SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
คำนำ
เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา ง30145
การเขียนแบบพื้นฐานทางวิศวกรรม โรงเรียนโคกสีพิทยาสรรพ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขต 25
เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้แบ่งออกเป็น 7 เล่ม เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาได้ด้วยตัวเองตามลาดับ
สาหรับเอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ คือ เล่มที่ 4 เรื่อง มาตราส่วนและการกาหนดขนาด ผู้จัดทาหวังว่า
เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาของไทย ที่
มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งด้านสติปัญญาความรู้ คุณธรรม จริยธรรม
อานาจ พรหมใจรักษ์
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
มำตรำส่วน(Scale)
การเขียนแบบส่วนใหญ่จะเขียนเท่าของจริง แต่บางครั้งชิ้นงานใหญ่จนไม่สามารถเขียนลงใน
กระดาษเขียนแบบได้ จึงจาเป็นจะต้องย่อส่วนให้ชิ้นงานเล็กลงพอที่จะเขียนลงบนกระดาษได้ หรือถ้า
ชิ้นงานมีขนาดเล็กก็จะต้องขยายให้โตขึ้นเพื่อให้สามารถแสดงรายละเอียดได้ชัดเจน ซึ้งไม่ว่าจะเป็นการย่อ
หรือขยายก็ตามผู้เขียนจะต้องคานึงถึงสัดส่วนของงานที่เขียนลงไปในแบบว่ามีขนาดเหมาะสมกับกระดาษ
หรือไม่
มาตรส่วนที่ใช้ในงานเขียนแบบมีอยู่ 3 ชนิด คือ
1. มาตราส่วนปกติ คือ 1 : 1
2. มาตราส่วนย่อ คือ 1 : 2.5 , 1 : 5 , 1 : 10 , 1 : 20 , 1 : 25 , 1 : 50 , 1 : 75 , 1 : 100
3. มาตราส่วนขยาย คือ 2 : 1 , 5 : 1 , 10 : 1 , 20 : 1 , 50 : 1 , 100 : 1
หมายเหตุ เลขตัวหน้าของมาตราส่วน หมายถึง ขนาดที่ต้องเขียนลงในแบบ
เลขตัวหลังของมาตราส่วน หมายถึง ขนาดสัดส่วนของชิ้นงาน
สาหรับการใช้ ไม่ว่าจะเป็นมาตรส่วนจริง , มาตราส่วนย่อ , มาตราส่วนขยาย ขนาดของรูปจะต้อง
เขียนไปตามมาตราส่วนที่กาหนดไว้ ส่วนการกาหนดขนาดลงในแบบจะต้องเป็นขนาดจริงของชิ้นงาน
เท่านั้น
สาหรับมุมต่างๆที่มีอยู่ในแบบไม่ว่าจะเป็นมุมตรงไหนก็ตาม จะไม่มีผลต่อการใช้มาตราส่วน
กล่าวคือมุมไม่ต้องทาการย่อหรือขยายแต่ประการใด เช่น มุม 60 ไม่ว่าจะใช้มาตราส่วนย่อหรือมาตราส่วน
ขยาย มุม 60 ก็ยังเป็นมุม 60 อย่างเดิมไม่เปลี่ยนแปลง
สาหรับการเขียนค่าของตัวเลขบอกขนาด ก็เช่นเดียวกันกับมุมต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้มาตราส่วนย่อหรือ
ขยายก็ตาม การกาหนดขนาดจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น ขนาดความยาวของวัตถุ 15
เซนติเมตร มาตราส่วนไม่ว่าจะย่อหรือขยาย การเขียนตัวเลขบอกขนาดก็เขียน 15 เซนติเมตรเท่าเดิม
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
กำรกำหนดชิ้นงำนเหลี่ยมด้วยแบบด้ำนเดียว
กำรกำหนดขนำดที่เป็นมำตรฐำนสำกลมีหลักกำรดังนี้
1. ขนาดชิ้นงานกาหนดหน่วยเป็น มิลลิเมตร โดยไม่ต้อง
กำหนดหน่วยลงไป สาหรับ หน่วยในมำตรำอื่น ให้เขียน
หน่วยลงไปด้วย
2. ตัวเลขกำหนดขนำดให้เขียนไว้เหนือเส้นกำหนดขนำด
โดยใช้ตัวขนาด h = 3.5 มม.
3. เส้นกำหนดขนำด เส้นแรกห่างจากเส้นขอบรูปประมาน 10
มม. เส้นถัดไปห่ำงจำกเส้นแรกประมำน7 มม. โดยให้วาง
ตัวเลขอยู่ตรงกลำงเส้นกาหนดกระดาษและอยู่เยื้องกัน
ตามลาดับ
4. ลูกศรกำหนดขนำด ใช้ขนาดเส้นเต็มกว้าง 0.5 ยาว2.5 มม.
และเขียนเป็นลูกศรหัวทึบ
5. ตัวเลขกำหนดขนำด เขียนให้อ่านได้จากด้านล่าง หรือจาก
ทางด้ำนขวำ ช่วงแคบน้อยกว่า 10 มม. ให้ใส่ลูกศรไว้ด้ำน
นอก ถ้าช่วงใส่ตัวเลขกาหนดขนาดระหว่างเส้นช่วย
กาหนดขนาดไม่ได้ ให้ใส่ไว้เหนือหัวลูกศร
6. กำหนดขนำด กาหนดระหว่างขอบชิ้นงำน โดยเริ่มจากที่
แคบที่สุด ถอยออกไปตามลาดับ ส่วนที่สามารถอ่านขนาด
ได้ในตัวเอง จากการกาหนดขนาดอื่น ไม่ต้อง กาหนด
ขนาดลงไป
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
7. ชิ้นงานที่ทีรูปทรงสมมาตร กาหนดแสวขวาง เส้นศูนย์กลาง
ที่อยู่เลยขอบชิ้นงานออกไปประมาณ2–3มม. ชิ้นงานบาง
เขียนแบบเพียง ด้านเดียว สาหรับ ความหนา ของชิ้นงาน
แสดงไว้ที่ชิ้นงานโดยตรงหรือด้านข้าง เช่น t = 3
8. ข้อควรระวัง
a ไม่ให้ใช้ ขอบชิ้นงาน เป็นเส้นช่วยกาหนด
ขนาด
b ไม่ให้ใช่เส้นกาหนดขนาดเป็นเส้นช่วยกาหนดขนาด
c ไม่ให้ใช่เส้นกาหนดขนาดตัดกัน
กำรกำหนดชิ้นงำนกลมหรือเว้ำด้วยแบบด้ำนเดียว
1. วงกลม มีเส้นศูนย์กลำงตัดกัน ซึ่งเส้นศูนย์กลางเหล่านี้จะ
ตัดกันที่ เส้นยำว เริ่มต้นผ่านเส้นรอบวงที่เส้นยำวและผ่าน
เส้นรอบวงอีกด้านหนึ่งที่เส้นยำวเช่นกัน สาหลับวงกลม
ขนาดเล็ก ให้ใช่เส้นเติมบำงแทนเส้นศูนย์กลางตัดกันส่วน
วงกลมขนาดใหญ่กาหนดขนาดโดยใช้ เส้นรอบวงแต่ถ้า
เป็นวงกลมขนาดเล็กใช้ เส้นช่วยกำหนดขนำด
2.วงกลมเล็กมำก แสดงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้วย ลูกศรเดียว
ที่เส้นรอบวงพร้อมกับใส่เครื่องหมาย  (7/h) หน้ำ ตัวเลข
กาหนดขนาด ในทานองเดียวกัน แสดงชิ้นงานกลมขนาด
ใหญ่ได้ด้วย ลูกศรเดียว แต่ปลายเส้นกาหนดขนาดต่อเลย
จุดศูนย์กลางเล็กน้อย
กรณีที่แคบแต่ชิ้นงานใหญ่แสดงชิ้นงานกลมด้วยลูกศร
นอก ขอบชิ้นงานได้
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
3. วงกลมหลำยวงเท่ำกัน กาหนดขนาด วงกลมเดียว เส้น
ศูนย์กลางใช้เป็นเส้น ช่วยกำหนดขนำด ได้โดยต่อเส้น
ศูนย์กลางออกมาด้วยเส้นเต็มบำง ระยะห่างรูชิ้นงาน
กาหนดด้วย เส้นศูนย์กลำง ของรูเสมอ
4. รัศมี แสดงด้วย Rและใช้ลูกศรเดียวชนกับเส้นรอบวงจุด
ศูนย์กลางต้องอยู่ที่ เส้นศูนย์กลำงวิ่งตัดกัน เสมอ ถ้าเป็น
ส่วนที่อ่านออกได้ ง่ำย ไม่ต้องแสดงจุดศูนย์กลาง
5. รัศมีใหญ่ การกาหนดชิ้นงานรัศมีใหญ่โตในแบบ ให้แสดง
เส้นรัศมีเป็น เส้นหักฉำก ปลายเส้นด้านตรงข้ามลูกศร
แสดงเป็น จุดศูนย์กลำง จุดศูนย์กลางของรัศมี
6. กำหนดขนำดรูยำว ขนาดรูยาวกาหนดตามกรรมวิธีการผลิต
กาหนดขนาดที่ ขอบชิ้นงำน หรือ จุดศูนย์กลำง หัวมนรู
ยาวนั้น
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
ใบงำน เรื่อง การกาหนดขนาดชิ้นงานเหลี่ยมด้วยแบบด้านเดียว
เหล็กแบนสี่เหลี่ยมขนาด 40 x 10 ยาว 80 บากลง กว้าง 20
และลึก 30 ให้กาหนดขนาดจากขอบล่างและเส้นศูนย์กลาง
แผ่นเหล็กรองแบบขนาด 60 x 8 ยาว 80 บากกลางลง 20 x
30 ด้านข้างส่วนบนตัดออก 45 x 10 มุมล่างทั้ง 2 ข้างตัด
ออก 10 x 10
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
M 1 : 1 เหล็กแบบบำกกลำง St 33 A M 1 : 1 แผ่นเหล็กรองแบน St 33 B
เหล็กรองเครื่องมือ หนา 5 ใช้มาตราส่วนลด 1 : 2.5 จง
เขียนแบบด้วยมาตราส่วน 1 : 1 ให้กาหนดขนาดจากซ้าย
และส่วนล่างก่อน จึงกาหนดด้านอื่นโดยไม่ให้อยู่ใน
แบบ
แป้นเกจหนา 10 ใช้มาตราส่วนลด 1 : 2.5 จงเขียนแบบด้วย
มาตราส่วน 1 : 1 ให้กาหนดขนาดจากเสนศูนย์กลางและใต้
ภาพก่อน จึงกาหนดขนาดอื่นโดยไม่กาหนดไว้ในแบบเลย
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
M 1 : 1 เหล็กรองเครื่องมือ St 33 C M 1 : 1 แป้ นเกจ St 37 - 2 D
มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์.
ใบงำน เรื่อง การกาหนดขนาดชิ้นงานกลมหรือเว้าด้วยแบบด้านเดียว
ขนาดแผ่นเหล็ก : 30 x 18
ความหนา : 2
ขนาดรู : 8
โค้งวงนอก : D = 18
ปลายซ้ายกว้าง : 8
ปลายขวากว้าง : 5
กาหนดขนาด : ตามเส้นศูนย์กลาง
ขนาดแผ่นเหล็ก : 78 x 60
ความหนา : 10 ขนาดรู : 10
ระยะห่างรู : 50 จากขอบล่าง 14 มนมุม : R = 14
ส่วนบนเว้าลง : R = 20 เส้นศูนย์กลางตัดกันที่แนว
ขอบบนชิ้นงาน
กาหนดขนาด : จากเส้นศูนย์กลางและขอบล่าง
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
M 2 : 1 แผ่นเหล็กล็อค St 33 A M 1 : 1 แผ่นเหล็กรอง St 37 - 2 B
ขนาดแผ่นเหล็ก : 50 x 90
ความหนา : 5
ระยะห่างรู : 30
มนหัวบน : 35 นอกนั้น 5
ปลายยัน : กว้าง 20 สูง 20
เว้าปลาย : 6 เส้นศูนย์กลางตัดกันที่แนว
ขอบล่างชิ้นงาน
กาหนดขนาด : เส้นศูนย์กลางและขอบล่าง
ขนาดแผ่นเหล็ก : 120 x 60
ความหนา : 6
ขนาดรู : 30
ร่องรูยาว : กว้าง 10
ระยะห่างศูนย์หัวท้าย : 75
หัวมนซ้าย : 60
หัวมนขวา : 30
เว้าขอบข้าง : 38
กาหนดขนาด : เส้นศูนย์กลาง
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน
ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด
M 1 : 1 เหล็กยัน St 37 - 2 C M 1 : 1 เหล็กยันนาร่อง St 44 - 3 D

Contenu connexe

Tendances

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยPoppy Nana
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ศุภชัย พุทธรักษ์
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)K'Keng Hale's
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาAon Narinchoti
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณเรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณพัน พัน
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 

Tendances (20)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
กฎของพาสคัล
กฎของพาสคัลกฎของพาสคัล
กฎของพาสคัล
 
สารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทยสารบัญภาษาไทย
สารบัญภาษาไทย
 
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
วิชาเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
โจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหาโจทย์ปัญหา
โจทย์ปัญหา
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณเรื่องเวกเตอร์คำนวณ
เรื่องเวกเตอร์คำนวณ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 

En vedette

เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบkruood
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3Si Seng
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วนNut Seraphim
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าNeeNak Revo
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพSKETCHUP HOME
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามโรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามguest0b9161
 
ตารางเหล็ก
ตารางเหล็กตารางเหล็ก
ตารางเหล็กNarasak Sripakdee
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมPannathat Champakul
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Preeda Prakotmak
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5พอใจ พลายงาม
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าNattawut Kathaisong
 

En vedette (20)

แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบเรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
เรื่องที่ 1 เครื่องมือและอุปกรณ์ในงานเขียนแบบ
 
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
บทที่7 ภาพฉายมุมที่1,3
 
แบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาด
แบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาดแบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาด
แบบฝึกหัดที่ 4 การบอกขนาด
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
แบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉายแบบฝึกหัดภาพฉาย
แบบฝึกหัดภาพฉาย
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้าหลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
หลักการเบื้องต้นในการออกแบบและเขียนแบบไฟฟ้า
 
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
ตัวอย่างการใช้ SketchUp สร้างโมเดลและคิดราคาได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามโรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
 
2 4
2 42 4
2 4
 
ตารางเหล็ก
ตารางเหล็กตารางเหล็ก
ตารางเหล็ก
 
ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3ภาพฉายมุมที่1 3
ภาพฉายมุมที่1 3
 
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรมมาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
มาตรฐานเหล็กอุตสาหกรรม
 
Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry Chapter 04 applied geometry
Chapter 04 applied geometry
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย บทที่5
 
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้าบทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า
 

Similaire à เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด

การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557Panatchakorn Chaiyanon
 
ธัญกรTec20
ธัญกรTec20ธัญกรTec20
ธัญกรTec20TigerAdd Ars
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnook868640
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานnook868640
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558Panatchakorn Chaiyanon
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1อำนาจ ศรีทิม
 

Similaire à เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด (16)

การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
การปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงานการปฏิบัติงาน
การปฏิบัติงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Pro desktop80manual
Pro desktop80manualPro desktop80manual
Pro desktop80manual
 
P cs
P csP cs
P cs
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2557
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
ธัญกรTec20
ธัญกรTec20ธัญกรTec20
ธัญกรTec20
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558
รูปแบบการเขียนรายงานฉบับสมบูรณ์ โรงเรียนเสริมงามวิทยาคม 2558
 
104
104104
104
 
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
ปกใช้ หน่วยที่ 6ออกแบบสร้างสรรค์ชิ้นงาน1
 

Plus de kruood

เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...kruood
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5kruood
 
กำหนดการ(..
กำหนดการ(..กำหนดการ(..
กำหนดการ(..kruood
 
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6kruood
 
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6kruood
 
Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556kruood
 
Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.kruood
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์kruood
 
The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -kruood
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 bookletkruood
 
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasanผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasankruood
 
Korat th
Korat thKorat th
Korat thkruood
 
Korat eng
Korat engKorat eng
Korat engkruood
 
Fermented eng
Fermented engFermented eng
Fermented engkruood
 
Fried eng
Fried engFried eng
Fried engkruood
 
Fermented th
Fermented thFermented th
Fermented thkruood
 
Blue crab th
Blue crab thBlue crab th
Blue crab thkruood
 
Blue crab eng
Blue crab engBlue crab eng
Blue crab engkruood
 
Nsc2012 isan-second round.-koksi
Nsc2012 isan-second round.-koksiNsc2012 isan-second round.-koksi
Nsc2012 isan-second round.-koksikruood
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 

Plus de kruood (20)

เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
Web dreamcs5
Web dreamcs5Web dreamcs5
Web dreamcs5
 
กำหนดการ(..
กำหนดการ(..กำหนดการ(..
กำหนดการ(..
 
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
แบบประเมินการออกแบบ สพม.25 ระดับ ม.4 6
 
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
ขั้นตอนการติดตั้ง UsbWebserver v8.6
 
Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556Nsc2014 isan-web koksi2556
Nsc2014 isan-web koksi2556
 
Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.Manchakhiri old town.
Manchakhiri old town.
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -The Guitar Of Chet Atkins -
The Guitar Of Chet Atkins -
 
Nsc2013 booklet
Nsc2013 bookletNsc2013 booklet
Nsc2013 booklet
 
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasanผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
ผลงาน Ict 1 2555_koksipittayasan
 
Korat th
Korat thKorat th
Korat th
 
Korat eng
Korat engKorat eng
Korat eng
 
Fermented eng
Fermented engFermented eng
Fermented eng
 
Fried eng
Fried engFried eng
Fried eng
 
Fermented th
Fermented thFermented th
Fermented th
 
Blue crab th
Blue crab thBlue crab th
Blue crab th
 
Blue crab eng
Blue crab engBlue crab eng
Blue crab eng
 
Nsc2012 isan-second round.-koksi
Nsc2012 isan-second round.-koksiNsc2012 isan-second round.-koksi
Nsc2012 isan-second round.-koksi
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 

เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด

  • 2. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. คำนำ เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชา ง30145 การเขียนแบบพื้นฐานทางวิศวกรรม โรงเรียนโคกสีพิทยาสรรพ์ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้แบ่งออกเป็น 7 เล่ม เพื่อให้นักเรียนได้ศึกษาได้ด้วยตัวเองตามลาดับ สาหรับเอกสารประกอบการเรียนรู้เล่มนี้ คือ เล่มที่ 4 เรื่อง มาตราส่วนและการกาหนดขนาด ผู้จัดทาหวังว่า เอกสารประกอบการเรียนรู้ชุดนี้ จะเป็นประโยชน์กับครูผู้สอนและนักเรียนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้องกับการปฏิรูปการศึกษาของไทย ที่ มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความสมบูรณ์ทั้งด้านสติปัญญาความรู้ คุณธรรม จริยธรรม อานาจ พรหมใจรักษ์
  • 3. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. มำตรำส่วน(Scale) การเขียนแบบส่วนใหญ่จะเขียนเท่าของจริง แต่บางครั้งชิ้นงานใหญ่จนไม่สามารถเขียนลงใน กระดาษเขียนแบบได้ จึงจาเป็นจะต้องย่อส่วนให้ชิ้นงานเล็กลงพอที่จะเขียนลงบนกระดาษได้ หรือถ้า ชิ้นงานมีขนาดเล็กก็จะต้องขยายให้โตขึ้นเพื่อให้สามารถแสดงรายละเอียดได้ชัดเจน ซึ้งไม่ว่าจะเป็นการย่อ หรือขยายก็ตามผู้เขียนจะต้องคานึงถึงสัดส่วนของงานที่เขียนลงไปในแบบว่ามีขนาดเหมาะสมกับกระดาษ หรือไม่ มาตรส่วนที่ใช้ในงานเขียนแบบมีอยู่ 3 ชนิด คือ 1. มาตราส่วนปกติ คือ 1 : 1 2. มาตราส่วนย่อ คือ 1 : 2.5 , 1 : 5 , 1 : 10 , 1 : 20 , 1 : 25 , 1 : 50 , 1 : 75 , 1 : 100 3. มาตราส่วนขยาย คือ 2 : 1 , 5 : 1 , 10 : 1 , 20 : 1 , 50 : 1 , 100 : 1 หมายเหตุ เลขตัวหน้าของมาตราส่วน หมายถึง ขนาดที่ต้องเขียนลงในแบบ เลขตัวหลังของมาตราส่วน หมายถึง ขนาดสัดส่วนของชิ้นงาน สาหรับการใช้ ไม่ว่าจะเป็นมาตรส่วนจริง , มาตราส่วนย่อ , มาตราส่วนขยาย ขนาดของรูปจะต้อง เขียนไปตามมาตราส่วนที่กาหนดไว้ ส่วนการกาหนดขนาดลงในแบบจะต้องเป็นขนาดจริงของชิ้นงาน เท่านั้น สาหรับมุมต่างๆที่มีอยู่ในแบบไม่ว่าจะเป็นมุมตรงไหนก็ตาม จะไม่มีผลต่อการใช้มาตราส่วน กล่าวคือมุมไม่ต้องทาการย่อหรือขยายแต่ประการใด เช่น มุม 60 ไม่ว่าจะใช้มาตราส่วนย่อหรือมาตราส่วน ขยาย มุม 60 ก็ยังเป็นมุม 60 อย่างเดิมไม่เปลี่ยนแปลง สาหรับการเขียนค่าของตัวเลขบอกขนาด ก็เช่นเดียวกันกับมุมต่าง ๆ ไม่ว่าจะใช้มาตราส่วนย่อหรือ ขยายก็ตาม การกาหนดขนาดจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น ขนาดความยาวของวัตถุ 15 เซนติเมตร มาตราส่วนไม่ว่าจะย่อหรือขยาย การเขียนตัวเลขบอกขนาดก็เขียน 15 เซนติเมตรเท่าเดิม
  • 4. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. กำรกำหนดชิ้นงำนเหลี่ยมด้วยแบบด้ำนเดียว กำรกำหนดขนำดที่เป็นมำตรฐำนสำกลมีหลักกำรดังนี้ 1. ขนาดชิ้นงานกาหนดหน่วยเป็น มิลลิเมตร โดยไม่ต้อง กำหนดหน่วยลงไป สาหรับ หน่วยในมำตรำอื่น ให้เขียน หน่วยลงไปด้วย 2. ตัวเลขกำหนดขนำดให้เขียนไว้เหนือเส้นกำหนดขนำด โดยใช้ตัวขนาด h = 3.5 มม. 3. เส้นกำหนดขนำด เส้นแรกห่างจากเส้นขอบรูปประมาน 10 มม. เส้นถัดไปห่ำงจำกเส้นแรกประมำน7 มม. โดยให้วาง ตัวเลขอยู่ตรงกลำงเส้นกาหนดกระดาษและอยู่เยื้องกัน ตามลาดับ 4. ลูกศรกำหนดขนำด ใช้ขนาดเส้นเต็มกว้าง 0.5 ยาว2.5 มม. และเขียนเป็นลูกศรหัวทึบ 5. ตัวเลขกำหนดขนำด เขียนให้อ่านได้จากด้านล่าง หรือจาก ทางด้ำนขวำ ช่วงแคบน้อยกว่า 10 มม. ให้ใส่ลูกศรไว้ด้ำน นอก ถ้าช่วงใส่ตัวเลขกาหนดขนาดระหว่างเส้นช่วย กาหนดขนาดไม่ได้ ให้ใส่ไว้เหนือหัวลูกศร 6. กำหนดขนำด กาหนดระหว่างขอบชิ้นงำน โดยเริ่มจากที่ แคบที่สุด ถอยออกไปตามลาดับ ส่วนที่สามารถอ่านขนาด ได้ในตัวเอง จากการกาหนดขนาดอื่น ไม่ต้อง กาหนด ขนาดลงไป
  • 5. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. 7. ชิ้นงานที่ทีรูปทรงสมมาตร กาหนดแสวขวาง เส้นศูนย์กลาง ที่อยู่เลยขอบชิ้นงานออกไปประมาณ2–3มม. ชิ้นงานบาง เขียนแบบเพียง ด้านเดียว สาหรับ ความหนา ของชิ้นงาน แสดงไว้ที่ชิ้นงานโดยตรงหรือด้านข้าง เช่น t = 3 8. ข้อควรระวัง a ไม่ให้ใช้ ขอบชิ้นงาน เป็นเส้นช่วยกาหนด ขนาด b ไม่ให้ใช่เส้นกาหนดขนาดเป็นเส้นช่วยกาหนดขนาด c ไม่ให้ใช่เส้นกาหนดขนาดตัดกัน กำรกำหนดชิ้นงำนกลมหรือเว้ำด้วยแบบด้ำนเดียว 1. วงกลม มีเส้นศูนย์กลำงตัดกัน ซึ่งเส้นศูนย์กลางเหล่านี้จะ ตัดกันที่ เส้นยำว เริ่มต้นผ่านเส้นรอบวงที่เส้นยำวและผ่าน เส้นรอบวงอีกด้านหนึ่งที่เส้นยำวเช่นกัน สาหลับวงกลม ขนาดเล็ก ให้ใช่เส้นเติมบำงแทนเส้นศูนย์กลางตัดกันส่วน วงกลมขนาดใหญ่กาหนดขนาดโดยใช้ เส้นรอบวงแต่ถ้า เป็นวงกลมขนาดเล็กใช้ เส้นช่วยกำหนดขนำด 2.วงกลมเล็กมำก แสดงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางด้วย ลูกศรเดียว ที่เส้นรอบวงพร้อมกับใส่เครื่องหมาย  (7/h) หน้ำ ตัวเลข กาหนดขนาด ในทานองเดียวกัน แสดงชิ้นงานกลมขนาด ใหญ่ได้ด้วย ลูกศรเดียว แต่ปลายเส้นกาหนดขนาดต่อเลย จุดศูนย์กลางเล็กน้อย กรณีที่แคบแต่ชิ้นงานใหญ่แสดงชิ้นงานกลมด้วยลูกศร นอก ขอบชิ้นงานได้
  • 6. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. 3. วงกลมหลำยวงเท่ำกัน กาหนดขนาด วงกลมเดียว เส้น ศูนย์กลางใช้เป็นเส้น ช่วยกำหนดขนำด ได้โดยต่อเส้น ศูนย์กลางออกมาด้วยเส้นเต็มบำง ระยะห่างรูชิ้นงาน กาหนดด้วย เส้นศูนย์กลำง ของรูเสมอ 4. รัศมี แสดงด้วย Rและใช้ลูกศรเดียวชนกับเส้นรอบวงจุด ศูนย์กลางต้องอยู่ที่ เส้นศูนย์กลำงวิ่งตัดกัน เสมอ ถ้าเป็น ส่วนที่อ่านออกได้ ง่ำย ไม่ต้องแสดงจุดศูนย์กลาง 5. รัศมีใหญ่ การกาหนดชิ้นงานรัศมีใหญ่โตในแบบ ให้แสดง เส้นรัศมีเป็น เส้นหักฉำก ปลายเส้นด้านตรงข้ามลูกศร แสดงเป็น จุดศูนย์กลำง จุดศูนย์กลางของรัศมี 6. กำหนดขนำดรูยำว ขนาดรูยาวกาหนดตามกรรมวิธีการผลิต กาหนดขนาดที่ ขอบชิ้นงำน หรือ จุดศูนย์กลำง หัวมนรู ยาวนั้น
  • 7. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. ใบงำน เรื่อง การกาหนดขนาดชิ้นงานเหลี่ยมด้วยแบบด้านเดียว เหล็กแบนสี่เหลี่ยมขนาด 40 x 10 ยาว 80 บากลง กว้าง 20 และลึก 30 ให้กาหนดขนาดจากขอบล่างและเส้นศูนย์กลาง แผ่นเหล็กรองแบบขนาด 60 x 8 ยาว 80 บากกลางลง 20 x 30 ด้านข้างส่วนบนตัดออก 45 x 10 มุมล่างทั้ง 2 ข้างตัด ออก 10 x 10 กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด M 1 : 1 เหล็กแบบบำกกลำง St 33 A M 1 : 1 แผ่นเหล็กรองแบน St 33 B เหล็กรองเครื่องมือ หนา 5 ใช้มาตราส่วนลด 1 : 2.5 จง เขียนแบบด้วยมาตราส่วน 1 : 1 ให้กาหนดขนาดจากซ้าย และส่วนล่างก่อน จึงกาหนดด้านอื่นโดยไม่ให้อยู่ใน แบบ แป้นเกจหนา 10 ใช้มาตราส่วนลด 1 : 2.5 จงเขียนแบบด้วย มาตราส่วน 1 : 1 ให้กาหนดขนาดจากเสนศูนย์กลางและใต้ ภาพก่อน จึงกาหนดขนาดอื่นโดยไม่กาหนดไว้ในแบบเลย กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด M 1 : 1 เหล็กรองเครื่องมือ St 33 C M 1 : 1 แป้ นเกจ St 37 - 2 D
  • 8. มาตราส่วนและการกาหนดขนาด : อานาจ พรหมใจรักษ์. ใบงำน เรื่อง การกาหนดขนาดชิ้นงานกลมหรือเว้าด้วยแบบด้านเดียว ขนาดแผ่นเหล็ก : 30 x 18 ความหนา : 2 ขนาดรู : 8 โค้งวงนอก : D = 18 ปลายซ้ายกว้าง : 8 ปลายขวากว้าง : 5 กาหนดขนาด : ตามเส้นศูนย์กลาง ขนาดแผ่นเหล็ก : 78 x 60 ความหนา : 10 ขนาดรู : 10 ระยะห่างรู : 50 จากขอบล่าง 14 มนมุม : R = 14 ส่วนบนเว้าลง : R = 20 เส้นศูนย์กลางตัดกันที่แนว ขอบบนชิ้นงาน กาหนดขนาด : จากเส้นศูนย์กลางและขอบล่าง กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด M 2 : 1 แผ่นเหล็กล็อค St 33 A M 1 : 1 แผ่นเหล็กรอง St 37 - 2 B ขนาดแผ่นเหล็ก : 50 x 90 ความหนา : 5 ระยะห่างรู : 30 มนหัวบน : 35 นอกนั้น 5 ปลายยัน : กว้าง 20 สูง 20 เว้าปลาย : 6 เส้นศูนย์กลางตัดกันที่แนว ขอบล่างชิ้นงาน กาหนดขนาด : เส้นศูนย์กลางและขอบล่าง ขนาดแผ่นเหล็ก : 120 x 60 ความหนา : 6 ขนาดรู : 30 ร่องรูยาว : กว้าง 10 ระยะห่างศูนย์หัวท้าย : 75 หัวมนซ้าย : 60 หัวมนขวา : 30 เว้าขอบข้าง : 38 กาหนดขนาด : เส้นศูนย์กลาง กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด กาหนดให้ : กรอบชิ้นงาน ให้เขียน : ภาพด้านหน้าพร้อมกาหนดขนาด M 1 : 1 เหล็กยัน St 37 - 2 C M 1 : 1 เหล็กยันนาร่อง St 44 - 3 D