SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
๑
แบบฝึกทักษะชุด สืบสานคุณค่า หลักภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖นี้
จัดทาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาหลักการใช้ภาษาไทยของนักเรียน โรงเรียนวัดโรงเหล็ก
อาเภอนบพิตา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔
และได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ในการจัดทาแบบฝึกทักษะชุดสืบสานคุณค่า หลักภาษาไทย สาหรับนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ผู้จัดทาได้จัดทาทั้งหมด ๗ เล่ม ดังนี้
เล่มที่ ๑ เรื่อง คานาม
เล่มที่ ๒ เรื่อง คาสรรพนาม
เล่มที่ ๓ เรื่อง คากริยา
เล่มที่ ๔ เรื่อง คาวิเศษณ์
เล่มที่ ๕ เรื่อง คาบุพบท
เล่มที่ ๖ เรื่อง คาอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คาเชื่อม
แบบฝึกทักษะเล่มนี้เป็นเล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน ภายในเล่มได้จัดทาคาแนะนา
ในการใช้สาหรับครูและนักเรียน มีกิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้เกี่ยวกับคาอุทาน
จานวน ๗ กิจกรรม พร้อมเฉลย มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนพร้อมเฉลยทุกกิจกรรม
ส่วนการวัดและประเมินผล เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการวัดผล
ประเมินผลตามสภาพจริง โดยนักเรียนมีโอกาสในการเสนอแนะการประเมินผลและมี
ส่วนร่วมในการประเมินผลงานทั้งของเพื่อนและตนเองตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด
คำแนะนำในกำรใช้
แบบฝึกทักษะ ชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย
๒
เพื่อให้แบบฝึกทักษะ ชุด สืบสานคุณค่า หลักภาษาไทยมีประโยชน์กับนักเรียน
สูงสุด ครูผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้
๑. แบบฝึกทักษะ ชุด สืบสานคุณค่า หลักภาษาไทยมีทั้งหมด ๗ เล่ม
ใช้สอนในชั่วโมงภาษาไทย หรืออาจสอนซ่อมเสริมนอกเวลาก็ได้ โดยให้นักเรียนได้ทา
แบบฝึกทักษะเป็นรายบุคคล
๒. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียนของนักเรียน
๓. หากพบว่านักเรียนคนใดยังทากิจกรรมไม่เสร็จ ให้นาไปทาเป็นการบ้าน โดยครู
และผู้ปกครองร่วมมือกันคอยดูแลตรวจผลงานอย่างใกล้ชิด
๔. กรณีที่นักเรียนขาดเรียนในวันที่ทาการฝึก ครูต้องให้นักเรียนทากิจกรรมจนครบ
และในกรณีที่ไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนด ให้ครูทาการสอนซ่อมเสริมเป็นรายบุคคลอีกครั้ง
๕. เมื่อนักเรียนทากิจกรรมเสร็จแล้วครูตรวจความถูกต้องและให้แก้ไขเมื่อพบ
ข้อบกพร่องเป็นรายบุคคลทันที
๖. หากนักเรียนทากิจกรรมเสร็จก่อนเวลาที่กาหนด ครูควรให้นักเรียนศึกษา
ค้นคว้าเพิ่มเติมจากสื่อการเรียนรู้อื่น เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ความรู้จากอินเทอร์เน็ต
๗.นากิจกรรมที่นักเรียนทาเสร็จเรียบร้อยแล้วและแก้ไขถูกต้องจัดเก็บไว้ที่
มุมเก็บผลงานเพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้
๘. หลังจากนักเรียนทากิจกรรมเสร็จแล้วครูต้องทาการทดสอบหลังเรียน
จากนั้นจึงสรุปผลการเรียนว่านักเรียนมีพัฒนาการด้านหลักการใช้ภาษาไทยเป็นไปตามเกณฑ์
ที่กาหนดไว้หรือไม่ หากพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ครูควรทาการสอนซ่อมเสริมอีกครั้งเป็น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
คำแนะนำสำหรับครู
๓
การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะชุดสืบสานคุณค่าหลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่มนี้เป็นเล่มที่ ๖ เรื่อง คาอุทาน มี
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ ดังนี้
๑. การเรียนจากแบบฝึกทักษะเล่มนี้ ใช้เวลา ๓ ชั่วโมง
๒. นักเรียนควรปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนด้วยตนเอง ตามกิจกรรมที่กาหนดไว้
อย่างเคร่งครัด เมื่อมีปัญหาให้สอบถามครูผู้สอน
๓. ในเล่มที่ ๖ เรื่อง คาอุทาน มีกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติ ๗ กิจกรรม
๔. บทบาทของนักเรียน
๔.๑ ก่อนฝึกทักษะจากกิจกรรมในเล่ม นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อน
เรียน
๔.๒ ศึกษาเนื้อหาในแบบฝึกทักษะแต่ละเล่มให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
๔.๓ ทากิจกรรมให้ครบทุกกิจกรรมด้วยความตั้งใจ รอบคอบ
๔.๔ ไม่ขูด ลบ ขีด ฆ่า ให้แบบฝึกทักษะสกปรกเลอะเทอะ
๔.๕ ตรวจสอบผลการเรียนด้วยการทาแบบทดสอบหลังเรียน
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
เมื่อทรำบว่ำต้องปฏิบัติตนอย่ำงไรใน
กำรเรียนด้วยแบบฝึกทักษะแล้ว เพื่อน ๆ
ไปดู สำระ มำตรฐำน และตัวชี้วัดกันเลย
๔
สำระ มำตรฐำน และตัวชี้วัด
สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย
มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้ำใจธรรมชำติของภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปลี่ยนแปลงของ
ภำษำและพลังของภำษำ ภูมิปัญญำทำงภำษำ และรักษำ
ภำษำไทยไว้เป็นสมบัติของชำติ
ตัวชี้วัด
ท ๔.๑ ป.๖/๑ วิเครำะห์ชนิดและหน้ำที่ของคำในประโยค
๕
ตัวชี้วัด
แผนภูมิลำดับขั้นกำรเรียนรู้จำกแบบฝึกทักษะ
ชุดสืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน
อ่ำนคำแนะนำ/ คำชี้แจงสำหรับนักเรียนให้เข้ำใจ
ทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดควำมรู้และพื้นฐำน
เดิม
ศึกษำเนื้อหำจำกแบบฝึกทักษะในแต่ละเล่ม
ฝึกทักษะจำกแบบฝึกในแต่ละเล่มไปตำมลำดับ
ทดสอบหลังเรียน
ผ่ำนเกณฑ์ ไม่ผ่ำนเกณฑ์
๖
แบบทดสอบก่อนเรียน ชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย
เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
คำชี้แจง
๑. แบบทดสอบชุดนี้ เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คาอุทาน มีทั้งหมด ๑๐ ข้อ
เป็นแบบเลือกตอบ จานวน ๔ ตัวเลือก ได้แก่ ก ข ค และ ง แต่ละข้อให้นักเรียนเลือก
คาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
๒. นักเรียนมีเวลาในการทาแบบทดสอบ ๑๐ นาที
๓. ตัวอย่างคาถามและวิธีตอบ
๓.๑ ตัวอย่างคาถาม
๐) ข้อใดไม่ใช่คาอุทาน
ก. รอ! ข. อ๋อ! ค. โอ๊ย ! ง. เย้!
๓.๒ วิธีตอบ
ถ้านักเรียนคิดว่าตัวเลือก ข เป็นคาตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดให้
นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ข ดังนี้
ตัวอย่างกระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง จ
๐ 
หากนักเรียนต้องการเปลี่ยนคาตอบใหม่เป็นข้อ ก ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย
 ทับข้อคาตอบเดิม แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ก ดังนี้
ตัวอย่างกระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง จ
๐  
๗
๑. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง
ก. นี่ ! เธอมากับใคร
ข. เอ๊ะ ! หน้าไม่อาย
ค. เอ้อเฮอ ! สวยอะไรอย่างนี้
ง. โอ๋ ! อย่าร้องไห้ไปเลยลูก
๒. คาอุทานในข้อใดเป็นคาอุทานชนิดคาอุทานเสริมบท
ก. ชะอุ๋ย! นึกว่ามองไม่เห็นเสียอีก
ข. เดินมากรู้สึกปวดแข้งปวดขาไปหมด
ค. ต๊ายตาย! ทาไมหกเลอะเทอะอย่างนี้
ง. โอ้โฮแฮะ! รูปร่างอย่างกับนางสาวไทย
๓. ข้อใดมีคาอุทานบอกความสงสาร
ก. อนิจจา ! เขาป่วยหรือ
ข. อ๋อ ! ตัวกูช่างดูดาย
ค. แหม ! ช่างเคราะห์ดีจริง ๆ
ง. โถ ! ท่านขา ทาไมไม่เห็นใจบ้าง
๔. ข้อใดมีคาอุทานแสดงความโกรธ
ก. ชิชะ ! ไอ้พญาเดโช
ข. เฮ้ย ! พวกเราช่วยกันคุ้มกัน
ค. พุทโธ ! ช่างทากับนกเหล่านี้ได้
ง. เชอะ ! คนอย่างเสือแกว่น ใครจะสามารถลบลายเสือได้
๘
๕. ข้อใดใช้คาอุทานได้เหมาะสมที่สุด
ก. เย้ ! ฉันเข้าใจที่เธอพูดแล้ว
ข. โอ้โฮ ! รองเท้าฉันหายไปไหน
ค. อนิจจา ! ชีวิตนี่ไม่มีความแน่นอน
ง. อ๋อ ! ขอบคุณค่ะที่อนุญาตให้หนูไปเที่ยว
๖. “............ ! คุณเดินอย่างไรนี่ น้ากระเด็นเปียกฉันหมดแล้ว ” ควรเติมคาอุทานในข้อใด
ลงในช่องว่าง
ก. แหม
ข. ว้าย
ค. ฮึม
ง. อุเหม่
๗. “ตายจริง ! ฉันลืมกระเป๋าเงินไว้ในรถโดยสารประจาทาง” ข้อความนี้มีคาอุทานแสดง
ความรู้สึกอย่างไร
ก. ประหลาดใจ
ข. โกรธแค้น
ค. สงสัย
ง. ตกใจ
๘. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง
ก. อ๋อ! ฉันไม่รู้เรื่อง
ข. อ้าว! เธอก็มาด้วย
ค. โธ่ ! ไม่น่าผิดใจกันเลย
ง. แหม! ให้เราคอยตั้งนาน
๙
๙. “ขอเชิญดื่มน้าดื่มท่าเสียก่อนนะ” คาอุทานเสริมบทของประโยคนี้คือคาในข้อใด
ก. เสียก่อน
ข. ขอเชิญ
ค. ดื่มน้า
ง. ดื่มท่า
๑๐. “เอ๊ะ! ทาไมถึงเป็นอย่างนี้” จากข้อความผู้พูดแสดงความรู้สึกอย่างไร
ก. กลัว
ข. เห็นใจ
ค. เสียใจ
ง. แปลกใจ
ทาข้อสอบกันได้ไหมค่ะ เดี๋ยวพุดซ้อนจะ
พาเพื่อน ๆ ไปเรียนเรื่องคาอุทานกับครูนก
นะคะ
๑๐
คำอุทำน คือ คาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด เช่น ดีใจ
เสียใจ ตกใจ แปลกใจ สงสัย สงสาร เจ็บปวด โกรธ เป็นต้นมักจะเป็นคาที่ไม่มี
ความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคาอุทานนี้
แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ
๑. เป็นคา เช่น แหม! พุทโธ่! โอ้! โอ๊ย! อุ๊ย! เป็นต้น
๒. เป็นวลี เช่น เวรกรรมจริงหนอ! กลุ้มใจจริงโว้ย! โอ้อกเราเอ๋ย! เป็นต้น
๓. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า! อกแตกแล้วโว้ย! เป็นต้น
คาอุทานแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ
๑. คาอุทานบอกอาการ
๒. คาอุทานเสริมบท
เด็ก ๆ หลายคนอาจเคยใช้คาอุทานใน
ชีวิตประจาวัน แต่อาจจะยังไม่ทราบว่าคาใด
แสดงอาการหรืออารมณ์ของผู้พูดอย่างไร
เดี๋ยวครูนกจะอธิบายให้ฟังค่ะ
ไปดูคำอุทำนแต่ละชนิดกัน
ดีกว่ำค่ะว่ำใช้อย่ำงไร
๑๑
๑. คำอุทำนบอกอำกำร ใช้เปล่งเสียงเพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด
มักจะอยู่หน้าประโยคและมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กากับหลังคาอุทานนั้นเสมอ คาอุทาน
นั้นจะช่วยสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงเจตนาและความรู้สึกของผู้ส่งสารได้ชัดเจนขึ้น เช่น
คำอุทำน แสดงอำกำร
ชะ, ชะชะ, ชิ, ชิชะ, ชิชิ
โกรธหรือไม่ชอบใจ เป็นต้น
ตัวอย่าง ชะชะ ! แม่คนนี้มาทาอวดดี เดี๋ยวตีตายเลย
ไชโย
ดีใจ
ตัวอย่าง ไชโย ! เราชนะแล้ว
โธ่, พุทโธ่
สงสารหรือราคาญ
ตัวอย่าง โธ่ ! น่าสงสารจัง ไม่น่าเป็นอย่างนี้เลย
ว้าย
ตกใจ หรือดีใจ เป็นต้น
ตัวอย่าง ว้าย ! งูเข้าบ้าน
วุ้ย
ตกใจ เก้อเขิน หรือไม่พอใจ
ตัวอย่าง วุ้ย ! น่าราคาญ
หน่อยแน่
ไม่พอใจหรือผิดหวัง
ตัวอย่าง หน่อยแน่ ! ทาผิดแล้วยังจะอวดดีอีก
อนิจจา
สงสารสังเวช เป็นต้น
ตัวอย่าง อนิจจา ! ไม่น่าเลย ช่างน่าสงสารเสียจริง ๆ
อ้อ, อ๋อ
รู้แล้ว เข้าใจแล้ว นึกได้แล้ว
ตัวอย่าง อ๋อ ! เรื่องนี้ฉันนึกออกแล้ว
อ้าว
รู้สึกว่าไม่ตรงกับที่มุ่งหมายหรือคาดไว้
ตัวอย่าง อ้าว ! แม่ก็มาด้วยนึกว่ามาแต่พ่อ
อี๊
รังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ตัวอย่าง อี๊ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ ยังจะเอามาให้ฉันอีก
๑๒
คำอุทำน แสดงอำกำร
อือ
ตอบรับหรือรับรู้
ตัวอย่าง อือ ! เรื่องนั้นฉันรู้แล้ว
บ๊ะ, อุบ๊ะ
ไม่พอใจหรือประหลาดใจ เป็นต้น
ตัวอย่าง อุบ๊ะ ! ข้าบอกเอ็งแล้วว่าอย่าทา แต่เอ็งก็ไม่เชื่อ
อุ๊ย
ตกใจ มักเป็นเสียงผู้หญิง
ตัวอย่าง อุ๊ย ! จักจี้นะ
เอ, เอ๊
แปลกใจสงสัย
ตัวอย่าง เอ๊ ! ปากกาฉันอยู่ที่ไหนนะ
เอ๊ย
พูดผิดไป
ตัวอย่าง เอ๊ย ! ไม่ใช่อย่างนั้นฉันพูดผิดไป
เออ
บอกรับหรืออนุญาต
ตัวอย่าง เออ ! จริงของเธอนั่นแหละ
โอย, โอ๊ย
ความรู้สึกเจ็บปวด หรือรู้สึกว่ามากยิ่งหรือแปลก
ตัวอย่าง โอ๊ย ! เจ็บจริง ๆ ฉันทนไม่ไหวแล้ว (รู้สึกเจ็บปวด)
โอ้โฮ
ตกใจหรือประหลาดใจ
ตัวอย่าง โอ้โฮ ! วันนี้เธอมาเรียนแต่เช้าเลย
เฮ้อ
เบื่อหน่ายหรือไม่ถูกใจ
ตัวอย่าง เฮ้อ ! ผมละเบื่อเหลือเกิน พูดไปก็เท่านั้น
เฮอ
โล่งใจ
ตัวอย่าง เฮอ ! ถึงฝั่งเสียที ดีแล้วที่ไม่มีใครเป็นไร
๑๓
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำอุทำนที่กำหนดในช่องว่ำงให้ถูกต้อง
๑. ........................... เราวิ่งแข่งได้เหรียญทองอีกแล้ว
๒. ............................คุณเหยียบเท้าผม
๓. ........................... ผมนึกว่าคุณเป็นคนช่วยผมเสียอีก
๔. ........................... ตกใจหมดเลย
๕. ........................... ช่างเป็นภาพที่สวยงามเหลือเกิน
๖. .......................... ช่างน่าสงสารจริง ๆ เจ้าแมวน้อย
๗. ........................... วันนี้เธอสวยยังกะนางฟ้าแน่
๘............................. หนูปวดท้องจังเลยค่ะคุณแม่
๙............................ นี่กระเป๋าสตางค์ของใคร
๑๐............................ เซ้าซี้อยู่ได้น่าราคาญ
กิจกรรมที่ ๑
เติมคำอุทำนในช่องว่ำง
ไชโย ! ว้ำว ! โอ๊ย ! ปัดโธ่ ! โอ้โฮ !
ว้ำย ! เอ๊ะ ! อ้ำว ! โธ่เอ๋ย ! โอย !
๑๔
คาชี้แจง ให้นักเรียนนำคำอุทำนบอกอำกำรทำงซ้ำยมือมำเติมหน้ำข้อควำมทำงขวำมือ
ให้ถูกต้อง
โอ้โฮ ! ๑...................เสียงอะไร
ไชโย ! ๒...................ปวดท้อง
เฮ้อ ! ๓...................ลืมสนิทเลย
เฮ้ย ! ๔...................เด็กตกน้า
อนิจจา ! ๕...................สวยจริง ๆ
ว้าย ! ๖...................จะทาอย่างไรดี
โอ ! ๗...................รถมาแล้ว
อ้อ ! ๘...................อย่าทาอย่างนั้น
เอ๊ะ ! ๙...................เรื่องเป็นอย่างนี้นี่เอง
โอย ! ๑๐...................ล้อเล่นแค่นี้ก็โกรธ
อุบ๊ะ !
โธ่ !
กิจกรรมที่ ๒
จับคู่คำอุทำนบอกอำกำร
๑๕
๒. อุทำนเสริมบท เป็นคาอุทานที่ใช้เสริมกับคาเดิม เพื่อให้ความหมายชัดเจนขึ้น หรือ
เสริมเสียงของคาให้สละสลวยขึ้น ซึ่งคาที่เสริมนี้ไม่มีความหมายอะไร หรืไม่สัมพันธ์กับคาที่
ตามมาเลย คาอุทานชนิดนี้ไม่ต้องใส่เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) เช่น
ลูกเต้าเหล่าใคร
สิงห์สาราสัตว์
ผักหญ้าปลายา
งูเงี้ยวเขี้ยวขอ
เลขผานาที
ผ้าผ่อนท่อนสไบ
หนังสือหนังหา
กระดูกกระเดี้ยว
หมดเรี่ยวหมดแรง
พยาบงพยาบาล
ไม่รู้ไม่ชี้
อาบน้าอาบท่า
มือไม้
หูเหือง
เสื้อแสง
*** คาที่ขีดเส้นใต้เป็นคาอุทานเสริมบท
ต่อไปเรามาดูคาอุทานชนิดที่ ๒ และ
หน้าที่ของคาอุทานกันนะคะ
๑๖
๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น
ตำยจริง ! ฉันลืมเอากระเป๋าสตางค์มา
โธ่ ! เธอคงจะเจ็บมากซินะ
เอ๊ะ ! ใครกันที่นาดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะฉัน
๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท เช่น
ทาเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดรำวกันไป
เมื่อไหร่เธอจะเป็นฝั่งเป็นฝาเสียทีนะ
เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร
๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น
แมวเอ๋ยแมวเหมียว
มดเอ๋ยมดแดง
กอเอ๋ยกอไก่
หน้ำที่ของคำอุทำน
๑๗
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำอุทำนเสริมบทในช่องว่ำงให้ถูกต้อง
ตัวอย่ำง เข้าวัด.....เข้าวา.......
๑. ปืนผา.....................
๒. งูเงี้ยว....................
๓. ลูกเต้า....................
๔. วัดวา.......................
๕. เหล้ายา...................
๖. หนังสือ....................
๗. อาบน้า....................
๘. โป้ปด......................
๙. กินข้าว....................
๑๐. ถ้วยชาม.................
กิจกรรมที่ ๓
เติมคำอุทำนเสริมบนในช่องว่ำง
๑๘
คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นหำคำอุทำนเสริมบทในตำรำง แล้วนำไปเติมในประโยคให้ถูกต้อง
ล ด ร ำ ว ำ ศ อ ก ป
ก วั ด ว ำ อ ำ ร ำ ม
ห ฟั ร ำ ก ำ ผ ฝ ล เ
ยู น ช ำ ม แ ช ม ผ้ สื้
ก ฟ จ น ย ศ ษ ส ำ อ
ย ำ ค มื อ ไ ม้ ต ผ่ แ
ำ ง ร ถ ร ำ จ น อ ส
ม ข น ผ ม เ ผ้ ำ น ง
ปื น ผ ำ ห น้ ำ ไ ม้ ย
ข จ น ป พิ ธี รี ต อ ง
๑. ในกรุงเทพ ฯ มี.........................ที่สวยงามหลายแห่ง
๒. ลมพัดแรงจน........................ของเรายุ่งเหยิง
๓. เขาเป็นคนหัวแข็ง ไม่ยอม.........................ให้ใครง่าย ๆ
๔. เธอไม่ทาอะไรมา.............................ขาดวิ่นเชียว
๕. ผู้ใหญ่ต้องรอบคอบเก็บ.....................................ให้พ้นมือเด็ก
๖. ถ้าเธอไม่กิน..............................แล้วจะหายป่วยได้อย่างไร
๗. เราเป็นคนกันเอง ไม่ต้องมี..........................หรอก
๘. รีบเก็บ........................เสีย ฝนกาลังจะตก
๙. ขนมชิ้นนี้แข็งจัง ...................................แทบหักแน่ะ
๑๐. เขากาลังย่างเข้าสู่วัยรุ่น จึงรู้สึกว่า...........................เกะกะไปหมด
กิจกรรมที่ ๔
ค้นหำคำอุทำนเสริมบท
๑๙
กิจกรรมทบทวนควำมรู้
คำอุทำนที่ปรำกฏอยู่ใน
ประโยค แสดงอำกำรอะไรนะ
“โอ๊ย ! เจ็บจังเลย “
ดีใจ
เจ็บปวด
ประหลำดใจ
สงสัย
อนุญำตปลอบใจ
เฉลย
เจ็บปวด
๒๐
จำกประโยค “เธอทำฉันตกอกตกใจหมดเลยนะ”
มีคำอุทำนชนิดใดปรำกฏอยู่ในประโยค
เฉลย
คำอุทำนเสริมบท
กิจกรรมทบทวนควำมรู้
คาอุทานบอกอาการ
คาอุทานเสริมบท
๒๑
กิจกรรมเติมเต็มควำมรู้
๒๒
คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำอุทำนเสริมบทในประโยคให้ถูกต้อง
๑.เธอดูเป็น.............................ผู้ใหญ่ขึ้นนะ
๒.ของไม่มีค่าอย่าไป.....................เสียดายมันเลย
๓.ฝนตกไม่............................ลืมตา เสื้อ......................ที่ตากไว้เปียกหมด
๔.นี่เธอเห็นฉันเป็น.......................หัวตอหรืออย่างไร
๕.ค่ามืดแล้วยังไม่อาบน้า.......................อีกหรือ
๖.เอาเสื่อ..................มาปูให้แขกนั่งซิ
๗.เธอจะมา.................สัญญาอะไรกับฉัน
๘.ตาชูชอบกินเหล้า............................ทุกวันเลย
กิจกรรมที่ ๕
เติมคำอุทำนเสริมบทในประโยค
๒๓
คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่ำนเรื่องที่กำหนดแล้วเติมคำอุทำนให้ถูกต้อง
กิจกรรมที่ ๖
อ่ำนเรื่องแล้วเติมคำอุทำน
เด็กหญิงมาลีเป็นเด็กขยัน ๑.................ไม่เคยหยุดเรียนไปเที่ยว
๒...................ที่ไหน วันหนึ่งมาลีต้องร้องอย่างตกใจว่า ๓. “............มีคน
กระชากกระเป๋า” เพื่อนของมาลีได้ยินก็รีบวิ่งมาหาและช่วยจับผู้ร้ายได้
มาลีร้องด้วยความดีใจ “๔. ...............โชคดีจริง ๆ ที่เธอมาช่วยไว้ทัน
ไม่เช่นนั้นวันนี้เราต้องอดทานข้าว๕. .............ทั้งวันแน่ ๆ” แล้วทั้งคู่ก็ไป
แจ้งความที่สถานีตารวจ พอกลับถึงบ้านมาลีก็เล่าให้แม่ฟัง แม่สงสารมาลี
และปลอบใจว่า “๖............น่าสงสารจังลูกแม่ หมดเคราะห์ ๗...............
เสียที พรุ่งนี้เราไปวัด๘.......................ทาบุญกันดีกว่า
๒๔
คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่งเรื่อง พร้อมตั้งชื่อเรื่อง จำกคำอุทำนที่กำหนดให้
กิจกรรมที่ ๗
แต่งเรื่องจำกคำอุทำนที่กำหนด
ไชโย ! พุทโธ
!
เอ๊ะ ! แหม !
ร้องห่มร้องไห้ โรงร่าโรงเรียน อาบน้าอาบท่า
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
............................................................................................................................
เรื่อง.......................................................
๒๕
แบบทดสอบหลังเรียน ชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย
เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖
คำชี้แจง
๑. แบบทดสอบชุดนี้ เป็นแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คาอุทาน มีทั้งหมด ๑๐ ข้อ
เป็นแบบเลือกตอบ จานวน ๔ ตัวเลือก ได้แก่ ก ข ค และ ง แต่ละข้อให้นักเรียนเลือก
คาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ
๒. นักเรียนมีเวลาในการทาแบบทดสอบ ๑๐ นาที
๓. ตัวอย่างคาถามและวิธีตอบ
๓.๑ ตัวอย่างคาถาม
๐) ข้อใดไม่ใช่คาอุทาน
ก. รอ! ข. อ๋อ! ค. โอ๊ย ! ง. เย้!
๓.๒ วิธีตอบ
ถ้านักเรียนคิดว่าตัวเลือก ข เป็นคาตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดให้
นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ข ดังนี้
ตัวอย่างกระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง จ
๐ 
หากนักเรียนต้องการเปลี่ยนคาตอบใหม่เป็นข้อ ก ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย
 ทับข้อคาตอบเดิม แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ก ดังนี้
ตัวอย่างกระดาษคาตอบ
ข้อ ก ข ค ง จ
๐  
๒๖
๑. “............ ! คุณเดินอย่างไรนี่ น้ากระเด็นเปียกฉันหมดแล้ว ” ควรเติมคาอุทานในข้อใดลง
ในช่องว่าง
ก. แหม
ข. ว้าย
ค. ฮึม
ง. อุเหม่
๒. “ตายจริง ! ฉันลืมกระเป๋าเงินไว้ในรถโดยสารประจาทาง” ข้อความนี้มีคาอุทานแสดง
ความรู้สึกอย่างไร
ก. ประหลาดใจ
ข. โกรธแค้น
ค. สงสัย
ง. ตกใจ
๓. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง
ก. อ๋อ! ฉันไม่รู้เรื่อง
ข. อ้าว! เธอก็มาด้วย
ค. โธ่ ! ไม่น่าผิดใจกันเลย
ง. แหม! ให้เราคอยตั้งนาน
๔. “ขอเชิญดื่มน้าดื่มท่าเสียก่อนนะ” คาอุทานเสริมบทของประโยคนี้คือคาในข้อใด
ก. เสียก่อน
ข. ขอเชิญ
ค. ดื่มน้า
ง. ดื่มท่า
๒๗
๕. “เอ๊ะ! ทาไมถึงเป็นอย่างนี้” จากข้อความผู้พูดแสดงความรู้สึกอย่างไร
ก. กลัว
ข. เห็นใจ
ค. เสียใจ
ง. แปลกใจ
๖. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง
ก. นี่ ! เธอมากับใคร
ข. เอ๊ะ ! หน้าไม่อาย
ค. เอ้อเฮอ ! สวยอะไรอย่างนี้
ง. โอ๋ ! อย่าร้องไห้ไปเลยลูก
๗. คาอุทานในข้อใดเป็นคาอุทานชนิดคาอุทานเสริมบท
ก. ชะอุ๋ย! นึกว่ามองไม่เห็นเสียอีก
ข. เดินมากรู้สึกปวดแข้งปวดขาไปหมด
ค. ต๊ายตาย! ทาไมหกเลอะเทอะอย่างนี้
ง. โอ้โฮแฮะ! รูปร่างอย่างกับนางสาวไทย
๘. ข้อใดมีคาอุทานบอกความสงสาร
ก. อนิจจา ! เขาป่วยหรือ
ข. อ๋อ ! ตัวกูช่างดูดาย
ค. แหม ! ช่างเคราะห์ดีจริง ๆ
ง. โถ ! ท่านขา ทาไมไม่เห็นใจบ้าง
๒๘
๙. ข้อใดมีคาอุทานแสดงความโกรธ
ก. ชิชะ ! ไอ้พญาเดโช
ข. เฮ้ย ! พวกเราช่วยกันคุ้มกัน
ค. พุทโธ ! ช่างทากับนกเหล่านี้ได้
ง. เชอะ ! คนอย่างเสือแกว่น ใครจะสามารถลบลายเสือได้
๑๐. ข้อใดใช้คาอุทานได้เหมาะสมที่สุด
ก. เย้ ! ฉันเข้าใจที่เธอพูดแล้ว
ข. โอ้โฮ ! รองเท้าฉันหายไปไหน
ค. อนิจจา ! ชีวิตนี่ไม่มีความแน่นอน
ง. อ๋อ ! ขอบคุณค่ะที่อนุญาตให้หนูไปเที่ยว
๒๙
ภำคผนวก
๓๐
๑. ก
๒. ข
๓. ก
๔. ก
๕. ค
๖. ก
๗. ง
๘. ก
๙. ง
๑๐. ง
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
แบบฝึกทักษะชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย
เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน
๓๑
ข้อ เฉลย
๑ ไชโย !
๒ โอย !
๓ อ้าว !
๔ ว้าย !
๕ โอ้โฮ !
๖ โธ่เอ๋ย !
๗ ว้าว !
๘ โอ๊ย !
๙ เอ๊ะ !
๑๐ ปัดโธ่ !
เฉลยกิจกรรมที่ ๑
๓๒
ข้อ เฉลย
๑ เอ๊ะ !
๒ โอย !
๓ โธ่ !
๔ ว้าย !
๕ โอ้โฮ !
๖ เฮ้อ !
๗ ไชโย !
๘ เฮ้ย !
๙ อ้อ !
๑๐ โอ !
เฉลยกิจกรรมที่ ๒
๓๓
ข้อ เฉลย
๑ หน้าไม้
๒ เขี้ยวขอ
๓ เหล่าใคร
๔ อาราม
๕ ปลาปิ้ง
๖ หนังหา
๗ อาบท่า
๘ มดเท็จ
๙ กินปลา
๑๐ รามไห
เฉลยกิจกรรมที่ ๓
๓๔
ข้อ เฉลย
๑ วัดวาอาราม
๒ ผมเผ้า
๓ ลดราวาศอก
๔ ปืนผาหน้าไม้
๕ เสื้อแสง
๖ หยูกยา
๗ พิธีรีตอง
๘ ผ้าผ่อน
๙ ฟันฟาง
๑๐ มือไม้
เฉลยกิจกรรมที่ ๔
๓๕
ข้อ เฉลย
๑ ผู้หลัก
๒ เสียดง
๓ ไม่ลืมหู, แสง
๔ หัวหลัก
๕ อาบท่า
๖ เอาสาด
๗ สัญญิง
๘ เมายา
ข้อ เฉลย
๑ ขันแข็ง
๒ เตร็ดเตร่
๓ ว้าย !
๔ ไชโย !
๕ ปลาอาหาร
๖ โธ่ !
๗ หมดโศก
๘ ไปวา
เฉลยกิจกรรมที่ ๕
เฉลยกิจกรรมที่ ๖
๓๖
๙-๑๐ คะแนน ๗-๘ คะแนน ๕-๖ คะแนน ๐-๔ คะแนน
นาคาอุทานที่กาหนดให้
ไปใช้ในการแต่งเรื่อง
ครบทุกคา มีการตั้งชื่อ
เ รื่องที่สอดคล้อ ง
เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง
มีการผูกเรื่องที่น่าสนใจ
สอดคล้องกันตั้งแต่ต้น
เรื่องจนจบเรื่องการเขียน
สะกดคา มีผิดบ้างแต่
ไม่เกิน ๓ คา
นาคาอุทานที่กาหนดให้
ไปใช้ในการแต่งเรื่องไม่
ครบขาดไป ๑-๒ คา
มีการตั้งชื่อเรื่องที่
สอดคล้องเหมาะสมกับ
เนื้อเรื่อง มีการผูกเรื่อง
ที่น่าสนใจ สอดคล้อง
กันตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบ
เรื่อง การเขียนสะกดคา
มีผิดบ้างมากกว่า ๓ คา
แต่ไม่เกิน ๕ คา
นาคาอุทานที่กาหนดให้
ไปใช้ในการแต่งเรื่องไม่
ครบ ขาดไปมากกว่า ๒
คา แต่ไม่เกิน ๓ คา มี
ก า ร ตั้ ง ชื่ อ เ รื่ อ ง ที่
สอดคล้องเหมาะสมกับ
เนื้อเรื่อง มีการผูกเรื่อง
ที่น่าสนใจ แต่เนื้อเรื่อง
ไม่สอดคล้องกันตั้งแต่
ต้นเรื่องจนจบเรื่อง
การเขียนสะกดคา มีผิด
ตั้งแต่ ๕ คาขึ้นไป แต่
ไม่เกิน ๑๐ คา
นาคาอุทานที่กาหนดให้
มาใช้ ๑-๓ คา การตั้ง
ชื่อเรื่องไม่สอดคล้องกับ
เนื้อเรื่อง การผูกเรื่องไม่
น่าสนใจ เนื้อเรื่องไม่
สอดคล้องกันตั้งแต่
ต้นเรื่องจนจบเรื่อง
การเขียนสะกดคา มีผิด
ตั้งแต่ ๑๐ คาขึ้นไป
เฉลยกิจกรรมที่ ๗
๓๗
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
แบบฝึกทักษะชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย
เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน
๑. ก
๒. ง
๓. ก
๔. ง
๕. ง
๖. ก
๗. ข
๘. ก
๙. ก
๑๐. ค
๓๘
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน.(๒๕๔๐). แบบฝึกหัดสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน
ชุด ภำษำเพื่อชีวิต ทักษะภำษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
คุรุสภาลาดพร้าว.
_________.(๒๕๕๐).หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน ชุด ภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที
ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
นรบดี สิริเนาวพงศ์. (๒๕๕๔). หลักภำษำน่ำรู้ ๔. กรุงเทพมหานคร : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์.
ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์โฟกัส.(มปป).แบบฝึกหลักภำษำไทย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์
โฟกัส.
ราชบัณฑิตยสถาน.(๒๕๔๖).พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำนพ.ศ.๒๕๔๒.
กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
วัชรพงศ์ โกมุทธรรมวิบูลย์และคณะ.(๒๕๕๒). สรุปเฉลยภำษำไทย o-net ป.๖.
กรุงเทพมหานคร :พัฒนาศึกษา.
วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๔๖).กำรจัดสำระกำรเรียนรู้กลุ่มสำระภำษำไทย
ตำมหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๔๔.กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
. (๒๕๕๑).แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน
พุทธศักรำช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ
ไทย.
อัจฉรา ชีวพันธ์ และคณะ. (๒๕๔๕). หลักภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕.
กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ ๑๙๙๑ จากัด.
เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. (๒๕๔๘). แม่บทมำตรฐำนภำษำไทย ๕. พิมพ์ครั้งที่ ๓.
กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
บรรณำนุกรม
๓๙
ชื่อ-สกุล นำงสุกัญญำ สุวรรณรัตน์
วัน เดือน ปี เกิด ๒๒ สิงหำคม ๒๕๒๓
ที่อยู่ ๘๖/๑ หมู่ที่ ๙ ถนนคึกฤทธิ์ ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี
จังหวัดนครศรีธรรมรำช เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๖-๘๒๐๘๑๘๖
e-mail : suwannarat.sukanya@gmail.com
ประวัติกำรศึกษำ
๒๕๔๖ ปริญญำตรี กศ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๒) วิชำเอก ประถมศึกษำ
บัณฑิตโครงกำรเพชรในตม รุ่นที่ ๑๔
มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสำนมิตร
๒๕๕๑ ปริญญำโท ศษ.ม.หลักสูตรและกำรสอน (วิชำเอกประถมศึกษำ)
มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช
ประวัติกำรทำงำน
๒๕๔๖ อำจำรย์ ๑ ระดับ ๓ โรงเรียนบ้ำนควนทอง(ประชำอุทิศ)
อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมรำช สปจ.นครศรีธรรมรำช
๒๕๔๗ ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้ำนควนทอง(ประชำอุทิศ)
อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพท.นศ.๔
๒๕๔๙ ครู คศ.๑ โรงเรียนวัดดอนใคร อำเภอท่ำศำลำ
จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพท.นศ.๔
๒๕๕๓ ครู คศ.๑ โรงเรียนวัดโรงเหล็ก อำเภอนบพิตำ
จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพป. นศ.๔
ปัจจุบัน ครู คศ.๒ วิทยฐำนะชำนำญกำร โรงเรียนวัดโรงเหล็ก
อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพป.นศ. ๔
ประวัติผู้จัดทำ
๔๐
ผลงำนรำงวัลที่ภำคภูมิใจ
- ครูผู้นำด้ำนนวัตกรรมระดับภูมิภำค รอบ ๑๘ คนสุดท้ำยระดับประเทศ
จำก สพฐ. ร่วมกับ บริษัทไมโครซอฟ (ประเทศไทย) จำกัด
ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๓
- โล่รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ กำรประกวดสื่อกำรสอนคอมพิวเตอร์
โครงกำร llen เรื่อง คำรำชำศัพท์ ของ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์
ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๔
- ได้รับเกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติ “หนึ่งแสนครูดี” จำกคุรุสภำ
เนื่องในงำนวันครู ๑๖ มกรำคม ๒๕๕๕
- โล่รำงวัลชนะเลิศ กำรประกวดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประถมศึกษำ
ระดับจังหวัด เรื่อง คำนำม ของสำนักงำน สกสค. ประจำปี ๒๕๕๕
- เกียรติบัตรครูสอนดี ของ อบจ.นครศรีธรรมรำช ประจำปี ๒๕๕๖
ประวัติกำรเป็นวิทยำกร/คณะทำงำน
- คณะทำงำนเขียนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้เพื่อใช้จัดทำรำยกำรโทรทัศน์
สวัสดีภำษำไทย ของ สพฐ. ออกอำกำศทำงช่อง obec channel
ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔-๖
- วิทยำกรสอนออกอำกำศทำงช่อง obec channel ของ สพฐ. รำยกำร
สวัสดีภำษำไทย ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔-๖ จำนวน ๓๗ ตอน
- วิทยำกรอบรมให้ควำมรู้แก่ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษำปีที่ ๑ และ
ระดับประถมศึกษำปีที่ ๒ ของ สพป.นศ.๔ ในกำรวิเครำะห์ app
ใน tablet เพื่อใช้ในกำรเขียนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้

Contenu connexe

Tendances

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณbua2503
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1sripayom
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 

Tendances (20)

เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 

En vedette

ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 

En vedette (9)

กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 

Similaire à เล่มที่ 6 คำอุทาน

เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทานเล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทานSikarinDatcharern
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติSutat Inpa
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)Nongkran Jarurnphong
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609CUPress
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...0894239045
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์kruthai40
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 

Similaire à เล่มที่ 6 คำอุทาน (20)

เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทานเล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
เล่มที่ ๗ เรื่อง คำอุทาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือการสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)คำซ้อน (งานกลุ่ม)
คำซ้อน (งานกลุ่ม)
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
9789740333609
97897403336099789740333609
9789740333609
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
Languageusage for radio writing
Languageusage for radio writingLanguageusage for radio writing
Languageusage for radio writing
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
หนังสือส่งเสริมการอ่าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ : ทัศนศิลป์ เรื่องเส้นสายลาย...
 
ราชาศัพท์
ราชาศัพท์ราชาศัพท์
ราชาศัพท์
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 

เล่มที่ 6 คำอุทาน

  • 1. ๑ แบบฝึกทักษะชุด สืบสานคุณค่า หลักภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖นี้ จัดทาขึ้นเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาหลักการใช้ภาษาไทยของนักเรียน โรงเรียนวัดโรงเหล็ก อาเภอนบพิตา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต ๔ และได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทยโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในการจัดทาแบบฝึกทักษะชุดสืบสานคุณค่า หลักภาษาไทย สาหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ ผู้จัดทาได้จัดทาทั้งหมด ๗ เล่ม ดังนี้ เล่มที่ ๑ เรื่อง คานาม เล่มที่ ๒ เรื่อง คาสรรพนาม เล่มที่ ๓ เรื่อง คากริยา เล่มที่ ๔ เรื่อง คาวิเศษณ์ เล่มที่ ๕ เรื่อง คาบุพบท เล่มที่ ๖ เรื่อง คาอุทาน เล่มที่ ๗ เรื่อง คาเชื่อม แบบฝึกทักษะเล่มนี้เป็นเล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน ภายในเล่มได้จัดทาคาแนะนา ในการใช้สาหรับครูและนักเรียน มีกิจกรรมฝึกทักษะการเรียนรู้เกี่ยวกับคาอุทาน จานวน ๗ กิจกรรม พร้อมเฉลย มีแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนพร้อมเฉลยทุกกิจกรรม ส่วนการวัดและประเมินผล เปิดโอกาสให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในการวัดผล ประเมินผลตามสภาพจริง โดยนักเรียนมีโอกาสในการเสนอแนะการประเมินผลและมี ส่วนร่วมในการประเมินผลงานทั้งของเพื่อนและตนเองตามเกณฑ์การประเมินที่กาหนด คำแนะนำในกำรใช้ แบบฝึกทักษะ ชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย
  • 2. ๒ เพื่อให้แบบฝึกทักษะ ชุด สืบสานคุณค่า หลักภาษาไทยมีประโยชน์กับนักเรียน สูงสุด ครูผู้สอนควรปฏิบัติดังนี้ ๑. แบบฝึกทักษะ ชุด สืบสานคุณค่า หลักภาษาไทยมีทั้งหมด ๗ เล่ม ใช้สอนในชั่วโมงภาษาไทย หรืออาจสอนซ่อมเสริมนอกเวลาก็ได้ โดยให้นักเรียนได้ทา แบบฝึกทักษะเป็นรายบุคคล ๒. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานก่อนเรียนของนักเรียน ๓. หากพบว่านักเรียนคนใดยังทากิจกรรมไม่เสร็จ ให้นาไปทาเป็นการบ้าน โดยครู และผู้ปกครองร่วมมือกันคอยดูแลตรวจผลงานอย่างใกล้ชิด ๔. กรณีที่นักเรียนขาดเรียนในวันที่ทาการฝึก ครูต้องให้นักเรียนทากิจกรรมจนครบ และในกรณีที่ไม่ผ่านเกณฑ์ตามที่กาหนด ให้ครูทาการสอนซ่อมเสริมเป็นรายบุคคลอีกครั้ง ๕. เมื่อนักเรียนทากิจกรรมเสร็จแล้วครูตรวจความถูกต้องและให้แก้ไขเมื่อพบ ข้อบกพร่องเป็นรายบุคคลทันที ๖. หากนักเรียนทากิจกรรมเสร็จก่อนเวลาที่กาหนด ครูควรให้นักเรียนศึกษา ค้นคว้าเพิ่มเติมจากสื่อการเรียนรู้อื่น เช่น หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ความรู้จากอินเทอร์เน็ต ๗.นากิจกรรมที่นักเรียนทาเสร็จเรียบร้อยแล้วและแก้ไขถูกต้องจัดเก็บไว้ที่ มุมเก็บผลงานเพื่อให้นักเรียนได้ทบทวนความรู้ ๘. หลังจากนักเรียนทากิจกรรมเสร็จแล้วครูต้องทาการทดสอบหลังเรียน จากนั้นจึงสรุปผลการเรียนว่านักเรียนมีพัฒนาการด้านหลักการใช้ภาษาไทยเป็นไปตามเกณฑ์ ที่กาหนดไว้หรือไม่ หากพบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ครูควรทาการสอนซ่อมเสริมอีกครั้งเป็น รายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม คำแนะนำสำหรับครู
  • 3. ๓ การเรียนรู้ด้วยแบบฝึกทักษะชุดสืบสานคุณค่าหลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เล่มนี้เป็นเล่มที่ ๖ เรื่อง คาอุทาน มี ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ ดังนี้ ๑. การเรียนจากแบบฝึกทักษะเล่มนี้ ใช้เวลา ๓ ชั่วโมง ๒. นักเรียนควรปฏิบัติกิจกรรมตามขั้นตอนด้วยตนเอง ตามกิจกรรมที่กาหนดไว้ อย่างเคร่งครัด เมื่อมีปัญหาให้สอบถามครูผู้สอน ๓. ในเล่มที่ ๖ เรื่อง คาอุทาน มีกิจกรรมให้นักเรียนปฏิบัติ ๗ กิจกรรม ๔. บทบาทของนักเรียน ๔.๑ ก่อนฝึกทักษะจากกิจกรรมในเล่ม นักเรียนควรทาแบบทดสอบก่อน เรียน ๔.๒ ศึกษาเนื้อหาในแบบฝึกทักษะแต่ละเล่มให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ ๔.๓ ทากิจกรรมให้ครบทุกกิจกรรมด้วยความตั้งใจ รอบคอบ ๔.๔ ไม่ขูด ลบ ขีด ฆ่า ให้แบบฝึกทักษะสกปรกเลอะเทอะ ๔.๕ ตรวจสอบผลการเรียนด้วยการทาแบบทดสอบหลังเรียน คำชี้แจงสำหรับนักเรียน เมื่อทรำบว่ำต้องปฏิบัติตนอย่ำงไรใน กำรเรียนด้วยแบบฝึกทักษะแล้ว เพื่อน ๆ ไปดู สำระ มำตรฐำน และตัวชี้วัดกันเลย
  • 4. ๔ สำระ มำตรฐำน และตัวชี้วัด สำระที่ ๔ หลักกำรใช้ภำษำไทย มำตรฐำน ท ๔.๑ เข้ำใจธรรมชำติของภำษำและหลักภำษำไทย กำรเปลี่ยนแปลงของ ภำษำและพลังของภำษำ ภูมิปัญญำทำงภำษำ และรักษำ ภำษำไทยไว้เป็นสมบัติของชำติ ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ป.๖/๑ วิเครำะห์ชนิดและหน้ำที่ของคำในประโยค
  • 5. ๕ ตัวชี้วัด แผนภูมิลำดับขั้นกำรเรียนรู้จำกแบบฝึกทักษะ ชุดสืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน อ่ำนคำแนะนำ/ คำชี้แจงสำหรับนักเรียนให้เข้ำใจ ทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดควำมรู้และพื้นฐำน เดิม ศึกษำเนื้อหำจำกแบบฝึกทักษะในแต่ละเล่ม ฝึกทักษะจำกแบบฝึกในแต่ละเล่มไปตำมลำดับ ทดสอบหลังเรียน ผ่ำนเกณฑ์ ไม่ผ่ำนเกณฑ์
  • 6. ๖ แบบทดสอบก่อนเรียน ชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบชุดนี้ เป็นแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง คาอุทาน มีทั้งหมด ๑๐ ข้อ เป็นแบบเลือกตอบ จานวน ๔ ตัวเลือก ได้แก่ ก ข ค และ ง แต่ละข้อให้นักเรียนเลือก คาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ๒. นักเรียนมีเวลาในการทาแบบทดสอบ ๑๐ นาที ๓. ตัวอย่างคาถามและวิธีตอบ ๓.๑ ตัวอย่างคาถาม ๐) ข้อใดไม่ใช่คาอุทาน ก. รอ! ข. อ๋อ! ค. โอ๊ย ! ง. เย้! ๓.๒ วิธีตอบ ถ้านักเรียนคิดว่าตัวเลือก ข เป็นคาตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ข ดังนี้ ตัวอย่างกระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง จ ๐  หากนักเรียนต้องการเปลี่ยนคาตอบใหม่เป็นข้อ ก ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบเดิม แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ก ดังนี้ ตัวอย่างกระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง จ ๐  
  • 7. ๗ ๑. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง ก. นี่ ! เธอมากับใคร ข. เอ๊ะ ! หน้าไม่อาย ค. เอ้อเฮอ ! สวยอะไรอย่างนี้ ง. โอ๋ ! อย่าร้องไห้ไปเลยลูก ๒. คาอุทานในข้อใดเป็นคาอุทานชนิดคาอุทานเสริมบท ก. ชะอุ๋ย! นึกว่ามองไม่เห็นเสียอีก ข. เดินมากรู้สึกปวดแข้งปวดขาไปหมด ค. ต๊ายตาย! ทาไมหกเลอะเทอะอย่างนี้ ง. โอ้โฮแฮะ! รูปร่างอย่างกับนางสาวไทย ๓. ข้อใดมีคาอุทานบอกความสงสาร ก. อนิจจา ! เขาป่วยหรือ ข. อ๋อ ! ตัวกูช่างดูดาย ค. แหม ! ช่างเคราะห์ดีจริง ๆ ง. โถ ! ท่านขา ทาไมไม่เห็นใจบ้าง ๔. ข้อใดมีคาอุทานแสดงความโกรธ ก. ชิชะ ! ไอ้พญาเดโช ข. เฮ้ย ! พวกเราช่วยกันคุ้มกัน ค. พุทโธ ! ช่างทากับนกเหล่านี้ได้ ง. เชอะ ! คนอย่างเสือแกว่น ใครจะสามารถลบลายเสือได้
  • 8. ๘ ๕. ข้อใดใช้คาอุทานได้เหมาะสมที่สุด ก. เย้ ! ฉันเข้าใจที่เธอพูดแล้ว ข. โอ้โฮ ! รองเท้าฉันหายไปไหน ค. อนิจจา ! ชีวิตนี่ไม่มีความแน่นอน ง. อ๋อ ! ขอบคุณค่ะที่อนุญาตให้หนูไปเที่ยว ๖. “............ ! คุณเดินอย่างไรนี่ น้ากระเด็นเปียกฉันหมดแล้ว ” ควรเติมคาอุทานในข้อใด ลงในช่องว่าง ก. แหม ข. ว้าย ค. ฮึม ง. อุเหม่ ๗. “ตายจริง ! ฉันลืมกระเป๋าเงินไว้ในรถโดยสารประจาทาง” ข้อความนี้มีคาอุทานแสดง ความรู้สึกอย่างไร ก. ประหลาดใจ ข. โกรธแค้น ค. สงสัย ง. ตกใจ ๘. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง ก. อ๋อ! ฉันไม่รู้เรื่อง ข. อ้าว! เธอก็มาด้วย ค. โธ่ ! ไม่น่าผิดใจกันเลย ง. แหม! ให้เราคอยตั้งนาน
  • 9. ๙ ๙. “ขอเชิญดื่มน้าดื่มท่าเสียก่อนนะ” คาอุทานเสริมบทของประโยคนี้คือคาในข้อใด ก. เสียก่อน ข. ขอเชิญ ค. ดื่มน้า ง. ดื่มท่า ๑๐. “เอ๊ะ! ทาไมถึงเป็นอย่างนี้” จากข้อความผู้พูดแสดงความรู้สึกอย่างไร ก. กลัว ข. เห็นใจ ค. เสียใจ ง. แปลกใจ ทาข้อสอบกันได้ไหมค่ะ เดี๋ยวพุดซ้อนจะ พาเพื่อน ๆ ไปเรียนเรื่องคาอุทานกับครูนก นะคะ
  • 10. ๑๐ คำอุทำน คือ คาที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์หรือความรู้สึกของผู้พูด เช่น ดีใจ เสียใจ ตกใจ แปลกใจ สงสัย สงสาร เจ็บปวด โกรธ เป็นต้นมักจะเป็นคาที่ไม่มี ความหมาย แต่เน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูด เสียงที่เปล่งออกมาเป็นคาอุทานนี้ แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ๑. เป็นคา เช่น แหม! พุทโธ่! โอ้! โอ๊ย! อุ๊ย! เป็นต้น ๒. เป็นวลี เช่น เวรกรรมจริงหนอ! กลุ้มใจจริงโว้ย! โอ้อกเราเอ๋ย! เป็นต้น ๓. เป็นประโยค เช่น ไฟไหมเจ้าข้า! อกแตกแล้วโว้ย! เป็นต้น คาอุทานแบ่งออกเป็น ๒ ชนิด คือ ๑. คาอุทานบอกอาการ ๒. คาอุทานเสริมบท เด็ก ๆ หลายคนอาจเคยใช้คาอุทานใน ชีวิตประจาวัน แต่อาจจะยังไม่ทราบว่าคาใด แสดงอาการหรืออารมณ์ของผู้พูดอย่างไร เดี๋ยวครูนกจะอธิบายให้ฟังค่ะ ไปดูคำอุทำนแต่ละชนิดกัน ดีกว่ำค่ะว่ำใช้อย่ำงไร
  • 11. ๑๑ ๑. คำอุทำนบอกอำกำร ใช้เปล่งเสียงเพื่อบอกอาการและความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด มักจะอยู่หน้าประโยคและมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) กากับหลังคาอุทานนั้นเสมอ คาอุทาน นั้นจะช่วยสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจถึงเจตนาและความรู้สึกของผู้ส่งสารได้ชัดเจนขึ้น เช่น คำอุทำน แสดงอำกำร ชะ, ชะชะ, ชิ, ชิชะ, ชิชิ โกรธหรือไม่ชอบใจ เป็นต้น ตัวอย่าง ชะชะ ! แม่คนนี้มาทาอวดดี เดี๋ยวตีตายเลย ไชโย ดีใจ ตัวอย่าง ไชโย ! เราชนะแล้ว โธ่, พุทโธ่ สงสารหรือราคาญ ตัวอย่าง โธ่ ! น่าสงสารจัง ไม่น่าเป็นอย่างนี้เลย ว้าย ตกใจ หรือดีใจ เป็นต้น ตัวอย่าง ว้าย ! งูเข้าบ้าน วุ้ย ตกใจ เก้อเขิน หรือไม่พอใจ ตัวอย่าง วุ้ย ! น่าราคาญ หน่อยแน่ ไม่พอใจหรือผิดหวัง ตัวอย่าง หน่อยแน่ ! ทาผิดแล้วยังจะอวดดีอีก อนิจจา สงสารสังเวช เป็นต้น ตัวอย่าง อนิจจา ! ไม่น่าเลย ช่างน่าสงสารเสียจริง ๆ อ้อ, อ๋อ รู้แล้ว เข้าใจแล้ว นึกได้แล้ว ตัวอย่าง อ๋อ ! เรื่องนี้ฉันนึกออกแล้ว อ้าว รู้สึกว่าไม่ตรงกับที่มุ่งหมายหรือคาดไว้ ตัวอย่าง อ้าว ! แม่ก็มาด้วยนึกว่ามาแต่พ่อ อี๊ รังเกียจสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ตัวอย่าง อี๊ ! เสื้อสกปรกอย่างนี้ ยังจะเอามาให้ฉันอีก
  • 12. ๑๒ คำอุทำน แสดงอำกำร อือ ตอบรับหรือรับรู้ ตัวอย่าง อือ ! เรื่องนั้นฉันรู้แล้ว บ๊ะ, อุบ๊ะ ไม่พอใจหรือประหลาดใจ เป็นต้น ตัวอย่าง อุบ๊ะ ! ข้าบอกเอ็งแล้วว่าอย่าทา แต่เอ็งก็ไม่เชื่อ อุ๊ย ตกใจ มักเป็นเสียงผู้หญิง ตัวอย่าง อุ๊ย ! จักจี้นะ เอ, เอ๊ แปลกใจสงสัย ตัวอย่าง เอ๊ ! ปากกาฉันอยู่ที่ไหนนะ เอ๊ย พูดผิดไป ตัวอย่าง เอ๊ย ! ไม่ใช่อย่างนั้นฉันพูดผิดไป เออ บอกรับหรืออนุญาต ตัวอย่าง เออ ! จริงของเธอนั่นแหละ โอย, โอ๊ย ความรู้สึกเจ็บปวด หรือรู้สึกว่ามากยิ่งหรือแปลก ตัวอย่าง โอ๊ย ! เจ็บจริง ๆ ฉันทนไม่ไหวแล้ว (รู้สึกเจ็บปวด) โอ้โฮ ตกใจหรือประหลาดใจ ตัวอย่าง โอ้โฮ ! วันนี้เธอมาเรียนแต่เช้าเลย เฮ้อ เบื่อหน่ายหรือไม่ถูกใจ ตัวอย่าง เฮ้อ ! ผมละเบื่อเหลือเกิน พูดไปก็เท่านั้น เฮอ โล่งใจ ตัวอย่าง เฮอ ! ถึงฝั่งเสียที ดีแล้วที่ไม่มีใครเป็นไร
  • 13. ๑๓ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำอุทำนที่กำหนดในช่องว่ำงให้ถูกต้อง ๑. ........................... เราวิ่งแข่งได้เหรียญทองอีกแล้ว ๒. ............................คุณเหยียบเท้าผม ๓. ........................... ผมนึกว่าคุณเป็นคนช่วยผมเสียอีก ๔. ........................... ตกใจหมดเลย ๕. ........................... ช่างเป็นภาพที่สวยงามเหลือเกิน ๖. .......................... ช่างน่าสงสารจริง ๆ เจ้าแมวน้อย ๗. ........................... วันนี้เธอสวยยังกะนางฟ้าแน่ ๘............................. หนูปวดท้องจังเลยค่ะคุณแม่ ๙............................ นี่กระเป๋าสตางค์ของใคร ๑๐............................ เซ้าซี้อยู่ได้น่าราคาญ กิจกรรมที่ ๑ เติมคำอุทำนในช่องว่ำง ไชโย ! ว้ำว ! โอ๊ย ! ปัดโธ่ ! โอ้โฮ ! ว้ำย ! เอ๊ะ ! อ้ำว ! โธ่เอ๋ย ! โอย !
  • 14. ๑๔ คาชี้แจง ให้นักเรียนนำคำอุทำนบอกอำกำรทำงซ้ำยมือมำเติมหน้ำข้อควำมทำงขวำมือ ให้ถูกต้อง โอ้โฮ ! ๑...................เสียงอะไร ไชโย ! ๒...................ปวดท้อง เฮ้อ ! ๓...................ลืมสนิทเลย เฮ้ย ! ๔...................เด็กตกน้า อนิจจา ! ๕...................สวยจริง ๆ ว้าย ! ๖...................จะทาอย่างไรดี โอ ! ๗...................รถมาแล้ว อ้อ ! ๘...................อย่าทาอย่างนั้น เอ๊ะ ! ๙...................เรื่องเป็นอย่างนี้นี่เอง โอย ! ๑๐...................ล้อเล่นแค่นี้ก็โกรธ อุบ๊ะ ! โธ่ ! กิจกรรมที่ ๒ จับคู่คำอุทำนบอกอำกำร
  • 15. ๑๕ ๒. อุทำนเสริมบท เป็นคาอุทานที่ใช้เสริมกับคาเดิม เพื่อให้ความหมายชัดเจนขึ้น หรือ เสริมเสียงของคาให้สละสลวยขึ้น ซึ่งคาที่เสริมนี้ไม่มีความหมายอะไร หรืไม่สัมพันธ์กับคาที่ ตามมาเลย คาอุทานชนิดนี้ไม่ต้องใส่เครื่องหมายอัศเจรีย์ (!) เช่น ลูกเต้าเหล่าใคร สิงห์สาราสัตว์ ผักหญ้าปลายา งูเงี้ยวเขี้ยวขอ เลขผานาที ผ้าผ่อนท่อนสไบ หนังสือหนังหา กระดูกกระเดี้ยว หมดเรี่ยวหมดแรง พยาบงพยาบาล ไม่รู้ไม่ชี้ อาบน้าอาบท่า มือไม้ หูเหือง เสื้อแสง *** คาที่ขีดเส้นใต้เป็นคาอุทานเสริมบท ต่อไปเรามาดูคาอุทานชนิดที่ ๒ และ หน้าที่ของคาอุทานกันนะคะ
  • 16. ๑๖ ๑. ทาหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น ตำยจริง ! ฉันลืมเอากระเป๋าสตางค์มา โธ่ ! เธอคงจะเจ็บมากซินะ เอ๊ะ ! ใครกันที่นาดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะฉัน ๒. ทาหน้าที่เพิ่มน้าหนักของคา ซึ่งได้แก่คาอุทานเสริมบท เช่น ทาเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดรำวกันไป เมื่อไหร่เธอจะเป็นฝั่งเป็นฝาเสียทีนะ เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร ๓. ทาหน้าที่ประกอบข้อความในคาประพันธ์ เช่น แมวเอ๋ยแมวเหมียว มดเอ๋ยมดแดง กอเอ๋ยกอไก่ หน้ำที่ของคำอุทำน
  • 17. ๑๗ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำอุทำนเสริมบทในช่องว่ำงให้ถูกต้อง ตัวอย่ำง เข้าวัด.....เข้าวา....... ๑. ปืนผา..................... ๒. งูเงี้ยว.................... ๓. ลูกเต้า.................... ๔. วัดวา....................... ๕. เหล้ายา................... ๖. หนังสือ.................... ๗. อาบน้า.................... ๘. โป้ปด...................... ๙. กินข้าว.................... ๑๐. ถ้วยชาม................. กิจกรรมที่ ๓ เติมคำอุทำนเสริมบนในช่องว่ำง
  • 18. ๑๘ คาชี้แจง ให้นักเรียนค้นหำคำอุทำนเสริมบทในตำรำง แล้วนำไปเติมในประโยคให้ถูกต้อง ล ด ร ำ ว ำ ศ อ ก ป ก วั ด ว ำ อ ำ ร ำ ม ห ฟั ร ำ ก ำ ผ ฝ ล เ ยู น ช ำ ม แ ช ม ผ้ สื้ ก ฟ จ น ย ศ ษ ส ำ อ ย ำ ค มื อ ไ ม้ ต ผ่ แ ำ ง ร ถ ร ำ จ น อ ส ม ข น ผ ม เ ผ้ ำ น ง ปื น ผ ำ ห น้ ำ ไ ม้ ย ข จ น ป พิ ธี รี ต อ ง ๑. ในกรุงเทพ ฯ มี.........................ที่สวยงามหลายแห่ง ๒. ลมพัดแรงจน........................ของเรายุ่งเหยิง ๓. เขาเป็นคนหัวแข็ง ไม่ยอม.........................ให้ใครง่าย ๆ ๔. เธอไม่ทาอะไรมา.............................ขาดวิ่นเชียว ๕. ผู้ใหญ่ต้องรอบคอบเก็บ.....................................ให้พ้นมือเด็ก ๖. ถ้าเธอไม่กิน..............................แล้วจะหายป่วยได้อย่างไร ๗. เราเป็นคนกันเอง ไม่ต้องมี..........................หรอก ๘. รีบเก็บ........................เสีย ฝนกาลังจะตก ๙. ขนมชิ้นนี้แข็งจัง ...................................แทบหักแน่ะ ๑๐. เขากาลังย่างเข้าสู่วัยรุ่น จึงรู้สึกว่า...........................เกะกะไปหมด กิจกรรมที่ ๔ ค้นหำคำอุทำนเสริมบท
  • 19. ๑๙ กิจกรรมทบทวนควำมรู้ คำอุทำนที่ปรำกฏอยู่ใน ประโยค แสดงอำกำรอะไรนะ “โอ๊ย ! เจ็บจังเลย “ ดีใจ เจ็บปวด ประหลำดใจ สงสัย อนุญำตปลอบใจ เฉลย เจ็บปวด
  • 22. ๒๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนเติมคำอุทำนเสริมบทในประโยคให้ถูกต้อง ๑.เธอดูเป็น.............................ผู้ใหญ่ขึ้นนะ ๒.ของไม่มีค่าอย่าไป.....................เสียดายมันเลย ๓.ฝนตกไม่............................ลืมตา เสื้อ......................ที่ตากไว้เปียกหมด ๔.นี่เธอเห็นฉันเป็น.......................หัวตอหรืออย่างไร ๕.ค่ามืดแล้วยังไม่อาบน้า.......................อีกหรือ ๖.เอาเสื่อ..................มาปูให้แขกนั่งซิ ๗.เธอจะมา.................สัญญาอะไรกับฉัน ๘.ตาชูชอบกินเหล้า............................ทุกวันเลย กิจกรรมที่ ๕ เติมคำอุทำนเสริมบทในประโยค
  • 23. ๒๓ คาชี้แจง ให้นักเรียนอ่ำนเรื่องที่กำหนดแล้วเติมคำอุทำนให้ถูกต้อง กิจกรรมที่ ๖ อ่ำนเรื่องแล้วเติมคำอุทำน เด็กหญิงมาลีเป็นเด็กขยัน ๑.................ไม่เคยหยุดเรียนไปเที่ยว ๒...................ที่ไหน วันหนึ่งมาลีต้องร้องอย่างตกใจว่า ๓. “............มีคน กระชากกระเป๋า” เพื่อนของมาลีได้ยินก็รีบวิ่งมาหาและช่วยจับผู้ร้ายได้ มาลีร้องด้วยความดีใจ “๔. ...............โชคดีจริง ๆ ที่เธอมาช่วยไว้ทัน ไม่เช่นนั้นวันนี้เราต้องอดทานข้าว๕. .............ทั้งวันแน่ ๆ” แล้วทั้งคู่ก็ไป แจ้งความที่สถานีตารวจ พอกลับถึงบ้านมาลีก็เล่าให้แม่ฟัง แม่สงสารมาลี และปลอบใจว่า “๖............น่าสงสารจังลูกแม่ หมดเคราะห์ ๗............... เสียที พรุ่งนี้เราไปวัด๘.......................ทาบุญกันดีกว่า
  • 24. ๒๔ คาชี้แจง ให้นักเรียนแต่งเรื่อง พร้อมตั้งชื่อเรื่อง จำกคำอุทำนที่กำหนดให้ กิจกรรมที่ ๗ แต่งเรื่องจำกคำอุทำนที่กำหนด ไชโย ! พุทโธ ! เอ๊ะ ! แหม ! ร้องห่มร้องไห้ โรงร่าโรงเรียน อาบน้าอาบท่า ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................ เรื่อง.......................................................
  • 25. ๒๕ แบบทดสอบหลังเรียน ชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖ คำชี้แจง ๑. แบบทดสอบชุดนี้ เป็นแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง คาอุทาน มีทั้งหมด ๑๐ ข้อ เป็นแบบเลือกตอบ จานวน ๔ ตัวเลือก ได้แก่ ก ข ค และ ง แต่ละข้อให้นักเรียนเลือก คาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ ๒. นักเรียนมีเวลาในการทาแบบทดสอบ ๑๐ นาที ๓. ตัวอย่างคาถามและวิธีตอบ ๓.๑ ตัวอย่างคาถาม ๐) ข้อใดไม่ใช่คาอุทาน ก. รอ! ข. อ๋อ! ค. โอ๊ย ! ง. เย้! ๓.๒ วิธีตอบ ถ้านักเรียนคิดว่าตัวเลือก ข เป็นคาตอบที่ถูกต้องหรือเหมาะสมที่สุดให้ นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ข ดังนี้ ตัวอย่างกระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง จ ๐  หากนักเรียนต้องการเปลี่ยนคาตอบใหม่เป็นข้อ ก ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ทับข้อคาตอบเดิม แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบในช่อง ก ดังนี้ ตัวอย่างกระดาษคาตอบ ข้อ ก ข ค ง จ ๐  
  • 26. ๒๖ ๑. “............ ! คุณเดินอย่างไรนี่ น้ากระเด็นเปียกฉันหมดแล้ว ” ควรเติมคาอุทานในข้อใดลง ในช่องว่าง ก. แหม ข. ว้าย ค. ฮึม ง. อุเหม่ ๒. “ตายจริง ! ฉันลืมกระเป๋าเงินไว้ในรถโดยสารประจาทาง” ข้อความนี้มีคาอุทานแสดง ความรู้สึกอย่างไร ก. ประหลาดใจ ข. โกรธแค้น ค. สงสัย ง. ตกใจ ๓. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง ก. อ๋อ! ฉันไม่รู้เรื่อง ข. อ้าว! เธอก็มาด้วย ค. โธ่ ! ไม่น่าผิดใจกันเลย ง. แหม! ให้เราคอยตั้งนาน ๔. “ขอเชิญดื่มน้าดื่มท่าเสียก่อนนะ” คาอุทานเสริมบทของประโยคนี้คือคาในข้อใด ก. เสียก่อน ข. ขอเชิญ ค. ดื่มน้า ง. ดื่มท่า
  • 27. ๒๗ ๕. “เอ๊ะ! ทาไมถึงเป็นอย่างนี้” จากข้อความผู้พูดแสดงความรู้สึกอย่างไร ก. กลัว ข. เห็นใจ ค. เสียใจ ง. แปลกใจ ๖. ข้อใดใช้คาอุทานไม่ถูกต้อง ก. นี่ ! เธอมากับใคร ข. เอ๊ะ ! หน้าไม่อาย ค. เอ้อเฮอ ! สวยอะไรอย่างนี้ ง. โอ๋ ! อย่าร้องไห้ไปเลยลูก ๗. คาอุทานในข้อใดเป็นคาอุทานชนิดคาอุทานเสริมบท ก. ชะอุ๋ย! นึกว่ามองไม่เห็นเสียอีก ข. เดินมากรู้สึกปวดแข้งปวดขาไปหมด ค. ต๊ายตาย! ทาไมหกเลอะเทอะอย่างนี้ ง. โอ้โฮแฮะ! รูปร่างอย่างกับนางสาวไทย ๘. ข้อใดมีคาอุทานบอกความสงสาร ก. อนิจจา ! เขาป่วยหรือ ข. อ๋อ ! ตัวกูช่างดูดาย ค. แหม ! ช่างเคราะห์ดีจริง ๆ ง. โถ ! ท่านขา ทาไมไม่เห็นใจบ้าง
  • 28. ๒๘ ๙. ข้อใดมีคาอุทานแสดงความโกรธ ก. ชิชะ ! ไอ้พญาเดโช ข. เฮ้ย ! พวกเราช่วยกันคุ้มกัน ค. พุทโธ ! ช่างทากับนกเหล่านี้ได้ ง. เชอะ ! คนอย่างเสือแกว่น ใครจะสามารถลบลายเสือได้ ๑๐. ข้อใดใช้คาอุทานได้เหมาะสมที่สุด ก. เย้ ! ฉันเข้าใจที่เธอพูดแล้ว ข. โอ้โฮ ! รองเท้าฉันหายไปไหน ค. อนิจจา ! ชีวิตนี่ไม่มีความแน่นอน ง. อ๋อ ! ขอบคุณค่ะที่อนุญาตให้หนูไปเที่ยว
  • 30. ๓๐ ๑. ก ๒. ข ๓. ก ๔. ก ๕. ค ๖. ก ๗. ง ๘. ก ๙. ง ๑๐. ง เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน แบบฝึกทักษะชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน
  • 31. ๓๑ ข้อ เฉลย ๑ ไชโย ! ๒ โอย ! ๓ อ้าว ! ๔ ว้าย ! ๕ โอ้โฮ ! ๖ โธ่เอ๋ย ! ๗ ว้าว ! ๘ โอ๊ย ! ๙ เอ๊ะ ! ๑๐ ปัดโธ่ ! เฉลยกิจกรรมที่ ๑
  • 32. ๓๒ ข้อ เฉลย ๑ เอ๊ะ ! ๒ โอย ! ๓ โธ่ ! ๔ ว้าย ! ๕ โอ้โฮ ! ๖ เฮ้อ ! ๗ ไชโย ! ๘ เฮ้ย ! ๙ อ้อ ! ๑๐ โอ ! เฉลยกิจกรรมที่ ๒
  • 33. ๓๓ ข้อ เฉลย ๑ หน้าไม้ ๒ เขี้ยวขอ ๓ เหล่าใคร ๔ อาราม ๕ ปลาปิ้ง ๖ หนังหา ๗ อาบท่า ๘ มดเท็จ ๙ กินปลา ๑๐ รามไห เฉลยกิจกรรมที่ ๓
  • 34. ๓๔ ข้อ เฉลย ๑ วัดวาอาราม ๒ ผมเผ้า ๓ ลดราวาศอก ๔ ปืนผาหน้าไม้ ๕ เสื้อแสง ๖ หยูกยา ๗ พิธีรีตอง ๘ ผ้าผ่อน ๙ ฟันฟาง ๑๐ มือไม้ เฉลยกิจกรรมที่ ๔
  • 35. ๓๕ ข้อ เฉลย ๑ ผู้หลัก ๒ เสียดง ๓ ไม่ลืมหู, แสง ๔ หัวหลัก ๕ อาบท่า ๖ เอาสาด ๗ สัญญิง ๘ เมายา ข้อ เฉลย ๑ ขันแข็ง ๒ เตร็ดเตร่ ๓ ว้าย ! ๔ ไชโย ! ๕ ปลาอาหาร ๖ โธ่ ! ๗ หมดโศก ๘ ไปวา เฉลยกิจกรรมที่ ๕ เฉลยกิจกรรมที่ ๖
  • 36. ๓๖ ๙-๑๐ คะแนน ๗-๘ คะแนน ๕-๖ คะแนน ๐-๔ คะแนน นาคาอุทานที่กาหนดให้ ไปใช้ในการแต่งเรื่อง ครบทุกคา มีการตั้งชื่อ เ รื่องที่สอดคล้อ ง เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง มีการผูกเรื่องที่น่าสนใจ สอดคล้องกันตั้งแต่ต้น เรื่องจนจบเรื่องการเขียน สะกดคา มีผิดบ้างแต่ ไม่เกิน ๓ คา นาคาอุทานที่กาหนดให้ ไปใช้ในการแต่งเรื่องไม่ ครบขาดไป ๑-๒ คา มีการตั้งชื่อเรื่องที่ สอดคล้องเหมาะสมกับ เนื้อเรื่อง มีการผูกเรื่อง ที่น่าสนใจ สอดคล้อง กันตั้งแต่ต้นเรื่องจนจบ เรื่อง การเขียนสะกดคา มีผิดบ้างมากกว่า ๓ คา แต่ไม่เกิน ๕ คา นาคาอุทานที่กาหนดให้ ไปใช้ในการแต่งเรื่องไม่ ครบ ขาดไปมากกว่า ๒ คา แต่ไม่เกิน ๓ คา มี ก า ร ตั้ ง ชื่ อ เ รื่ อ ง ที่ สอดคล้องเหมาะสมกับ เนื้อเรื่อง มีการผูกเรื่อง ที่น่าสนใจ แต่เนื้อเรื่อง ไม่สอดคล้องกันตั้งแต่ ต้นเรื่องจนจบเรื่อง การเขียนสะกดคา มีผิด ตั้งแต่ ๕ คาขึ้นไป แต่ ไม่เกิน ๑๐ คา นาคาอุทานที่กาหนดให้ มาใช้ ๑-๓ คา การตั้ง ชื่อเรื่องไม่สอดคล้องกับ เนื้อเรื่อง การผูกเรื่องไม่ น่าสนใจ เนื้อเรื่องไม่ สอดคล้องกันตั้งแต่ ต้นเรื่องจนจบเรื่อง การเขียนสะกดคา มีผิด ตั้งแต่ ๑๐ คาขึ้นไป เฉลยกิจกรรมที่ ๗
  • 37. ๓๗ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน แบบฝึกทักษะชุด สืบสำนคุณค่ำ หลักภำษำไทย เล่มที่ ๖ เรื่อง คำอุทำน ๑. ก ๒. ง ๓. ก ๔. ง ๕. ง ๖. ก ๗. ข ๘. ก ๙. ก ๑๐. ค
  • 38. ๓๘ คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน,สานักงาน.(๒๕๔๐). แบบฝึกหัดสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน ชุด ภำษำเพื่อชีวิต ทักษะภำษำ ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. _________.(๒๕๕๐).หนังสือเรียนสำระกำรเรียนรู้พื้นฐำน ชุด ภำษำเพื่อชีวิต ภำษำพำที ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๖. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. นรบดี สิริเนาวพงศ์. (๒๕๕๔). หลักภำษำน่ำรู้ ๔. กรุงเทพมหานคร : ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. ฝ่ายวิชาการสานักพิมพ์โฟกัส.(มปป).แบบฝึกหลักภำษำไทย. กรุงเทพมหานคร : สานักพิมพ์ โฟกัส. ราชบัณฑิตยสถาน.(๒๕๔๖).พจนำนุกรมฉบับรำชบัณฑิตยสถำนพ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์. วัชรพงศ์ โกมุทธรรมวิบูลย์และคณะ.(๒๕๕๒). สรุปเฉลยภำษำไทย o-net ป.๖. กรุงเทพมหานคร :พัฒนาศึกษา. วิชาการ,กรม กระทรวงศึกษาธิการ.(๒๕๔๖).กำรจัดสำระกำรเรียนรู้กลุ่มสำระภำษำไทย ตำมหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๔๔.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. . (๒๕๕๑).แนวทำงกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมหลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช ๒๕๕๑. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ ไทย. อัจฉรา ชีวพันธ์ และคณะ. (๒๕๔๕). หลักภำษำไทย ชั้นประถมศึกษำปีที่ ๕. กรุงเทพมหานคร : บรรณกิจ ๑๙๙๑ จากัด. เอกรินทร์ สี่มหาศาลและคณะ. (๒๕๔๘). แม่บทมำตรฐำนภำษำไทย ๕. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์. บรรณำนุกรม
  • 39. ๓๙ ชื่อ-สกุล นำงสุกัญญำ สุวรรณรัตน์ วัน เดือน ปี เกิด ๒๒ สิงหำคม ๒๕๒๓ ที่อยู่ ๘๖/๑ หมู่ที่ ๙ ถนนคึกฤทธิ์ ตำบลทอนหงส์ อำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมรำช เบอร์โทรศัพท์ ๐๘๖-๘๒๐๘๑๘๖ e-mail : suwannarat.sukanya@gmail.com ประวัติกำรศึกษำ ๒๕๔๖ ปริญญำตรี กศ.บ.(เกียรตินิยมอันดับ ๒) วิชำเอก ประถมศึกษำ บัณฑิตโครงกำรเพชรในตม รุ่นที่ ๑๔ มหำวิทยำลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสำนมิตร ๒๕๕๑ ปริญญำโท ศษ.ม.หลักสูตรและกำรสอน (วิชำเอกประถมศึกษำ) มหำวิทยำลัยสุโขทัยธรรมำธิรำช ประวัติกำรทำงำน ๒๕๔๖ อำจำรย์ ๑ ระดับ ๓ โรงเรียนบ้ำนควนทอง(ประชำอุทิศ) อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมรำช สปจ.นครศรีธรรมรำช ๒๕๔๗ ครู คศ.๑ โรงเรียนบ้ำนควนทอง(ประชำอุทิศ) อำเภอขนอม จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพท.นศ.๔ ๒๕๔๙ ครู คศ.๑ โรงเรียนวัดดอนใคร อำเภอท่ำศำลำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพท.นศ.๔ ๒๕๕๓ ครู คศ.๑ โรงเรียนวัดโรงเหล็ก อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพป. นศ.๔ ปัจจุบัน ครู คศ.๒ วิทยฐำนะชำนำญกำร โรงเรียนวัดโรงเหล็ก อำเภอนบพิตำ จังหวัดนครศรีธรรมรำช สพป.นศ. ๔ ประวัติผู้จัดทำ
  • 40. ๔๐ ผลงำนรำงวัลที่ภำคภูมิใจ - ครูผู้นำด้ำนนวัตกรรมระดับภูมิภำค รอบ ๑๘ คนสุดท้ำยระดับประเทศ จำก สพฐ. ร่วมกับ บริษัทไมโครซอฟ (ประเทศไทย) จำกัด ประจำปีกำรศึกษำ ๒๕๕๓ - โล่รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ ๑ กำรประกวดสื่อกำรสอนคอมพิวเตอร์ โครงกำร llen เรื่อง คำรำชำศัพท์ ของ มหำวิทยำลัยวลัยลักษณ์ ปีกำรศึกษำ ๒๕๕๔ - ได้รับเกียรติบัตรและเข็มเชิดชูเกียรติ “หนึ่งแสนครูดี” จำกคุรุสภำ เนื่องในงำนวันครู ๑๖ มกรำคม ๒๕๕๕ - โล่รำงวัลชนะเลิศ กำรประกวดหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ประถมศึกษำ ระดับจังหวัด เรื่อง คำนำม ของสำนักงำน สกสค. ประจำปี ๒๕๕๕ - เกียรติบัตรครูสอนดี ของ อบจ.นครศรีธรรมรำช ประจำปี ๒๕๕๖ ประวัติกำรเป็นวิทยำกร/คณะทำงำน - คณะทำงำนเขียนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้เพื่อใช้จัดทำรำยกำรโทรทัศน์ สวัสดีภำษำไทย ของ สพฐ. ออกอำกำศทำงช่อง obec channel ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔-๖ - วิทยำกรสอนออกอำกำศทำงช่อง obec channel ของ สพฐ. รำยกำร สวัสดีภำษำไทย ระดับชั้นประถมศึกษำปีที่ ๔-๖ จำนวน ๓๗ ตอน - วิทยำกรอบรมให้ควำมรู้แก่ครูผู้สอนในระดับประถมศึกษำปีที่ ๑ และ ระดับประถมศึกษำปีที่ ๒ ของ สพป.นศ.๔ ในกำรวิเครำะห์ app ใน tablet เพื่อใช้ในกำรเขียนแผนกำรจัดกำรเรียนรู้