SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
ใบความรู้ เรือง โครงสร้ างแฟมข้ อมูล
                                                  ้

สาระการเรียนรู้
   • ส่ วนประกอบของแฟ้ มข้อมูล
   • ประเภทของฐานข้อมูล
   • เอนทิตี
   • ระบบฐานข้อมูลในโปรแกรมประยุกต์

ส่ วนประกอบของแฟมข้ อมูล
                ้

   • บิต (Bit: Binary digit) เป็ นโครงสร้างการเก็บข้อมูลในหน่วยความจํา
     คอมพิวเตอร์ ซึ*งแทนค่าด้วยระบบเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1
   • ไบต์ (Byte) หมายถึง ข้อมูลที*เป็ นตัวอักขระทั1งหมด หนึ*งไบต์มีค่าเท่ากับ
     แปดบิต เมื*อมีขอมูลรับเข้าในโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ โปรแกรมจะทําการแปล
                       ้
     ความหมายจากตัวอักขระไปเป็ นตัวเลขฐานสองอย่างอัตโนมัติ โดยผูใช้ไม่ตองมี
                                                                       ้      ้
     ความรู ้เรื* องระบบเลขฐานสอง
   • เวิร์ด(word) เป็ นหน่วยข้อมูลที*มีขนาดใหญ่ข1 ึนมา หนึ*งเวิร์ดประกอบด้วย
     ข้อมูลจํานวนสองไบต์หรื อสิ บหกบิต ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรม
                                             ํ
   • เขตข้ อมูล (Field) เป็ นหน่วยเล็กที*สุดของแฟ้ มข้อมูล เขตข้อมูลเป็ นหน่วย
     ข้อมูลที*มีการกําหนดความกว้าในการรับข้อมูลเข้าในหน่วยความจําเป็ นไบต์ เช่น
     กําหนดเขตข้อมูลชื*อ Code ความกว้า 12 เขต ข้อมูลนี1จะรับข้อมูลได้ไม่เกิน 12
     ตัวอักขระเป็ นต้น
   • ระเบียน (Record) หมายถึงชุดข้อมูลหนึ*งชุดที*ประกอบด้วยเขตข้อมูลตั1งแต่
     หนึ*งเขตข้อมูลขึ1นไป เช่น ระเบียนข้อมูลของนักเรี ยนหนึ*งคนประกอบด้วยเขต
     ข้อมูลเลขประจําตัว เขตข้อมูลชื*อ และเขตข้อมูลนามสกุล เป็ นต้น
   • แฟม (File)ระเบียนข้อมูลในรู ปของตารางข้อมูล (Table) โดยจัดเรี ยนเป็ น
        ้
     บรรทัดละหนึ*งระเบียนต่อกันไป หรื อจัดเรี ยนระเบียนเป็ นหน้าโดยนําเขตข้อมูล
     มาวางลงในแต่ละหน้าเรี ยกว่าฟอร์มข้อมูล (Form) หรื อรายงาน (Report)
     ก็ได้
ประเภทของฐานข้ อมูล
โครงสร้างของฐานข้อมูลที*มีใช้ในปัจจุบนแบ่งออกเป็ น 3 แบบดังนี1
                                       ั
1. ฐานข้อมูลแบบลําดับชั1น(Hierarchical Database) เป็ นโครงสร้าง
                                     ั
   แบบต้นไม้ที*ขอมูลมีความสัมพันธ์กนแบบหนึ*งต่อหนึ*ง (One-to-One)
                  ้
   หรื อหนึ*งต่อกลุ่ม (One-to-many) เช่นพนักงานขายสิ นค้า หนึ*งคน
   สามารถขายสิ นค้าให้ลูกค้าหลายคน และลูกค้าแต่ละคนอาจซื1อสิ นค้าหลายชนิด
2. ฐานข้อมูลเครื อข่าย (Network Database) เป็ นฐานข้อมูลที*มี
   ความสัมพันธ์ได้ทุกแบบ เช่น หนึ*งต่อหนึ*ง (One-to-One) หนึ*งต่อกลุ่ม
   (One-to-many) หรื อกลุ่มต่อกลุ่ม (many-to-many) ก็ได้ เช่น
   ระบบการจําหน่ายสิ นค้าในห้างสรรพสิ นค้า
3. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็ นฐานข้อมูลที*นิยมใช้
                                         ั
   มากที*สุดในระบบฐานข้อมูลและใช้กบเครื* องคอมพิวเตอร์ทุกระดับ
   ระเบียนข้อมูลจะถูกเก็บเป็ นตาราง (Table) ในตารางแต่ละแถวแบ่งออกเป็ น
   คอลัมน์ หรื อสดมภ์ แต่ละสดมภ์เป็ นหนึ*งเขตข้อมูล (Field) หนึ*งแถวของ
   ตารางเป็ นระเบียนข้อมูลหนึ*งระเบียน(Record) ตารางข้อมูลแต่ละตารางเป็ น
   แฟ้ มข้อมูลหนึ*งแฟ้ ม

สิ งทีควรรู้
1 แฟมข้ อมูล(File) = 1ตาราง(Table)
     ้
1 ตาราง(Table) = มีหลายคอลัมน์ (column) หรือสดมภ์
1 คอลัมน์ หรืสดมภ์ (column) = 1เขตข้ อมูล(Field)
1 แถวของตารางเป็ นระเบียนข้ อมูลหนึงระเบียน(Record)
เรียกตามภาษาเฉพาะของระบบฐานข้ อมูลคือ
Table เรียกว่ า รีเลชัน(Relation)
Column เรียกว่ า แอททริบิวท์ (Attributes)
Record เรียกว่ า ทัพเพิลTuple
เอนทิตี

    •     เอนทิตี(Entity) เป็ นโครงสร้างที*ได้ออกแบบตารางาข้อมูลเป็ น
          กลุ่ม เช่นกลุ่มของบุคคล วัตถุ เหตุการณ์ ดังตัวอย่าง
                  Entity




                                        Attribute


ระบบฐานข้ อมูลในโปรแกรมประยุกต์
       โปรแกรม Microsoft Access ประกอบด้ วย
ตาราง (Table) เป็ นแฟมข้ อมูลหลักทีเก็บข้ อมูลในรู ปของตารางข้ อมูล ผู้ใช้ โปแกรม
                        ้
สามารถสร้ างตารางข้ อมูลได้ หลายตารางในฐานข้ อมูลเดียวกัน และกําหนด
ความสั มพันธ์ ของตารางข้ อมูลได้ หลายแบบ การรับหรือแสดงข้ อมูลจะแสดงเป็ นแถว
แถวละ หนึงระเบียน

แบบสอบถาม (Query) เป็ นการเลือกให้ แสดงข้ อมูลเฉพาะกลุ่มทีต้ องการในกรณีทมี    ี
ข้ อมูลจํานวนมาก เช่ น แสดงเฉพาะแอททริบิวท์ ทเลือก หรือแสดงเฉพาะระเบียนหรือ
                                             ี
กลุ่มของระเบียนทีเลือก นอกจากนียงใช้ ค้นหาและรับเฉพาะข้ อมูลทีระบุเป็ นเงือนไข
                                6ั
ซึงรวมถึงข้ อมูลจากหลายๆตารางได้

ฟอร์ ม(Form) ใช้ กาหนดรู ปร่ างของการรับและแสดงข้ อมูลบนจอภาพ สามารถ
                     ํ
กําหนดวิธีแสดงข้ อมูลเป็ นแบบต่ างๆ ตลอดจนเลือกสี ฉากหลังของฟอร์ มให้ ดูน่าสนใจได้

รายงาน (Report) เป็ นเครืองมือทีใช้ นําเสนอข้ อมูลสามารถกําหนดรู ปแบบรายงาน
แทรกภาพ และพิมพ์ทางเครืองพิมพ์ได้ แต่ ละแก้ไขข้ อมูลในรายงานไม่ได้ นอกจากการ
รายงานเป็ นเอกสารแล้วยังสาร้ างงานแบบต่ างๆ ได้ เช่ น สร้ างป้ ายจ่ าหน้ าจดหมาย แสดง
ผลรวมในแผนภูมิ
เพจ หรือ Data Access Page คือรู ปแบบพิเศษของเว้ บเพจทีถูกออกแบบ
สํ าหรับการดูแลการทํางานกับข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ต ข้ อมูลจะถูกเก็บอยู่ในฐานข้ อมูล
Microsoft Access หรือฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server

แมโคร เป็ นทีเก็บชุดคําสั งควบคุมการทํางานอย่ างอัตโนมัติไว้ ผู้ใช้ สามารถเลือกใช้ คาสั ง
                                                                                    ํ
ให้ ทางานร่ วมกับแฟมทีสร้ างไว้ โดยเลือกคําสั งในส่ วน แอคชัน และกําหนดชือแฟม และ
     ํ              ้                                                            ้
เงือนไขในอาร์ กวเมนต์ แอคชัน เรียกใช้ โดยคลิกปุ่ มเรียกใช้ หรือสร้ างเป็ นทางลัดเพือเข้ าสู่
                 ิ
การทํางานได้ ทนทีโดยไม่ต้องเข้ าสู่ Access ก่อน
               ั

โมดูล คือชุดของการประกาศค่ า คําสัง และกระบวนงานด้ วยคําสังของ Microsoft
Visual Basic แล้วบันทึกไว้ เป็ นชือแฟมเพือเรียกใช้ ในMicrosoft
                                        ้
Access มีโมดูล 2 ชนิด คือ โมดูลมาตรฐาน และคลาสโมดูล

Contenu connexe

Tendances

คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpsskuankaaw
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1nuttyling
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นsaypin
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssprapapan20
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSเบญจวรรณ กลสามัญ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์kunanya12
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูลteedee111
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssthaweesak mahan
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminskiats
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์Kochakorn Noiket
 

Tendances (17)

คู่มือSpss
คู่มือSpssคู่มือSpss
คู่มือSpss
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Spssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้นSpssเริ่มต้น
Spssเริ่มต้น
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
คู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpssคู่มือการใช้งานSpss
คู่มือการใช้งานSpss
 
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSSการสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
การสร้างแฟ้มข้อมูลจากแบบสอบถามโดยโปรแกรม SPSS
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล2การแสดงผลและการรับข้อมูล
2การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
การใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spssการใช้โปรแกรม Spss
การใช้โปรแกรม Spss
 
Tree
TreeTree
Tree
 
Tree
TreeTree
Tree
 
story 1
story 1story 1
story 1
 
Record
RecordRecord
Record
 
การใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadminการใช้งาน phpMyadmin
การใช้งาน phpMyadmin
 
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
หน่วยที่ 3 ระบบฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
 

En vedette

Edtech Without a Budget
Edtech Without a BudgetEdtech Without a Budget
Edtech Without a BudgetJustin Keel
 
Non negotiables of jan lokpal bill
Non negotiables of jan lokpal billNon negotiables of jan lokpal bill
Non negotiables of jan lokpal billSidhartha Jatar
 
Pushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next Thing
Pushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next ThingPushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next Thing
Pushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next ThingIBM UrbanCode Products
 
Thinking Beyond Our Borders
Thinking Beyond Our BordersThinking Beyond Our Borders
Thinking Beyond Our BordersAcademyHealth
 
Using Blackboard Rubrics
Using Blackboard RubricsUsing Blackboard Rubrics
Using Blackboard RubricsJustin Keel
 

En vedette (8)

Edtech Without a Budget
Edtech Without a BudgetEdtech Without a Budget
Edtech Without a Budget
 
Non negotiables of jan lokpal bill
Non negotiables of jan lokpal billNon negotiables of jan lokpal bill
Non negotiables of jan lokpal bill
 
Personal brand launch
Personal brand launchPersonal brand launch
Personal brand launch
 
Pushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next Thing
Pushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next ThingPushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next Thing
Pushing the Bottleneck: Predicting and Addressing the Next, Next Thing
 
Passwords
PasswordsPasswords
Passwords
 
Query
QueryQuery
Query
 
Thinking Beyond Our Borders
Thinking Beyond Our BordersThinking Beyond Our Borders
Thinking Beyond Our Borders
 
Using Blackboard Rubrics
Using Blackboard RubricsUsing Blackboard Rubrics
Using Blackboard Rubrics
 

Similaire à Database

การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft accesskomolpalin
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pphattayachuesomkiet
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pphattayachuesomkiet
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)Visaitus Palasak
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจtaltan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1ครูเพชร
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 

Similaire à Database (20)

Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
Database analysis & pivot table
Database analysis & pivot tableDatabase analysis & pivot table
Database analysis & pivot table
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Microsoft access
Microsoft accessMicrosoft access
Microsoft access
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 ppนางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5 pp
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
นาย ทศพล จอมใจ
นาย  ทศพล    จอมใจนาย  ทศพล    จอมใจ
นาย ทศพล จอมใจ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
2. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 12. ใบความรู้ที่ 1
2. ใบความรู้ที่ 1
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 

Database

  • 1. ใบความรู้ เรือง โครงสร้ างแฟมข้ อมูล ้ สาระการเรียนรู้ • ส่ วนประกอบของแฟ้ มข้อมูล • ประเภทของฐานข้อมูล • เอนทิตี • ระบบฐานข้อมูลในโปรแกรมประยุกต์ ส่ วนประกอบของแฟมข้ อมูล ้ • บิต (Bit: Binary digit) เป็ นโครงสร้างการเก็บข้อมูลในหน่วยความจํา คอมพิวเตอร์ ซึ*งแทนค่าด้วยระบบเลขฐานสอง ได้แก่ 0 และ 1 • ไบต์ (Byte) หมายถึง ข้อมูลที*เป็ นตัวอักขระทั1งหมด หนึ*งไบต์มีค่าเท่ากับ แปดบิต เมื*อมีขอมูลรับเข้าในโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ โปรแกรมจะทําการแปล ้ ความหมายจากตัวอักขระไปเป็ นตัวเลขฐานสองอย่างอัตโนมัติ โดยผูใช้ไม่ตองมี ้ ้ ความรู ้เรื* องระบบเลขฐานสอง • เวิร์ด(word) เป็ นหน่วยข้อมูลที*มีขนาดใหญ่ข1 ึนมา หนึ*งเวิร์ดประกอบด้วย ข้อมูลจํานวนสองไบต์หรื อสิ บหกบิต ใช้สาหรับการเขียนโปรแกรม ํ • เขตข้ อมูล (Field) เป็ นหน่วยเล็กที*สุดของแฟ้ มข้อมูล เขตข้อมูลเป็ นหน่วย ข้อมูลที*มีการกําหนดความกว้าในการรับข้อมูลเข้าในหน่วยความจําเป็ นไบต์ เช่น กําหนดเขตข้อมูลชื*อ Code ความกว้า 12 เขต ข้อมูลนี1จะรับข้อมูลได้ไม่เกิน 12 ตัวอักขระเป็ นต้น • ระเบียน (Record) หมายถึงชุดข้อมูลหนึ*งชุดที*ประกอบด้วยเขตข้อมูลตั1งแต่ หนึ*งเขตข้อมูลขึ1นไป เช่น ระเบียนข้อมูลของนักเรี ยนหนึ*งคนประกอบด้วยเขต ข้อมูลเลขประจําตัว เขตข้อมูลชื*อ และเขตข้อมูลนามสกุล เป็ นต้น • แฟม (File)ระเบียนข้อมูลในรู ปของตารางข้อมูล (Table) โดยจัดเรี ยนเป็ น ้ บรรทัดละหนึ*งระเบียนต่อกันไป หรื อจัดเรี ยนระเบียนเป็ นหน้าโดยนําเขตข้อมูล มาวางลงในแต่ละหน้าเรี ยกว่าฟอร์มข้อมูล (Form) หรื อรายงาน (Report) ก็ได้
  • 2. ประเภทของฐานข้ อมูล โครงสร้างของฐานข้อมูลที*มีใช้ในปัจจุบนแบ่งออกเป็ น 3 แบบดังนี1 ั 1. ฐานข้อมูลแบบลําดับชั1น(Hierarchical Database) เป็ นโครงสร้าง ั แบบต้นไม้ที*ขอมูลมีความสัมพันธ์กนแบบหนึ*งต่อหนึ*ง (One-to-One) ้ หรื อหนึ*งต่อกลุ่ม (One-to-many) เช่นพนักงานขายสิ นค้า หนึ*งคน สามารถขายสิ นค้าให้ลูกค้าหลายคน และลูกค้าแต่ละคนอาจซื1อสิ นค้าหลายชนิด 2. ฐานข้อมูลเครื อข่าย (Network Database) เป็ นฐานข้อมูลที*มี ความสัมพันธ์ได้ทุกแบบ เช่น หนึ*งต่อหนึ*ง (One-to-One) หนึ*งต่อกลุ่ม (One-to-many) หรื อกลุ่มต่อกลุ่ม (many-to-many) ก็ได้ เช่น ระบบการจําหน่ายสิ นค้าในห้างสรรพสิ นค้า 3. ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็ นฐานข้อมูลที*นิยมใช้ ั มากที*สุดในระบบฐานข้อมูลและใช้กบเครื* องคอมพิวเตอร์ทุกระดับ ระเบียนข้อมูลจะถูกเก็บเป็ นตาราง (Table) ในตารางแต่ละแถวแบ่งออกเป็ น คอลัมน์ หรื อสดมภ์ แต่ละสดมภ์เป็ นหนึ*งเขตข้อมูล (Field) หนึ*งแถวของ ตารางเป็ นระเบียนข้อมูลหนึ*งระเบียน(Record) ตารางข้อมูลแต่ละตารางเป็ น แฟ้ มข้อมูลหนึ*งแฟ้ ม สิ งทีควรรู้ 1 แฟมข้ อมูล(File) = 1ตาราง(Table) ้ 1 ตาราง(Table) = มีหลายคอลัมน์ (column) หรือสดมภ์ 1 คอลัมน์ หรืสดมภ์ (column) = 1เขตข้ อมูล(Field) 1 แถวของตารางเป็ นระเบียนข้ อมูลหนึงระเบียน(Record) เรียกตามภาษาเฉพาะของระบบฐานข้ อมูลคือ Table เรียกว่ า รีเลชัน(Relation) Column เรียกว่ า แอททริบิวท์ (Attributes) Record เรียกว่ า ทัพเพิลTuple
  • 3. เอนทิตี • เอนทิตี(Entity) เป็ นโครงสร้างที*ได้ออกแบบตารางาข้อมูลเป็ น กลุ่ม เช่นกลุ่มของบุคคล วัตถุ เหตุการณ์ ดังตัวอย่าง Entity Attribute ระบบฐานข้ อมูลในโปรแกรมประยุกต์ โปรแกรม Microsoft Access ประกอบด้ วย ตาราง (Table) เป็ นแฟมข้ อมูลหลักทีเก็บข้ อมูลในรู ปของตารางข้ อมูล ผู้ใช้ โปแกรม ้ สามารถสร้ างตารางข้ อมูลได้ หลายตารางในฐานข้ อมูลเดียวกัน และกําหนด ความสั มพันธ์ ของตารางข้ อมูลได้ หลายแบบ การรับหรือแสดงข้ อมูลจะแสดงเป็ นแถว แถวละ หนึงระเบียน แบบสอบถาม (Query) เป็ นการเลือกให้ แสดงข้ อมูลเฉพาะกลุ่มทีต้ องการในกรณีทมี ี ข้ อมูลจํานวนมาก เช่ น แสดงเฉพาะแอททริบิวท์ ทเลือก หรือแสดงเฉพาะระเบียนหรือ ี กลุ่มของระเบียนทีเลือก นอกจากนียงใช้ ค้นหาและรับเฉพาะข้ อมูลทีระบุเป็ นเงือนไข 6ั ซึงรวมถึงข้ อมูลจากหลายๆตารางได้ ฟอร์ ม(Form) ใช้ กาหนดรู ปร่ างของการรับและแสดงข้ อมูลบนจอภาพ สามารถ ํ กําหนดวิธีแสดงข้ อมูลเป็ นแบบต่ างๆ ตลอดจนเลือกสี ฉากหลังของฟอร์ มให้ ดูน่าสนใจได้ รายงาน (Report) เป็ นเครืองมือทีใช้ นําเสนอข้ อมูลสามารถกําหนดรู ปแบบรายงาน แทรกภาพ และพิมพ์ทางเครืองพิมพ์ได้ แต่ ละแก้ไขข้ อมูลในรายงานไม่ได้ นอกจากการ รายงานเป็ นเอกสารแล้วยังสาร้ างงานแบบต่ างๆ ได้ เช่ น สร้ างป้ ายจ่ าหน้ าจดหมาย แสดง ผลรวมในแผนภูมิ
  • 4. เพจ หรือ Data Access Page คือรู ปแบบพิเศษของเว้ บเพจทีถูกออกแบบ สํ าหรับการดูแลการทํางานกับข้ อมูลจากอินเทอร์ เน็ต ข้ อมูลจะถูกเก็บอยู่ในฐานข้ อมูล Microsoft Access หรือฐานข้ อมูล Microsoft SQL Server แมโคร เป็ นทีเก็บชุดคําสั งควบคุมการทํางานอย่ างอัตโนมัติไว้ ผู้ใช้ สามารถเลือกใช้ คาสั ง ํ ให้ ทางานร่ วมกับแฟมทีสร้ างไว้ โดยเลือกคําสั งในส่ วน แอคชัน และกําหนดชือแฟม และ ํ ้ ้ เงือนไขในอาร์ กวเมนต์ แอคชัน เรียกใช้ โดยคลิกปุ่ มเรียกใช้ หรือสร้ างเป็ นทางลัดเพือเข้ าสู่ ิ การทํางานได้ ทนทีโดยไม่ต้องเข้ าสู่ Access ก่อน ั โมดูล คือชุดของการประกาศค่ า คําสัง และกระบวนงานด้ วยคําสังของ Microsoft Visual Basic แล้วบันทึกไว้ เป็ นชือแฟมเพือเรียกใช้ ในMicrosoft ้ Access มีโมดูล 2 ชนิด คือ โมดูลมาตรฐาน และคลาสโมดูล