่องแคบเบริงคั่นระหว่างทวีปอเมริกา เหนือกับทวีปเอเชีย มีคาบสมุทรที่ สาคัญ คือ คาบสมุทรแคลิฟอร์เนีย และคาบสมุทรอะแลสกา น่านน้าที่ สาคัญ ได้แก่ ทะเลเบริง อ่าวอะแลสกา อ่าวแคลิฟอร์เนีย เกาะที่สาคัญ ได้แก่ เกาะแวนคูเวอร์ หมู่เกาะอาลูเชียน และหมู่เกาะควีนชาร์ล็อต
  • 8. การแบ่งภูมิภาค อเมริกาเหนือแบ่งตาม สภาพสังคมวัฒนธรรม มี 2 ส่วน ได้แก่ แองโกล อเมริกาและละตินอเมริกา โดยถือเอาแม่น้าริโอแกรนด์ เป็นพรม แดนระหว่างเม็กซิโกกับสหรัฐอเมริกา เป็นแนวแบ่ง
  • 9. ลักษณะภูมิ ประเทศ ลักษณะภูมิประเทศ แบ่งออกเป็น 4 เขต เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก เขตที่ราบภาคกลาง เขตหินเก่าแคนาดา เขตเทือกเขาภาคตะวันออก
  • 10. เขตเทือกเขาสูงภาคตะวันตก เป็นเขตเทือกเขาสูงที่สลับซับซ้อนกันหลายแนวที่เกิดจาก การโก่งตัวของเปลือกโลกที่มีอายุน้อยจึงเป็นเขตที่มักเกิด ปรากฏการณ์แผ่นดินไหว มีอาณาบริเวณตั้งแต่ตอนเหนือ สุดของช่องแคบเบริงจนถึงประเทศปานามา ได้แก่ เทือก เขาอะแลสกา มียอดเขาสูงสุดในทวีปอเมริกเหนือ ชื่อ ยอดเขาแมกคินลีย์ (6,190 เมตร) เทือกเขารอกกี เทือกเขา แคสเกต เทือกเขาเซียราเนวาดา เทือกเขาเซียรามาเดร และเทือกเขาโคสต์ระหว่างเทือกเขาสูงเหล่ามีที่ราบสูง ระหว่างเทือกเขาที่สาคัญ คือ ที่ราบสูงอะแลสกา ที่ราบสูง บริติชโคลัมเบีย ที่ราบสูงเกรตเบซิน ที่ราบสูงโคโลราโด และที่ราบสูงเม็กซิโก โดยเฉพาะที่ราบสูงโคโลราโด มี ลักษณะภูมิประเทศที่เป็นโกรกธาร หุบเหวลึก มีหน้าผาสูงชัน ซึ่งเป็นผลมาจากการไหลของ แม่น้าโคโลราโด ทาให้เกิดการกัดเซาะดินและชั้นหิน เกิดเป็นภูมิประเทศที่สวยงาม ที่มีชื่อเสียง มากที่สุด คือ แกรนด์แคนยอน ในมลรัฐแอริโซนา
  • 12. เขตที่ราบภาคกลาง เป็นที่ราบกว้างใหญ่ มีอาณาเขตตั้งแต่ มหาสมุทรอาร์กติกทางตอนเหนือลงมา จนถึ ง อ่ า วเม็ ก ซิ โ กทางตอนใต้ และ ระหว่างเทือกเขารอกกีกับเทือกเขาแอปปา เลเชียน ประกอบด้วยชั้นหินที่เกิดจากการ โก่งตัวของเปลือกโลก ลักษณะโดยทั่วไป เป็นที่ราบลูกคลื่น คือ บริเวณที่สูงจะอยู่ ตอนเหนื อ และเขตติ ด ต่ อ กั บ เทื อ กเขา รอกกี บริ เ วณตอนกลางเป็ น ที่ ร าบลุ่ ม แม่น้าต่างๆ ประกอบด้วยเขตที่ราบ 6 เขต คือ
  • 13. 1. ที่ราบลุ่มแม่น้าแมกเคนซี (Mackenzie Lowlands) อยู่ตอนเหนือสุดระหว่างเขตหินเก่า แคนาดากับเทือกเขาแมกคินลีย์ เป็นที่ราบลุ่มแม่น้าแคบๆ มีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง เนื่องจาก มีอากาศหนาวเย็น 2. ที่ราบแพร์รีแคนาดา (Canadian Prairie) เป็นที่ราบใหญ่อยู่ทางภาคกลางของแคนาดา ได้แก่ บริเวณรัฐแมนิโทบา ซัสแคตเชวัน แอลเบอร์ทา เป็นเขตปลูกข้าวสาลีที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก 3. ที่ราบลุ่มทะเลสาบเกรตเลกส์ และลุ่มแม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ (Great Lakes and St.Lawrence) ทะเลสาบทั้ง 5 ได้แก่ ทะเลสาบสุพีเรีย (ทะเลสาบน้้าจืดที่ใหญ่ที่สุดในโลก) มิชิแกน ฮูรอน อีรี และออนแตริโอ เป็นแหล่งน้าที่มีอาณาเขตติดต่อกัน และระหว่างทะเลสาบอีรีกับออนแตริโอมี น้าตกขนาดใหญ่ ชื่อว่า น้าตกไนแอการาและที่ชายฝั่งทะเลสาบออนแตริโอ มีทางระบายซึ่งเป็น ต้นกาเนิดของแม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ไหลลงสู่มหาสมุทรแอตแลนติก เขตที่ราบรอบทะเลสาบ ทั้ง 5 และลุ่มแม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ มีดินที่เหมาะแก่การเพาะปลูก และเป็นบริเวณที่การขนส่ง ทางน้าภายในทวีปสาคัญที่สุดในโลก จึงเป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น
  • 14. 4. ราบลุ่มแม่น้ามิสซิสซิปปี-มิสซูรี (Missisippi-Missouri Plain) เป็นที่ราบที่เกิดจากแม่น้าพัด เอาดินตะกอนมาทับถมเป็นบริเวณกว้าง เหมาะแก่การเพาะปลูก ได้แก่ แม่น้ามิสซิสซิปปี ซึ่งมีความยาวที่สุดในอเมริกาเหนือ ยาว 3,779 กิโลเมตร ไหลลงสู่อ่าวเม็กซิโก และมีแม่น้าสาขา คือ แม่น้ามิสซูรี โอไฮโอ เทนเนสซี อาร์คันซอส์เป็นเขตที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่นแห่ง หนึ่งของอเมริกาเหนือ 5. ที่ราบชายฝั่งอ่าวเม็กซิโกและชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก (Gult Coast and Atlantic Plain) มีบริเวณตั้งแต่ทางตะวันออกของเทือกเขาแอปปาเลเชียนลงไปทางใต้ถึงอ่าวเม็กซิโก โดยเฉพาะ ที่ราบชายฝั่งอ่าวเม็กซิโกเป็นเขตที่มีอากาศร้อน จึงเหมาะแก่การปลูกพืชเมืองร้อน เช่น ยาสูบ ข้าวเจ้า ฝ้าย และผลไม้ต่างๆ 6. ที่ราบบนที่สูง (High Plains) ได้แก่ พื้นที่ทางด้านตะวันออกของเทือกเขารอกกี ซึ่งเป็นเขต เงาฝนหรือเขตอับลม ทาให้มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ยต่อปีต่า เป็นเขตเหมาะสาหรับปลูกข้าวสาลี โดยใช้เครื่องจักรทุ่นแรงในการเพาะปลูกแบบไร่ขนาดใหญ่
  • 15. เขตหินเก่าแคนาดา ได้แก่ พื้นที่บริเวณรอบๆ อ่าวฮัดสัน ลงมาถึงทะเลสาบทั้ง 5 เป็นเขตหินที่ เก่าแก่ที่สุดเช่นเดียวกับ บอลติกชีลด์ ใน ทวีปยุโรป ประกอบด้วยหินเปลือกโลก ที่มีอายุเก่าแก่และผ่านการสึกกร่อนมา นาน ลักษณะของพื้นที่จงเป็นที่ราบเกือบ ึ ทั้งหมดและอยู่ในเขตอากาศหนาวจัด ทางตอนเหนือมีเกาะใหญ่น้อยมากมาย พื้นที่ส่วนใหญ่มีธารน้าแข็งปกคลุม มีประชากรอาศัยอยู่เบาบางและมี จานวนน้อยมาก
  • 16. เขตเทือกเขาภาคตะวันออก มีอาณาเขตตั้งแต่เกาะนิวฟันด์แลนด์ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือของ แคนาดาลงมาถึงภาคตะวันออกเฉียงใต้ ของสหรัฐอเมริกา เป็นเขตหินเก่าแต่มี อายุน้อยกว่าเขตหินเก่าแคนาดา ประกอบด้วยเทือกเขาเตี้ยๆ ที่ผ่านการ สึกกร่อนมานาน ได้แก่ เทือกเขาแอปปาเลเชียน มียอดเขา สูงสุดชื่อ ยอดเขามิตเชล อยู่ในมลรัฐ นอร์ทแคโรไลนา สูง 2,005 เมตร
  • 17. เขตภูมิอากาศและ ภูมิอากาศในทวีปอเมริกาเหนือ แบ่งได้เป็น 12 เขต ดังนี้ พืชพรรณธรรมชาติ ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเขตร้อน ภูมิอากาศแบบทะเลทราย ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น ภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก ภูมิอากาศแบบทุ่งน้าแข็ง ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ภูมิอากาศแบบที่สูง ภูมิอากาศแบบไทกาหรือกึ่งขั้วโลก ภูมิอากาศแบบทุนดราหรือขั้วโลก
  • 18. ภูมิอากาศแบบป่าดิบชื้น เป็นภูมิอากาศที่มีฝนตกชุกและอุณหภูมิ สูงตลอดปีพชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าดิบ ื ชื้น พบบริเวณ ชายฝั่งตะวันออกของ อเมริกากลาง บางส่วนของหมู่เกาะอินดีส ตะวันตก ป่าดิบชื้น
  • 19. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้าเขตร้อน ลักษณะอากาศ อุณหภูมิสูงตลอดปีเฉลี่ยสูงกว่า 18 องศาเซลเซียส มีฤดูแล้งสลับให้เห็น เด่นชัด ฝนส่วนใหญ่ตกในฤดูร้อน ปริมาณนาฝนมากกว่า 1,200 มิลลิเมตรต่อปี ในฤดูหนาวอากาศ แห้งคล้ายกับภาคกลาง ภาคเหนือและ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย พืชพรรณธรรมชาติ ทุ่งหญ้าสะวันนา เป็นทุ่งหญ้าป่าโปรง หรือที่เรียกว่าทุ่งหญ้าเมืองร้อน Sawanna ทุ่งหญ้าสะวันนา จะปรากฏ ลักษณะอากาศแบบนี้ ทางตะวันตกของอเมริกากลาง ตอนใต้ของหมู่เกาะอินดีสตะวันตก ในทวีป อเมริกาเหนือ
  • 20. ภูมิอากาศแบบทะเลทราย เป็นภูมิอากาศร้อนแห้งแล้ง ปริมาณน้าฝนเฉลี่ยไม่เกิน 10 นิ้ว/ปี ลักษณะอากาศ กลางวันร้อนจัด อุณหภูมิสงกว่า 40 องศาเซลเซียส ในตอนกลางคืนอากาศหนาว ู จัด อุณหภูมต่ากว่าจุดเยือกแข็ง พืชพรรณธรรมชาติเป็นพืชจาพวกตะบอกเพชร ิ และไม้ประเภทมีหนาม พบบริเวณ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกาและ ภาคเหนือของเม็กซิโก ต้นตะบองเพชร อูฐ
  • 21. ภูมิอากาศแบบทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทราย เป็นภูมิอากาศร้อนแห้งแล้ง ฤดูหนาวอากาศหนาวจัด ปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 10-15 นิ้ว/ปี พืชพรรณธรรมชาติ เป็นทุ่งหญ้าสั้นๆ เรียกว่า ทุ่งหญ้าสเตปป์ (Steppe) พบบริเวณ ชายขอบของทะเลทรายทางตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐ อเมริกา บางส่วนของแคนาดาและเม็กซิโก ลักษณะของทุงหญ้าสเตปป์ ่
  • 22. ภูมิอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ลักษณะอากาศในฤดูร้อนอุณหภูมค่อนข้างสูง อากาศร้อนและแห้งแล้ง ส่วนใน ิ ฤดูหนาวอากาศอบอุ่นและมีฝนตก ปริมาณน้าฝนประมาณ 1,000 มิลลิเมตรต่อปี พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้ใบกว้างไม่ผลัดใบ หรือไม้พุ่มเตี้ยสลับทุงหญ้า ่ ป่าละเมาะ ป่าแคระ พันธุ์ไม้ส่วนใหญ่จะเป็นผลไม้ตระกูลส้ม เช่น องุ่น มะกอก ส้ม เป็นต้น พบบริเวณ ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทางตอนกลางของมลรัฐ แคลิฟอร์เนียของสหรัฐอเมริกา ไม้พุ่มเตี้ยสลับ ทุ่งหญ้า
  • 23. ต้น คอร์กโอ๊ค เป็นไม้ยืน ต้นในเขตภูมิอากาศแบบ เมดิเตอร์เรเนียน ที่มีต้น เตี้ยแคระ เปลือกลาต้น หนา เพราะสามารถป้อง กันการระเหยของน้าได้ดี
  • 24. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้น อุณหภูมในฤดูหนาวจะสูงกว่าเขตภูมิอากาศ ิ แบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป ในฤดูร้อนอากาศ อบอุ่น อุณหภูมิค่อนข้างสูง มีฝนตกเกือบตลอด ปี ปริมาณน้าฝนประมาณ 650 มิลลิเมตรต่อปี พืชพรรณธรรมชาติเป็นป่าไม้ใบกว้างผลัดใบ บริเวณที่มีปริมาณน้าฝนน้อยจะเป็นทุ่งหญ้า แพรรี พบบริเวณภาคตะวันออกเฉียงใต้ของ สหรัฐอเมริกาที่ราบชายฝังมหาสมุทร ่ แอตแลนติกและ ดินแดนที่อยู่ภายในทวีปที่ มีฝนตกน้อย ป่าไม้ใบกว้างผลัดใบ
  • 25. ภูมิอากาศแบบภาคพื้นสมุทรชายฝั่งตะวันตก อากาศในฤดูร้อนอบอุ่นถึงค่อนข้างเย็น ฤดู ห นาวอากาศไม่ ห นาวจั ด มี ฝ นตก สม่าเสมอตลอดปี เพราะได้รับอิทธิพล จากลมประจาตะวันตก พืชพรรณ ธรรมชาติ เ ป็ น ป่ า ไม้ ใ บกว้ า งผลั ด ใบ ได้ แ ก่ เมเปิ ล วอลนั ท เชสต์ นั ท โอ๊ ก บีซ เบิร์ช แอช สวีท พบบริเวณ ช า ย ฝั่ ง ม ห า ส มุ ท ร แ ป ซิ ฟิ ก ข อ ง สหรัฐอเมริกาและแคนาดา ลักษณะต้น คอร์กโอ๊ค
  • 26. ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นภาคพื้นทวีป เนื่องจากพื้นทีส่วนใหญ่อยู่ห่างไกลจากทะเล ่ ในฤดูหนาวอากาศหนาวเย็นเป็นระยะเวลานาน ส่วนในฤดูร้อน อุณหภูมค่อนข้างร้อน ฝนตก ิ ในฤดูร้อนส่วนใหญ่เกิดจากฝนพาความร้อน ในฤดูหนาวมีหิมะตก พืชพรรณธรรมชาติเป็น ป่าไม้ใบกว้างผลัดใบและป่าผสมป่าสน พบ บริเวณ พื้นทีทางตะวันออกและตะวันตกของ ่ ทะเลสาบทั้ง 5 ( บริเวณทางตอนใต้ของ แคนาดาและตอนเหนือของสหรัฐอเมริกา) ตัวอย่างไม้ใบกว้างและไม้ผลัดใบในช่วง ฤดูหนาวเป็ นภาพป่าฤดูการผลัด
  • 27. ภูมิอากาศแบบไทกาหรือกึ่งขั้วโลก เนื่องจากอยู่ห่างจากทะเลถัดจากภูมิอากาศแบบทุนดรา ทาให้ในฤดูหนาวอากาศ หนาวจัดรุนแรง ส่วนในฤดูร้อนมีอากาศอบอุ่นขึ้น มีฝนตกส่วนใหญ่ตกในรูปของ หิมะ พืชพรรณธรรมชาติ เป็นป่าสนไทกา ต้นไม้มีลักษณะตั้งตรง กิงสั้นมีใบเล็ก ่ แหลม คล้ายเข็ม เพื่อลดการคลายน้าจึงมีใบเขียวตลอดปี พบบริเวณ มลรัฐอะแลสกา และพื้นที่ส่วนใหญ่ทางภาคเหนือของแคนาดา ป่าสนไทกา
  • 28. ภูมิอากาศแบบทุนดราหรือขั้วโลก ลักษณะอากาศของเขตนี้ ฤดูร้อนมีระยะเวลาสั้นประมาณ 2-3 เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่า กว่า 10 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจัด อุณหภูมิต่ากว่าจุดเยือกแข็งยาวนาน กว่า 6 เดือน ฝนตกน้อยส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ พืชพรรณธรรมชาติ ได้แก่พวก มอส ตะไคร่น้า ไลเคน ส่วนในฤดูร้อนจะมีไม้ดอก ซึ่งเรียกว่า ทุนดราแพรรี จาพวก ต้นอาร์กติกวิล โลว์ อาร์กติกปอบปี เจริญเติบโตในระยะเวลาสั้น ๆ พบบริเวณชายฝั่งของมหาสมุทรอาร์กติก ของมลรัฐอะแลสกาและแคนาดา มอส ไลเคน ต้นอาร์กติกวิลโลว์
  • 29. ภูมิอากาศแบบทุ่งน้าแข็ง ลักษณะอากาศหนาวจัดตลอดทั้งปี ไม่มีเดือนใดอุณหภูมิสูงกว่าจุดเยือกแข็งเป็นเขตที่ทุรกันดาร จนได้รับสมญาว่าทะเลทรายแห่งหิมะ ทาให้พืชไม่สามารถขึ้นได้เลย ดินแดนนี้จึงปราศจากพืช พรรณธรรมชาติ บริเวณที่ปรากฏลักษณะภูมิอากาศแบบนี้ได้แก่ ทวีปแอนตาร์กติกา และตอน กลางของเกาะกรีนแลนด์ ภูมิอากาศแบบที่สูง ลักษณะอากาศจะเปลี่ยนแปลงไปตามความสูงและที่ตั้งตามละติจูด ภูมิอากาศจะแตกต่างกัน ตามท้องถิ่นซึ่งอุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงในอัตราเฉลี่ยทุกๆ 180 เมตร อุณหภูมิจะลดลง 1 องศา เซลเซียสโดยประมาณทั้งนี้ขึ้นอยู่กับที่ตั้งตามละติจูด และอาจจะเปลี่ยนแปลงตามปัจจัยอื่น ๆ ของภูมิอากาศ อาทิ ระยะห่างจากทะเล ลมประจาปี กระแสน้าในมหาสมุทร เป็นต้น พืชพรรณ ธรรมชาติก็จะเปลี่ยนแปลงตามความสูงของพื้นที่และที่ตั้งตามละติจูด บริเวณที่ปรากฏลักษณะ ภูมิอากาศแบบนี้ จะพบตามเทือกเขาสูง ที่สาคัญของโลก อาทิ เทือกเขาหิมาลัย ในทวีปเอเชีย เทือกเขาร็อกกี้ในทวีปอเมริกาเหนือ เทือกเขาแอนดีส ในทวีปอเมริกาใต้ เทือกเขาคิริมานจาโร ใน ทวีปแอฟริกา
  • 30. ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรดิน ทวีปอเมริกาเหนือมีที่ดินที่ขาดความ ความอุดมสมบูรณ์ ไม่เหมาะแก่การเกษตร ได้แก่ ดินในเขตภูมิ อากาศหนาวเย็น ทางภาคเหนือของประเทศแคนาดาและรัฐ อะแลสกา ดินที่อุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การเกษตรมีหลายบริเวณ เช่น ดินในเขตทุ่งหญ้าบริเวณภาคกลางของสหรัฐอเมริกาและทางตอนกลางของ ภาคใต้ของแคนาดา ดินในเขตลุ่มน้าต่างๆ เป็นดินตะกอนเหมาะแก่การเพาะปลูก ดินในพื้นที่แห้งแล้ง เช่น ทะเลทรายและทุ่งหญ้ากึ่งทะเลทรายในสหรัฐอเมริกา และเม็กซิโกก็เป็นดินอุดมสมบูรณ์ หากมีระบบการชลประทานเข้าถึงก็สามารถ ใช้ในการเพาะปลูกได้ดี
  • 31. ทรัพยากรป่าไม้ ป่าไม้ของอเมริกาเหนือมีประมาณร้อยละ 16 ของพื้นที่ ป่าไม้ทั้งหมด ของโลกโดยป่าไม้สาคัญจะอยู่ในประเทศ ป่าสนที่พบมากในเขตภูมิอา แคนาดา สหรัฐอเมริกา บางส่วนของเม็กซิโก และคิวบา กาศแบบอบอุ่นและกึ่งขั้วโลก ลักษณะของป่าจะเป็นป่าที่มีต้นไม้จะหนาแน่นมากทาง (ป่าไทก้า) ได้แก่ในประเทศ แคนาดา และสหรัฐอเมริกา ชายฝั่งตะวันตก นับตั้งแต่เทือกเขาร็อกกีไปจนถึงปานามา ต้นไม้ที่สาคัญ ได้แก่ ไพน์ เปอร์สปรูซ ฮิกคอรี ปอปลาร์
  • 32. ทรัพยากรสัตว์ในธรรมชาติ ทวีปอเมริกาเหนือแม้จะมี พื้นที่กว้าง ใหญ่ไพศาล แต่ปริมาณสัตว์ป่าก็มีไม่ มากนัก เพราะการบุกทาลายพื้นที่ป่า ไม้และมีการล่าสัตว์ป่า สัตว์ป่าทีสาคัญ ได้แก่ ตัวมิงค์ ่ สุนัขจิ้งจอก หมี บีเวอร์ เออร์มัน จระเข้ และนกชนิดต่าง ๆ แผนที่แสดงทรัพยากรสัตว์ป่า
  • 33. นกอินทรีหัวขาว สัตว์ประจ้าชาติของสหรัฐอเมริกา หมีขั้วโลก หมีกีซซี่ นกฮัมมิ่ง เบิร์ด นกที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก
  • 34. วาฬเพชฌฆาต หมาป่า สิงโตภูเขาซึ่ง ชาวอินเดียน แดงเรียกว่า “พูมา” งูหางกระดิ่ง
  • 35. ทรัพยากรพลังงาน ในทวีปอเมริกาเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกาและแคนาดา มีการพัฒนา การใช้พลังงาน ในหลายรูปแบบ ได้แก่ น้้ามันปิโตรเลียม แหล่งสาคัญจะอยู่ ในสหรัฐอเมริกา แคนาดา เม็กซิโก คิวบา เปอร์โตริโก ประเทศที่มีปริมาณน้ามันสารอง มากได้แก่ แคนาดา สหรัฐอเมริกา เม็กซิโก เอลซัลวาดอร์ กัวเตมาลา แท่นขุดเจาะน้้ามันในทะเล
  • 36. ไฟฟ้าพลังน้้า แหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานน้า ที่สาคัญของทวีปอเมริกา เหนือ จะอยู่ทางด้าน ตะวันตกของประเทศแคนาดา ที่ใช้พลังงานน้าตก รองลงมา คือสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก คิวบา กัวเตมาลา ปานามา ไฟฟ้าพลังน้้าใน รัฐออนตาริโอ ประเทศแคนาดา
  • 37. ไฟฟ้าพลังลม แหล่งผลิตไฟฟ้าพลังงานลมได้แก่ รัฐวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา หุบเขาพลังงานลม ใกล้เมือง Walla Walla รัฐวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา
  • 38. ไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ ไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ โรงงานอุตสหรรม ในเมืองซาคาเมนโต สหรัฐอเมริกา ในเมือง Frederick รัฐMaryland
  • 39. แร่ธาตุ ทวีปอเมริกาเหนือมีแร่ธาตุกระจายอยู่ ตามพื้นทีต่าง ๆ แม้แต่ในประเทศเล็ก ๆ ่ เช่น กัวเตมาลา ฮอนดูรัส นิการากัว คิวบา สาธารณรัฐโดมินิกัน จึงเป็น ปัจจัยหนึ่งในการพัฒนา อุตสาหกรรม ให้เจริญก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว แร่ธาตุที่สาคัญได้แก่ เหล็ก ตะกั่ว อะลูมีเนียม ทองแดง กามะถัน โปรแตส บ็อกไซต์ นิกเกิล ทอง เงิน
  • 40. ลักษณะทางสังคมและวัฒนธรรม ของทวีปอเมริกาเหนือ เชื้อชาติ ภาษา ประชากร ศาสนา การศึกษา การกระจายและความแน่น ของประชากร
  • 41. เชื้อชาติ 1. กลุ่มคนผิวเหลือง เป็นชนเผ่าดั้งเดิมทีอพยพ ่ มาจากทวีปเอเชีย ได้แก่ ชาวเอสกิโม หรือ อเมรินเดียน ( Amerindian ) ปัจจุบัน อาศัยอยู่ในประเทศแคนาดา มลรัฐอะแลสกาของสหรัฐอเมริกา ภาพชาวเอสกิโม
  • 42. ชาวอินเดียน ( Indian ) หรือเรียกว่า อเมริกันอินเดียน ปัจจุบันอาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาและอเมริกากลาง ชนเผ่าโอปิอินเดียน อาศัยอยูทาง ่ ตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา
  • 43. 2. กลุ่มคนผิวขาว เป็นประชากรที่อพยพมาจากทวีปยุโรป ได้แก่ ชาวสเปน โปรตุเกส อังกฤษ ฝรังเศส เยอรมัน และชาวยุโรปอื่นๆ เป็นประชากร ่ ส่วนใหญ่ของสหรัฐอเมริกาและแคนาดา 3. กลุ่มคนผิวด้า เป็นประชากรที่ถูกนามาจากทวีปแอฟริกา เพื่อใช้แรงงาน ในไร่ น าในสหรั ฐ อเมริ ก า มี อ ยู่ ม ากในสหรั ฐ อเมริ ก ามากกว่ า 30 ล้ า นคน ชนเผ่าบุ๊ชแมน
  • 44. 4. กลุ่มคนเลือดผสม เมสติโซ ( Mestizo ) หมายถึง พวกเลือดผสมระหว่างชาวผิวขาวกับ อินเดียน เป็นประชากรส่วนใหญ่ของกลุ่มประเทศลาตินอเมริกา พวกเมสติโซ มูแลตโต ( Mulatto ) หมายถึง พวกเลือดผสมระหว่าง ชาวผิวดากับชาวผิวขาว เป็นประชากรในสหรัฐอเมริกา
  • 45. ภาษา ภาษาที่ประชากรส่วนใหญ่ใช้ในปัจจุบัน เป็นตระกูลอินโด-ยูโรเปียน มีหลายกลุ่ม ดังนี้ ภาษาอังกฤษ เป็นภาษาประจาชาติและภาษาราชการ ของแคนาดาและสหรัฐอเมริกา ภาษาสเปน เป็นภาษาราชการของประเทศเม็กซิโก และประเทศต่างๆในอเมริกากลาง ภาษาฝรังเศส เป็นภาษาที่ใช้มากในรัฐควิเบกของ ่ แคนาดาและในเกาะเฮติ
  • 46. ศาสนา คริสต์ศาสนา เป็นศาสนาของคนส่วนใหญ่ ในอเมริกาเหนือ มีนิกายสาคัญคือ นิกายโปรเตสแตนต์ ประชากรที่นบถืออยู่ในแคนาดา ั และสหรัฐอเมริกา นิกายโรมันคาทอลิก ประชากรที่นับถืออยู่ในรัฐควิเบกของแคนาดา และประเทศต่างๆ ในลาตินอเมริกา รวมทังประชากรในเมืองต่างๆ ้ ของสหรัฐอเมริกาที่เคยเป็นอาณานิคมของสเปนมาก่อน
  • 47. การศึกษา กลุ่มแองโกลอเมริกา รัฐบาลได้จัดการศึกษาแบบให้เปล่า ทั้งระดับประถมและมัธยม อาจกล่าวได้ว่าประชากร ที่มีอายุเกิน 15 ปี เกือบทุกคนเป็นผู้อ่านออกเขียนได้ กลุ่มลาติอเมริกา มีผู้รู้หนังสือมากกว่าร้อยละ 80 ยกเว้น เอลซัลวาดอร์ ฮอนดูรัส นิการากัว มีผู้รู้หนังสือประมาณร้อยละ 73 กัวเตมาลาและเฮติ มีผู้รู้หนังสือเพียงร้อยละ 60 และ 53 ตามลาดับ
  • 48. การกระจายและความ หนาแน่นของประชากร อเมริกาเหนือมีประชากรทังหมดประมาณ 509 ล้านคน ้ ( 2548 ) เฉลี่ยความหนาแน่นประมาณ 23 คนต่อตาราง กิโลเมตร
  • 49. 1. บริเวณทีมีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น ่ คือ ภาคตะวันออกของทวีป ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบ ซึ่งเหมาะแก่การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ และการคมนาคมขนส่ง มีปริมาณฝนเพียงพอกับการเพาะปลูก มีแร่ธาตุที่ส่งเสริมอุตสาหกรรม ได้แก่ ถ่านหิน เหล็ก น้ามันปิโตรเลียม มีการคมนาคมขนส่งสะดวก ทั้งทางน้า ภายใน และทะเลสาบใหญ่ทั้ง 5 แม่น้าเซนต์ลอเรนซ์ แม่น้ามิสซิสซิปป
  • 50. 1. บริเวณทีมีประชากรอาศัยอยู่เบาบาง ่ เขตเทือกเขาและที่ราบสูงภาค ตะวันตก เขตทะเลทรายทางภาค ตะวันตกเฉียงใต้ เขตอากาศหนาวเย็นใน มลรัฐอะแลสกาและดินแดน ทางภาคเหนือของแคนาดา
  • 51. ลักษณะทาง เศรษฐกิจ อาชีพ การคมนาคมขนส่ง
  • 52. อาชีพ การเพาะปลูก ข้าวโพด เป็นพืชเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา ปัจจุบันสามารถผลิตได้เป็นอันดับ 1 ของโลก ปลูกมากบริเวณที่ราบภาค กลาง โดยเฉพาะดินแดนทางตอนใต้ ของทะเลสาบทั้ง 5 ที่เรียกว่า แดน ข้าวโพด ( corn belt ) ในเขตประเทศ สหรัฐอเมริกา แดนข้าวโพด ( corn belt )
  • 55. พืชผลเมืองร้อน พื้นที่ครอบคลุมชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก และภาคใต้ของมลรัฐแคลิฟอร์เนีย ในสหรัฐอเมริกา ยาสูบเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญและทารายได้ อย่างมหาศาล จน ได้รับฉายาว่า "ทองค้าเขียว" ไร่ยาสูบปลูกกันในรัฐเวอร์จีเนีย นอร์ทแคโรไลนา เซาท์แคโรไลนา เคนทักกี จอร์เจีย และทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ในประเทศคิวบาก็เป็นแหล่งปลูกยาสูบที่สาคัญอีกแหล่งหนึ่งด้วย โดยสิน ค้าส่งออกที่มชื่อเสียงของคิวบาก็คือ ซิการ์ฮาวานา ี ไร่ยาสูบในรัฐเวอร์จีเนีย
  • 56. ผักและผลไม้ต่างๆ บริเวณรัฐทางใต้ของประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งตั้งอยู่ในเขตร้อน ได้แก่ รัฐฟลอริดา ปลูก พวกส้ม ในเขตอบอุ่นปลูกเชอร์รี่ แอปเปิล บริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งมีภูมิอากาศ แบบเมดิเตอร์เรเนียน ปลูกองุ่น มะกอก เป็นต้น เชอร์รี่ ส้มแคลิฟอร์เนีย
  • 57. แอปเปิล ไร่องุ่น มะกอก สตรอเบอรี่
  • 58. การเลี้ยงสัตว์ เลี้ยงสัตว์ในทุงหญ้าที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยเลี้ยงแบบคอกปศุสัตว์ขนาดใหญ่ ่ ( livestock ranching ) แล้วปล่อยให้โคออกหากินหญ้าในทุ่งตามธรรมชาติ สัตว์เลี้ยง ส่วนใหญ่เป็นวัวเนื้อ พบในเขตภาคตะวันตกของแคนาดา สหรัฐอเมริกา และส่วน ใหญ่ของเม็กซิโก การเลี้ยงสัตว์ในทุ่งหญ้าในแคลิฟอร์เนีย
  • 59. การทาป่าไม้ ทวีปอเมริกาเหนือผลิตไม้ได้เป็นอันดับที่ 2 ของโลก รองจากทวีปยุโรป เขตป่าไม้ที่ สาคัญ อยู่ทางตะวันตกของแคนาดา และสหรัฐอเมริกา ไม้เศรษฐกิจคือ ไม้สน เพราะ นาไปใช้ในการก่อสร้าง และเยื่อกระดาษ โดยเฉพาะไม้สนที่เรียกว่า " ดักลาสเฟอร์ " ทางตะวันตกของสหรัฐอเมริกา เป็นไม้ที่มีค่ามากในการตัดมาใช้ทาประโยชน์ต่างๆ ไม้สนที่เรียกว่า " ดักลาสเฟอร์ "เป็นไม้ เศรษฐกิจที่มีค่ามากในการตัดมาใช้ท้า ประโยชน์ต่างๆ การท้าไม้ใน แคนาดา
  • 60. การประมง แหล่งประมงสาคัญ ได้แก่ เขตน้าตื้นใกล้ชายฝั่งของมหาสมุทรแอตแลนติก และทางตะวันตก ของเกาะนิวฟันด์แลนด์ เรียกว่า "แกรนด์แบงก์" เป็นเขต ไหล่ทวีป มี กระแสน้้าอุ่นกัลฟ์สตรีม และ กระแสน้้าเย็นแลบราดอร์ ไหลมา บรรจบกัน ทาให้มีปลาอุดมสมบูรณ์ ปลาที่จับได้มาก คือ ปลาคอด ปลาทูน่า และปลาเฮอร์ริง นอกจากนี้ยังมีปู กุ้งมังกร อีกด้วย การจับปลาเฮอร์ริ่ง ซึ่งเป็นปลาเศรษฐกิจ ที่ส้าคัญ ปลาคอด
  • 61. การทาเมืองแร่ ถ่านหิน ทวีปอเมริกาเหนือเป็นแหล่งถ่านหินมากพอๆกับแหล่งถ่านหินของประเทศ รัสเซียและจีน แต่ถ่านหินในทวีปอเมริกาเหนือมีคุณภาพดีกว่า แหล่งถ่านหิน ที่สาคัญ คือ ในเทือกเขาแอลปาเลเซียนของสหรัฐอเมริกาได้แก่ รัฐเพนซิล - วาเนีย เวอร์จิเนียตะวันตก โอไฮโอ ไวโอมิง เคนตักกี และเทนเนสซี เหมืองถ่านหินในรัฐไวโอมิง สหรัฐอเมริกา
  • 62. ปิโตรเลียม แหล่งผลิตที่สาคัญ ได้แก่ บริเวณเทือกเขาแอลปาเลเซียน ลุ่มแม่น้ามิสซิสซิปปี ชายฝังอ่าวเม็กซิโก รัฐแคลิฟอร์เนีย และอะแลสกา รวมทั้งภาคกลางของแคนาดา ่ แท่นขุดเจาะน้้ามันในทะเล ชายฝั่งอ่าวเม็กซิโก แหล่งที่พบน้้ามันมากในอเมริกาเหนือ ก็คือ รัฐอะแลสกา สหรัฐอเมริกา
  • 63. เหล็ก พบมากในบริเวณทะเลสาบทั้ง 5 โดยเฉพาะชายฝั่งทะเลสาบสุพีเรีย ในสหรัฐอเมริกา ที่เรียกว่า ย่านเมซาบี (Mesabi) ซึ่งอยู่บริเวณเทือก เขาเมซาบี ในรัฐมินนิโซตา ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นแหล่งแร่เหล็ก ที่สาคัญที่สุดของทวีปอเมริกาเหนือ เทือกเขาเมซาบีซึ่งเป็นแหล่งแร่เหล็ก คนงานก้าลังท้างานใน ที่ส้าคัญในสหรัฐอเมริกา เหมืองแร่เหล็ก
  • 64. ทองคา พบครังแรกในรัฐแคลิฟอร์เนีย ปัจจุบันพบในบริเวณ ้ เทือกเขาร็อกกีและรัฐอแลสกาในสหรัฐอเมริกา และ รัฐออนแทรีโอของแคนาดา การเปิดหน้าเหมืองทองในสหรัฐอเมริกา การร่อนหาแร่ทอง เป็นกิจกรรมที่ได้รับ ความสนใจมากจากนักท่องเที่ยวทั้งหลาย
  • 65. บอกไซต์ เป็นแร่ที่ใช้ผลิตแร่อะลูมิเนียมพบ มากในหมู่เกาะอินดีสตะวันตก โดยเฉพาะที่เกาะจาเมกา และเกาะ อีสแปนีโอลา อลูมิเนียมบริสุทธิ์ ที่ได้จากการ ถลุง แร่บอกไซต์ การท้าเหมืองแร่บอกไซต์ ในจาเมกา ซึ่งรถบรรทุก ก้าลังน้าสินแร่ไปยังโรงถลุง
  • 66. อุตสาหกรรม อุตสาหกรรมสาคัญได้แก่อุตสาหกรรมหนัก เช่น การถลุงเหล็กและเหล็กกล้า กลั่นน้ามัน ผลิตเครื่องจักรเกษตรกรรมและอุสาหกรรม รถยนต์ เครื่องไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์เขตอุตสาหกรรมสาคัญของประเทศสหรัฐอเมริกา ได้แก่ บริเวณทะเลสาบเกรตเลกส์ เป็นเขตอุตสาหกรรมผลิตเหล็ก เหล็กกล้า รถยนต์ เคมีภัณฑ์ เครืองจักร เมืองอุตสาหกรรมที่สาคัญได้แก่ ชิคาโก ดีทรอยต์ ่ คลิฟแลนด์ พิตเบิร์ก บัพฟาโล บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแอตแลนติก เป็นเขตอุตสาหกรรมกลั่นน้ามัน เครื่องจักร การต่อเรือ ทอผ้า เคมีภัณฑ์ นาฬิกา และอาวุธ เมืองอุตสาหกรรมที่ สาคัญได้แก่ นิวยอร์ก บอสตัน ฟีลาเดอเฟีย บัลติมอร์ บริเวณชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิก เป็นเขตอุตสาหกรรมน้ามัน อาหาร เมืองที่ สาคัญได้แก่ ซาน ฟรานซิสโก ลอสแองเจลิส
  • 68. พาณิชยกรรม อเมริกาเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สหรัฐอเมริกา เป็นตลาดการค้าสาคัญของโลก ผู้นาทางการค้า ในทวีปอเมริกาเหนือทั้ง 3 ชาติ คือสหรัฐอเมริกา แคนาดา และ เม็กซิโก รวมกลุ่มกัน จัดตั้งเป็น เขตการค้าเสรีอเมริกาเหนือหรือ นาฟตา (NAFTA) เพื่อต่อรองและถ่วงดุลอานาจ กับประชาคมยุโรป รวมถึงการเจรจาการค้าในรูปแบบ ทวีภาคีด้วย เช่น การเจรจา FTA กับประเทศไทย เป็นต้น การค้าของประเทศใน อเมริกาเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา มีทงตลาดการค้าขายสินค้า ั้ (สินค้านาเข้า-สินค้าส่งออก) ตลาดทุน(Stock Market) และตลาดเงิน(Bond Market)
  • 69. ตลาดทุน ตลาดทุนของสหรัฐอเมริกาที่สาคัญ และมีอิทธิพลต่อ เศรษฐกิจโลกได้แก่ ตลาดทุน อุตสาหกรรมดาวน์โจน ( dow jones industrial ) และ ตลาดทุน ( NASDAQ ) การค้าขายในตลาดหุ้นอุตสาหกรรม Dow Jones ของสหรัฐอเมริกา ตลาดหุ้นNASDAQ ตั้งอยู่ที่ Times Square นิวยอร์ก สหรัฐอเมริกา
  • 70. ตลาดเงิน เป็นตลาดค้าขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ โดยเงินสกุลดอลลาร์ สหรัฐ ($) เป็นสกุลเงินที่มีอทธิพลกับภาวะเศรษฐกิจของโลกเป็นอย่างมาก ิ การค้าขายอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่าง ประเทศที่เมืองชิคาโก สหรัฐอเมริกา เงินดอลลาร์สหรัฐ
  • 71. การคมนาคมขนส่ง ทางบก ทางรถยนต์ ในทวีปอเมริกาเหนือมีเส้นทางถนนชั้นดีแบบซุปเปอร์ไฮเวย์ 2-4 ช่องทางการเดินรถครอบคลุมพื้นที่ทั่วทังทวีป ถนนสายหลักของของทวีปคือ ้ สายแพนอเมริกัน ซึ่งเริ่มต้นจากประเทศแคนาดาตัดลัดเลาะไปตามประเทศต่างๆ จนกระทั่งสิ้นสุดที่ประเทศชิลี ในทวีปอเมริกาใต้ ทางรถไฟ สหรัฐอเมริกามีเส้นทางรถไฟยาวประมาณ 425,000 กิโลเมตร หรือ ประมาณ 1 ใน 3 ของเส้นทางรถไฟของโลก ใช้เพื่อการขนส่งลาเลียงสินค้าเป็น หลัก เส้นทางรถไฟ สายสาคัญของทวีปได้แก่ - สายนอร์เทิร์นแปซิฟิก สายยูเนียนแปซิฟิก ในสหรัฐอเมริกา - สายเอลปาโซ - เม็กซิโกซิตี้ ในประเทศเม็กซิโก
  • 72. ทางน้า การคมนาคมทางน้าในกลุมประเทศแองโกลอเมริกาใช้เพื่อลาเลียงสินค้าเป็นหลัก ่ ส่วนประเทศในหมู่เกาะนั้น การคมนาคมทางน้าถือเป็นหัวใจหลักของการคมนาคม ของประเทศเลยทีเดียว เส้นทางการคมนาคมทางน้าที่สาคัญได้แก่ - แม่น้าเซนต์ลอร์เลนซ์ แม่น้าแมกแคนซี แม่น้ายูคอล ในประเทศแคนาดา - แม่น้ามิสซีสซิปปีและสาขา เขตทะเลสาบทั้งห้า การเดินเรือข้ามมหาสมุทร แอตแลนติกเพื่อเชื่อกับยุโรป เป็นต้น - การเดินทางเรือเชื่อมระหว่างเกาะ ในหมู่เกาะอินดีสตะวันตก - คลองปานามา เชื่อมระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติก
  • 73. คลองปานามา คลองขุดที่ เชื่อมระหว่างมหาสมุทร แปซิฟิก กับมหาสมุทรแอต แลนติก ทาให้ร่นระยะเวลา ในการเดินทาง จากตะวันตก ( มหาสมุทรแปซิฟิก )มายัง ฝั่งตะวันออก( มหาสมุทร แอตแลนติก )
  • 74. ทางทางอากาศ ในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะอย่างยิ่งสหรัฐอเมริกา มีการคมนาคมทางอากาศ ที่เจริญก้าวหน้ามากและแพร่หลายที่สุด ทังการบินภายในประเทศ และการบิน ้ ระหว่างประเทศ สายการบินที่สาคัญได้แก่ - แอร์แคนาดา ของประเทศแคนาดา - เดลตาแอร์ไลน์, ยูไนเต็ดแอร์ไลน์, อเมริกันแอร์ไลน์, ของสหรัฐเอมริกา - เม็กซิกานาแอร์ไลน์ ของเม็กซิโก - แอร์ปานามา ของปานามา
  • 75. สนามบินนานาชาติ จอร์น เอฟ เคนเนดี้(JFK) สนามบินนานาชาติ เซนต์หลุยส์ สนามบินนานาชาติ ซานฟรานซิสโก