SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
จัดทาโดย
1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัส 565050036-5
2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัส 565050045-4
3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัส 565050222-8
สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
สถานการณ์ที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่ใน
สถานการณ์นี้ คือ พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior) ซึ่ง
หมายถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่ง
จะสามารถสังเกตได้ และ ทฤษฎีที่นามาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้
เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory)
ของ พาฟลอฟ
ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่
หลักการที่นามาใช้ในการวางเงื่อนไขกับไก่ มาจากทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาฟลอฟ มีหลักการคือ สิ่งเร้าที่
วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้ ด้วยหลักการนี้ สามารถนามาใช้
ในการวางเงื่อนไขกับไก่ โดยการให้สิ่งเร้าคือเสียงเคาะไม้ไผ่ เพื่อทาให้ไก่มีพฤติกรรม
ตอบสนองที่ต้องการคือไก่มากินอาหารตามที่กาหนด ทาให้ผู้ปฏิบัติคือปอยฝ้ายไม่ต้อง
มาให้อาหารไก่ด้วยตนเอง แต่ทาได้โดยการให้คนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอกเวลา
ให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มีเสียงเคาะไม้ไผ่ไก่ก็จะมากินอาหาร
หลักการและเหตุผลของทฤษฏีในการนามาใช้วางเงื่อนไขกับไก่
ข้อดี คือ ทาให้ไก่มีพฤติกรรมการตอบสนองต่อการวางเงื่อนไขเพื่อตอบสนอง
ต่อความหิวได้โดยใช้เวลาระยะสั้นๆ เช่น ปอยฝ้ายไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองแต่
ให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอกเวลาให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มีเสียงเคาะไม้ไผ่
ไก่ก็จะตอบสนองต่อเสียงไม้ไผ่โดยการวิ่งมากินอาหาร
ข้อดี-ข้อจากัด ของทฤษฎีการวางเงื่อนไข
แบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาฟลอฟ
ข้อจากัด คือ ถ้าไม่ทาตามเงื่อนไขที่วางไว้ เช่น การเคาะไม้ไผ่หลายๆครั้ง แต่
ไม่มีการให้อาหารไก่ ไก่ก็จะลดอาการตอบสนองและไม่สนใจเสียงเคาะไม้ไผ่ในที่สุดทาให้
วิธีนี้ใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป
ทดลองเคาะไม้ไผ่ให้สัญญาณไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่ยังไม่สนใจเสียงดังกล่าว
ขั้นตอนวิธีการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ตามหลักการของทฤษฎี
1
2 ทดลองให้อาหารไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่จะวิ่งมากินอาหารที่ให้
3
4
ครั้งต่อมาทดลองเคาะไม้ไผ่ พร้อมกับให้อาหารไก่ทันทีอย่างต่อเนื่องกับเสียง
ผลที่เกิดขึ้นไก่มากินอาหารทันที ทาซ้าตามวิธีข้างต้นซ้าๆกันหลายๆวัน
ทดลองเคาะไม้ไผ่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงไม้ไผ่ ไก่ก็จะมารอกินอาหารตามเสียง
สัญญาณทันที ปอยฝ้ายจึงไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองในวันที่มีภารกิจ
มาก เพียงแต่ให้คนงานมาเคาะไม้ไผ่เรียกไก่มากินอาหารแทน
สถานการณ์ที่ 2 หนูน้อยขี้กลัว
วิธีการที่จะช่วยให้เด็กหายจากอาการกลัวการไปโรงเรียน
สืบหาสาเหตุหรือสิ่งเร้าที่ทาให้เด็กเกิดอาการกลัวการไปโรงเรียนให้ได้
ว่าเป็นเพราะสาเหตุใด
เพิ่มความสนใจข้อดีของการไปโรงเรียน เพื่อให้เด็กอยากไปโรงเรียน
และเลิกกลัวการไปโรงเรียน
1
2
หลักการในการเลือกทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
มาใช้ในการแก้ไขปัญหาของสถานการณ์
การแก้ปัญหาเลือกใช้ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม ตามหลักการวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิค ของ วัตสัน ที่ได้ทาการทดลองกับมนุษย์โดยศึกษาเรื่องความกลัว มาใช้
ในการแก้ปัญหานี้ นั้นคือ
การให้สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดอาการกลัว เด็กจะกลัวเสียงดัง แต่ไม่กลัวสัตว์
เช่นหนูขาว วัตสันทาการทดลองกับเด็กที่ชอบเล่นกับหนูขาว แล้วเคาะเหล็กให้เกิด
เสียงดังในขณะที่เด็กกาลังจะแตะหนูขาวทาซ้าไปซ้ามา หลังจากนั้นพบว่าเด็กเห็น
หนูขาวก็เกิดอาการกลัว
การให้สิ่งเร้าแก้อาการกลัว วัตสันให้ แม่เด็กอุ้มเด็กแล้วยื่นหนูขาวให้เด็ก
จับ ผลคือเด็กจะร้องไห้จากนั้นให้แม่เด็กปลอบเด็กว่าหนูขาวไม่น่ากลัวพร้อมอามือ
จับและลูบตัวหนูขาว ทาเช่นนี้หลายครั้ง ในที่สุดเด็กก็หายกลัวหนูขาวและ จับ ลูบ
ตัวหนูขาวได้
เหตุผลในการเลือกทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม การวางเงื่อนไขแบบ
คลาสสิคของ วัตสัน มาใช้ในการแก้ปัญหา เพราะทฤษฎีนี้มีการทดลองกับมนุษย์
โดยตรงและศึกษาเกี่ยวกับความกลัว จึงสามารถนาความรู้จากวิธีการทดลอง
ดังกล่าวของวัตสันไปปรับใช้เป็นแนวทางในการหาวิธีแก้ปัญหาอาการกลัวการไป
โรงเรียนของหนูน้อยในสถานการณ์ดังกล่าวได้เช่นกัน
เหตุผลในการเลือกทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ที่นามาใช้ในการแก้ปัญหา
1. สืบหาสาเหตุหรือสิ่งเร้าที่ทาให้เด็กเกิดอาการกลัวการไปโรงเรียนให้ได้ว่าเป็น
เพราะสาเหตุใด เมื่อทราบแล้ว เช่น เด็กกลัวการไปโรงเรียนเพราะไปแล้ว
เพื่อนล้อเลียน/ ครูดุด่าเสียงดัง/เพื่อนแกล้ง เป็นต้น ให้ผู้ปกครองให้คาแนะนา
พูดปลอบ ให้กาลังใจ กับหนูน้อย ให้เข้าใจ พร้อมกับแนะนาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องลด
การแสดงพฤติกรรมดังกล่าวลง แล้วพานักเรียนมาโรงเรียนตามปกติ
2. เพิ่มความสนใจข้อดีของการไปโรงเรียนเพื่อให้เด็กอยากไปโรงเรียนและเลิกกลัว
การไปโรงเรียน เช่น ผู้ปกครองไปส่งที่โรงเรียนส่งที่โรงเรียนที่สภาพแวดล้อมดี
เช่น เพื่อนที่สนิทด้วย ,ครูพาทากิจกรรมสนุกสนานที่โรงเรียน เป็นต้น
นาหลักการทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
ของ วัตสัน มาใช้ในการแก้ปัญหา
สถานการณ์ที่ 3 ฤทธิ์ ครูใหญ่
หลักการที่คิดว่าจะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาจากสถานการณ์นี้ ควรมีพื้นฐานมาจาก
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ในทฤษฎีการเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning
Theory) หรือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา ของ สกินเนอร์ (B.F. Skinner) ที่ทาการ
ทดลองการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์กับหนูโดยทดลองขังหนูในกล่องโดยกาหนดเงื่อนไขให้หนู
ต้องกดคานให้มีเสียงดังแกรกก่อนค่อยได้อาหาร ต่อมาเมื่อหนูกดคานก็งดให้อาหารจากกนั้นหนูก็เลิก
กดคาน ซึ่งการทดลองนี้สามารถใช้เป็นแนวทางการศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ได้ โดยมีแนวคิดว่า
การเรียนรู้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ต้องการเน้นเรื่อง
สิ่งแวดล้อม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ โดยพัฒนาจากทฤษฎีของ พาฟลอฟ และธอร์นไดค์
พื้นฐานของหลักการที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาของสถานการณ์
ซึ่งสรุปได้ว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นพฤติกรรมที่
กระทาต่อสิ่งแวดล้อมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษย์จะคงอยู่ตลอดไป จาเป็นต้องมี
การเสริมแรง (ผลของพฤติกรรมใด ๆ ที่ทาให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งขึ้น)ซึ่งการ
เสริมแรงนี้มีทั้งการเสริมแรงทางบวก หรือPositive Reinforcement(สภาพการณ์ที่
ช่วยให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกิดขึ้นอีกในด้านความที่น่าจะเป็นไปได้ของการเกิดโอ
เปอร์แรนท์)การเสริมแรงทางบวกสามารถกระตุ้นให้คนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์
เพิ่มขึ้นและการเสริมแรงทางลบ หรือNegative Reinforcement(การเปลี่ยนแปลง
สภาพการณ์หรือสิ่งแวดล้อมอาจจะทาให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกิดขึ้นได้) การ
เสริมแรงทางลบช่วยเพิ่มความคงทนของการแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์โดยการงด
หรือไม่ให้หรือดึงเอาสิ่งเร้าที่ผู้เรียนพึงพอใจออกไป
จากสถานการณ์ดังกล่าว อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือ
กระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) เพราะครูมีความต้องการกระตุ้น
ให้กลุ่มผู้เรียน 6 คน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ไม่พึง
ประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมที่คงทนซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการสริมแรงตาม
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ที่จะ
กิจการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้เกิด
พฤติกรรมการนนั้นซ้าอีก
วิเคราะห์สถานการณ์จากขอบข่ายของทฤษฎีในกลุ่มพฤติกรรมนิยม
ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning)
ในการแก้ปัญหา คือ ครูใหญ่ต้องมีการเสริมแรงทางบวกให้กับกลุ่มผู้เรียนดังกล่าว เพื่อให้
เกิดการปรับพฤติกรรมที่คงทน อาจให้แรงเสริม เมื่อผู้เรียนทาตามกติกาในชั้นเรียน เช่น
ถ้านักเรียนกลุ่มนี้ทางานส่งทันเวลา จะปล่อยให้ออกไปเล่นหรือพักผ่อนก่อนเวลา โดยให้
แรงเสริมอย่างต่อเนื่องทุกครั้งที่ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จากนั้นค่อยให้แรงเสริม
เป็นครั้งคราว และครูใหญ่ต้องไม่ให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
ออกมาเช่นไม่ทากติกาที่ตกลงไว้ หรือ ถ้าผู้เรียนยังไม่เกิดพฤติกรรมที่น่าพอใจครูใหญ่
อาจ ให้แรงเสริมเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่นักเรียนทาได้ใกล้เคียงได้ เช่น กิจกรรมมี 10 ข้อ
ปกติผู้เรียนกลุ่มนี้จะไม่ทาเลย
หลักของทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมในการแก้ปัญหาสถานการณ์
ครูใหญ่อาจกาหนดให้กรณีพิเศษ ถ้าทาได้อย่างน้อย 5 ข้อจาก10 ข้อจะได้รับ
แรงเสริม เป็นคะแนนพิเศษสะสม ถ้าทาได้เต็มจานวนก็จะยิ่งได้คะแนนสะสมเพิ่มมากขึ้น
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเพราะ ตนเองมีสิทธิ์ทากิจกรรมน้อยกว่าเพื่อน แต่มีโอกาส
สะสมคะแนนได้ เมื่อผู้เรียนเริ่มมีการปรับพฤติกรรมได้ ครูใหญ่จึงค่อยๆลดการชี้แนะลง
และ ลดแรงเสริมดังกล่าวลง เมื่อผู้เรียนกระทาได้แล้วและผู้เรียนเริ่มแสดงว่ามีความ
พอใจในการส่งงานหรือทากิจกรรมตามกติกาข้อตกลง ซึ่งเป็นแรงเสริมด้วยตนเองจาก
การทางานนั้นได้
ข้อควรระวัง
ครูใหญ่ไม่ควรใช้การลงโทษนักเรียนเป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้และไม่ควรให้แรง
เสริมเมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง
สถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด
สถานการณ์นี้อยู่ในขอบข่ายทฤษฎีการเชื่อมโยง (Classical Connectionism)
ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เพราะว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ
การตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ
จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการ
เรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและจะ
พยายามใช้รูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จาก
การทาความสะอาดรอบแรกของนักเรียนโดยที่นักเรียนไม่ได้วางแผนแล้วการทาความ
สะอาดห้องเรียนนั้น ไม่สะอาด และครั้งที่สองนักเรียนมีการวางแผงทาข้อตกลง จน
ห้องเรียนนั้นสะอาดและก็ทามันเวลา
ขอบข่ายของทฤษฎีในกลุ่มพฤติกรรมนิยมจากสถานการณ์
ข้อดี นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง สามารถนาปัญหา
ที่ได้จากการพบเจอ ประสบ มาแก้ไขปัญหา ปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม
ข้อดี และแนวทางในการนาทฤษฎีไปใช้ในการเรียนการสอน
แนวทางในการนาทฤษฎีการเชื่อมโยงไปใช้ในการเรียนการสอน ดังนี้
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ใน
การแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจใน
การทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง และผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่อง
แท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควร
ให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้และได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน
ประสบความสาเร็จ
สถานการณ์ที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซ้า
ครูผู้สอนเมื่อรู้ว่าผู้เรียนไม่ชอบหรือมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เราสอนอยู่ก็ควรวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุ
มาจากอะไร อะไรคือสิ่งเร้าที่ที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นแล้วพยายามไม่ให้สิ่งเร้าที่ผู้เรียนไม่ชอบนั้น
เกิดขึ้น ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องทาการเรียนการสอนวิชานี้ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนานและเปิดโอกาสให้
นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อศิษย์ให้โอกาสและรับฟัง
ความคิดเห็นของเขา คอยแนะนาในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ และครูผู้สอนควรกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียนให้
ชัดเจน แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆให้ผู้เรียนเรียนทีละหน่วย เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไปหายาก นอกจากนี้ครู
จะต้องดูความพร้อมของผู้เรียนว่ามีพื้นฐานในการเรียนเนื้อหานี้หรือยัง จัดประสบการณ์เนื้อหาให้
เหมาะสมกับการเรียนการสอน ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนทาได้ดีและพอใจในความก้าวหน้าด้านการ
เรียนรู้ของผู้เรียนถึงแม้อาจจะเป็นไปได้ช้า หลีกเลี่ยงการคุมชั้นเรียนโดยวิธีการลงโทษ ซึ่งอาจจะทาให้
ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหรือครูผู้สอนและเป็นอุปสรรคต่อการเรียน
หลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่นามาใช้ออกแบบการสอน
และสื่อการเรียนการสอน เพื่อใช้ในการแก้ไขสถานการณ์
มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ เนื่องจากการเรียนตามแบบทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะนึกถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์ การตอบสนองที่ไม่
เท่ากัน คานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร โดยปกติ
ครูสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน
การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้
โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา
วิเคราะห์หลักการจัดการเรียนรู้ตามแนวกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
ข้อดี
สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนได้มีการเสริมแรงโดยให้แรงเสริมเป็นการ
จูงใจให้ผู้เรียนสามารถมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป
ข้อดี - ข้อจากัด และหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่สามารถ
นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน
ข้อจากัด
เนื่องจากนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลการให้แรงเสริมกับแต่ละ
คนอาจส่งผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกไม่เท่ากัน หรือ อาจใช้กับเฉพาะบางคนก็ได้
หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ยังสามารถนามาใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันได้ เช่น ทฤษฏีการวางเงื่อนไข ของ วัตสัน นามาใช้ใน
การแก้ปัญหาการที่ผู้เรียนไม่กล้าถามครูหรือถามเพื่อนในชั้นเรียน รวมไปถึงการจัด
บรรยากาศในชั้นเรียนให้เด็กรู้สึกร่วมกับผู้อื่นเป็นกันเองและกล้าแสดงออก ทฤษฎี
การเรียนรู้แบบลงมือกระทาของ สกินเนอร์ (Operant Conditioning) นามาใช้ใน
การแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่
ไม่พึงประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมที่คงทนซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการเสริมแรง
ตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ที่
จะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้เกิด
พฤติกรรมการเรียนนั้นซ้าอีก

More Related Content

Similar to ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf

สถานการณ์ที่ 1
สถานการณ์ที่ 1สถานการณ์ที่ 1
สถานการณ์ที่ 1Pennapa Kumpang
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้Mod DW
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Pattarawadee Dangkrajang
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 
201701 behavioral theries-575050193-0
201701 behavioral theries-575050193-0201701 behavioral theries-575050193-0
201701 behavioral theries-575050193-0Sukanya Dee
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningunyaparn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้masaya_32
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันearlychildhood024057
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันsuraidabungasayu
 
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสันทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสันhoossanee
 
จอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสันจอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสันping1393
 

Similar to ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf (20)

สถานการณ์ที่ 1
สถานการณ์ที่ 1สถานการณ์ที่ 1
สถานการณ์ที่ 1
 
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
สรุปทฤษฎีการเรียนรู้
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213ทดลองส่ง 538144213
ทดลองส่ง 538144213
 
Conceptmap
ConceptmapConceptmap
Conceptmap
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
36
3636
36
 
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติการกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
การกำจัดลูกน้ำโดยวิธีธรรมชาติ
 
ชีวประวัติและงานวิจัย
ชีวประวัติและงานวิจัยชีวประวัติและงานวิจัย
ชีวประวัติและงานวิจัย
 
201701 behavioral theries-575050193-0
201701 behavioral theries-575050193-0201701 behavioral theries-575050193-0
201701 behavioral theries-575050193-0
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learningการเรียนรู้Learning
การเรียนรู้Learning
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสันทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
ทฤษฎีการเรียนรู้ของวัตสัน
 
ทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสันทฤษฎีของวัตสัน
ทฤษฎีของวัตสัน
 
จอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสันจอห์น บี วัตสัน
จอห์น บี วัตสัน
 

More from นิพ พิทา

วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapนิพ พิทา
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...นิพ พิทา
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่นิพ พิทา
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfนิพ พิทา
 

More from นิพ พิทา (7)

Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
วิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design mapวิเคราะห์Research design map
วิเคราะห์Research design map
 
Mmr
MmrMmr
Mmr
 
ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
รายงานทฤษฎีการบริหาร องค์การแห่งการเรียนรู้ และการจัดองค์การโดยใช้หลักการการจ...
 
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
Pptสรุปทฤษฎีการรียนรู้กับเทคโนโลยีเกิดใหม่
 
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมfตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf
 

ตอบสถานการณ์ปัญาหา แนวคิดพฤติกรรมนิยม.Pdมf

  • 1. จัดทาโดย 1. นางสาวจันทิมา บุญโชติ รหัส 565050036-5 2. นางสาวพิมพ์พร ชาวแสน รหัส 565050045-4 3. นางอุไรวรรณ ชาญกัน รหัส 565050222-8 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 2. สถานการณ์ที่ 1 ก.ไก่ในฟาร์ม ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่ใน สถานการณ์นี้ คือ พฤติกรรมเรสปอนเดนส์ (Respondent Behavior) ซึ่ง หมายถึงพฤติกรรมที่เกิดขึ้นโดยสิ่งเร้าเมื่อมีสิ่งเร้าพฤติกรรมตอบสนองก็จะเกิดขึ้น ซึ่ง จะสามารถสังเกตได้ และ ทฤษฎีที่นามาใช้ในอธิบายกระบวนการเรียนรู้ประเภทนี้ เรียกว่า ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาฟลอฟ ทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมที่จะนามาประยุกต์ใช้ในการวางเงื่อนไขไก่
  • 3. หลักการที่นามาใช้ในการวางเงื่อนไขกับไก่ มาจากทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ คลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาฟลอฟ มีหลักการคือ สิ่งเร้าที่ วางเงื่อนไข + สิ่งเร้าที่ไม่ได้วางเงื่อนไข = การเรียนรู้ ด้วยหลักการนี้ สามารถนามาใช้ ในการวางเงื่อนไขกับไก่ โดยการให้สิ่งเร้าคือเสียงเคาะไม้ไผ่ เพื่อทาให้ไก่มีพฤติกรรม ตอบสนองที่ต้องการคือไก่มากินอาหารตามที่กาหนด ทาให้ผู้ปฏิบัติคือปอยฝ้ายไม่ต้อง มาให้อาหารไก่ด้วยตนเอง แต่ทาได้โดยการให้คนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอกเวลา ให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มีเสียงเคาะไม้ไผ่ไก่ก็จะมากินอาหาร หลักการและเหตุผลของทฤษฏีในการนามาใช้วางเงื่อนไขกับไก่
  • 4. ข้อดี คือ ทาให้ไก่มีพฤติกรรมการตอบสนองต่อการวางเงื่อนไขเพื่อตอบสนอง ต่อความหิวได้โดยใช้เวลาระยะสั้นๆ เช่น ปอยฝ้ายไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองแต่ ให้คนงานคนอื่นเคาะไม้ไผ่เป็นสัญญาณบอกเวลาให้อาหารไก่ ทุกครั้งที่มีเสียงเคาะไม้ไผ่ ไก่ก็จะตอบสนองต่อเสียงไม้ไผ่โดยการวิ่งมากินอาหาร ข้อดี-ข้อจากัด ของทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบคลาสสิค(Classical Conditioning Theory) ของ พาฟลอฟ ข้อจากัด คือ ถ้าไม่ทาตามเงื่อนไขที่วางไว้ เช่น การเคาะไม้ไผ่หลายๆครั้ง แต่ ไม่มีการให้อาหารไก่ ไก่ก็จะลดอาการตอบสนองและไม่สนใจเสียงเคาะไม้ไผ่ในที่สุดทาให้ วิธีนี้ใช้ไม่ได้ผลอีกต่อไป
  • 5. ทดลองเคาะไม้ไผ่ให้สัญญาณไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่ยังไม่สนใจเสียงดังกล่าว ขั้นตอนวิธีการวางเงื่อนไขกับไก่ให้ตอบสนองต่อเสียงเคาะไม้ไผ่ตามหลักการของทฤษฎี 1 2 ทดลองให้อาหารไก่ ผลที่เกิดขึ้นไก่จะวิ่งมากินอาหารที่ให้ 3 4 ครั้งต่อมาทดลองเคาะไม้ไผ่ พร้อมกับให้อาหารไก่ทันทีอย่างต่อเนื่องกับเสียง ผลที่เกิดขึ้นไก่มากินอาหารทันที ทาซ้าตามวิธีข้างต้นซ้าๆกันหลายๆวัน ทดลองเคาะไม้ไผ่ เมื่อไก่ได้ยินเสียงไม้ไผ่ ไก่ก็จะมารอกินอาหารตามเสียง สัญญาณทันที ปอยฝ้ายจึงไม่ต้องมาให้อาหารไก่ด้วยตนเองในวันที่มีภารกิจ มาก เพียงแต่ให้คนงานมาเคาะไม้ไผ่เรียกไก่มากินอาหารแทน
  • 7. หลักการในการเลือกทฤษฎีพฤติกรรมนิยม มาใช้ในการแก้ไขปัญหาของสถานการณ์ การแก้ปัญหาเลือกใช้ทฤษฏีพฤติกรรมนิยม ตามหลักการวางเงื่อนไขแบบ คลาสสิค ของ วัตสัน ที่ได้ทาการทดลองกับมนุษย์โดยศึกษาเรื่องความกลัว มาใช้ ในการแก้ปัญหานี้ นั้นคือ การให้สิ่งเร้าที่ทาให้เกิดอาการกลัว เด็กจะกลัวเสียงดัง แต่ไม่กลัวสัตว์ เช่นหนูขาว วัตสันทาการทดลองกับเด็กที่ชอบเล่นกับหนูขาว แล้วเคาะเหล็กให้เกิด เสียงดังในขณะที่เด็กกาลังจะแตะหนูขาวทาซ้าไปซ้ามา หลังจากนั้นพบว่าเด็กเห็น หนูขาวก็เกิดอาการกลัว การให้สิ่งเร้าแก้อาการกลัว วัตสันให้ แม่เด็กอุ้มเด็กแล้วยื่นหนูขาวให้เด็ก จับ ผลคือเด็กจะร้องไห้จากนั้นให้แม่เด็กปลอบเด็กว่าหนูขาวไม่น่ากลัวพร้อมอามือ จับและลูบตัวหนูขาว ทาเช่นนี้หลายครั้ง ในที่สุดเด็กก็หายกลัวหนูขาวและ จับ ลูบ ตัวหนูขาวได้
  • 8. เหตุผลในการเลือกทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม การวางเงื่อนไขแบบ คลาสสิคของ วัตสัน มาใช้ในการแก้ปัญหา เพราะทฤษฎีนี้มีการทดลองกับมนุษย์ โดยตรงและศึกษาเกี่ยวกับความกลัว จึงสามารถนาความรู้จากวิธีการทดลอง ดังกล่าวของวัตสันไปปรับใช้เป็นแนวทางในการหาวิธีแก้ปัญหาอาการกลัวการไป โรงเรียนของหนูน้อยในสถานการณ์ดังกล่าวได้เช่นกัน เหตุผลในการเลือกทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม ที่นามาใช้ในการแก้ปัญหา
  • 9. 1. สืบหาสาเหตุหรือสิ่งเร้าที่ทาให้เด็กเกิดอาการกลัวการไปโรงเรียนให้ได้ว่าเป็น เพราะสาเหตุใด เมื่อทราบแล้ว เช่น เด็กกลัวการไปโรงเรียนเพราะไปแล้ว เพื่อนล้อเลียน/ ครูดุด่าเสียงดัง/เพื่อนแกล้ง เป็นต้น ให้ผู้ปกครองให้คาแนะนา พูดปลอบ ให้กาลังใจ กับหนูน้อย ให้เข้าใจ พร้อมกับแนะนาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องลด การแสดงพฤติกรรมดังกล่าวลง แล้วพานักเรียนมาโรงเรียนตามปกติ 2. เพิ่มความสนใจข้อดีของการไปโรงเรียนเพื่อให้เด็กอยากไปโรงเรียนและเลิกกลัว การไปโรงเรียน เช่น ผู้ปกครองไปส่งที่โรงเรียนส่งที่โรงเรียนที่สภาพแวดล้อมดี เช่น เพื่อนที่สนิทด้วย ,ครูพาทากิจกรรมสนุกสนานที่โรงเรียน เป็นต้น นาหลักการทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยม การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค ของ วัตสัน มาใช้ในการแก้ปัญหา
  • 10. สถานการณ์ที่ 3 ฤทธิ์ ครูใหญ่ หลักการที่คิดว่าจะเป็นแนวทางในการแก้ปัญหาจากสถานการณ์นี้ ควรมีพื้นฐานมาจาก ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ในทฤษฎีการเรียนรู้ กลุ่มพฤติกรรมนิยม ทฤษฎีการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์ (Operant Conditioning Theory) หรือ ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทา ของ สกินเนอร์ (B.F. Skinner) ที่ทาการ ทดลองการวางเงื่อนไขแบบโอเปอแรนท์กับหนูโดยทดลองขังหนูในกล่องโดยกาหนดเงื่อนไขให้หนู ต้องกดคานให้มีเสียงดังแกรกก่อนค่อยได้อาหาร ต่อมาเมื่อหนูกดคานก็งดให้อาหารจากกนั้นหนูก็เลิก กดคาน ซึ่งการทดลองนี้สามารถใช้เป็นแนวทางการศึกษาการเรียนรู้ของมนุษย์ได้ โดยมีแนวคิดว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขและสภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม เพราะทฤษฎีนี้ต้องการเน้นเรื่อง สิ่งแวดล้อม สิ่งสนับสนุนและการลงโทษ โดยพัฒนาจากทฤษฎีของ พาฟลอฟ และธอร์นไดค์ พื้นฐานของหลักการที่เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาของสถานการณ์
  • 11. ซึ่งสรุปได้ว่า พฤติกรรมของมนุษย์เป็นพฤติกรรมที่ กระทาต่อสิ่งแวดล้อมของตนเอง พฤติกรรมของมนุษย์จะคงอยู่ตลอดไป จาเป็นต้องมี การเสริมแรง (ผลของพฤติกรรมใด ๆ ที่ทาให้พฤติกรรมนั้นเข้มแข็งขึ้น)ซึ่งการ เสริมแรงนี้มีทั้งการเสริมแรงทางบวก หรือPositive Reinforcement(สภาพการณ์ที่ ช่วยให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกิดขึ้นอีกในด้านความที่น่าจะเป็นไปได้ของการเกิดโอ เปอร์แรนท์)การเสริมแรงทางบวกสามารถกระตุ้นให้คนแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ เพิ่มขึ้นและการเสริมแรงทางลบ หรือNegative Reinforcement(การเปลี่ยนแปลง สภาพการณ์หรือสิ่งแวดล้อมอาจจะทาให้พฤติกรรมโอเปอแรนท์เกิดขึ้นได้) การ เสริมแรงทางลบช่วยเพิ่มความคงทนของการแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์โดยการงด หรือไม่ให้หรือดึงเอาสิ่งเร้าที่ผู้เรียนพึงพอใจออกไป
  • 12. จากสถานการณ์ดังกล่าว อยู่ในขอบข่ายของทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือ กระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) เพราะครูมีความต้องการกระตุ้น ให้กลุ่มผู้เรียน 6 คน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ไม่พึง ประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมที่คงทนซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการสริมแรงตาม ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ที่จะ กิจการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้เกิด พฤติกรรมการนนั้นซ้าอีก วิเคราะห์สถานการณ์จากขอบข่ายของทฤษฎีในกลุ่มพฤติกรรมนิยม
  • 13. ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ในการแก้ปัญหา คือ ครูใหญ่ต้องมีการเสริมแรงทางบวกให้กับกลุ่มผู้เรียนดังกล่าว เพื่อให้ เกิดการปรับพฤติกรรมที่คงทน อาจให้แรงเสริม เมื่อผู้เรียนทาตามกติกาในชั้นเรียน เช่น ถ้านักเรียนกลุ่มนี้ทางานส่งทันเวลา จะปล่อยให้ออกไปเล่นหรือพักผ่อนก่อนเวลา โดยให้ แรงเสริมอย่างต่อเนื่องทุกครั้งที่ผู้เรียนมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ จากนั้นค่อยให้แรงเสริม เป็นครั้งคราว และครูใหญ่ต้องไม่ให้แรงเสริมเมื่อผู้เรียนแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา ออกมาเช่นไม่ทากติกาที่ตกลงไว้ หรือ ถ้าผู้เรียนยังไม่เกิดพฤติกรรมที่น่าพอใจครูใหญ่ อาจ ให้แรงเสริมเพื่อให้เกิดพฤติกรรมที่นักเรียนทาได้ใกล้เคียงได้ เช่น กิจกรรมมี 10 ข้อ ปกติผู้เรียนกลุ่มนี้จะไม่ทาเลย หลักของทฤษฎีกลุ่มพฤติกรรมนิยมในการแก้ปัญหาสถานการณ์
  • 14. ครูใหญ่อาจกาหนดให้กรณีพิเศษ ถ้าทาได้อย่างน้อย 5 ข้อจาก10 ข้อจะได้รับ แรงเสริม เป็นคะแนนพิเศษสะสม ถ้าทาได้เต็มจานวนก็จะยิ่งได้คะแนนสะสมเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความสนใจเพราะ ตนเองมีสิทธิ์ทากิจกรรมน้อยกว่าเพื่อน แต่มีโอกาส สะสมคะแนนได้ เมื่อผู้เรียนเริ่มมีการปรับพฤติกรรมได้ ครูใหญ่จึงค่อยๆลดการชี้แนะลง และ ลดแรงเสริมดังกล่าวลง เมื่อผู้เรียนกระทาได้แล้วและผู้เรียนเริ่มแสดงว่ามีความ พอใจในการส่งงานหรือทากิจกรรมตามกติกาข้อตกลง ซึ่งเป็นแรงเสริมด้วยตนเองจาก การทางานนั้นได้ ข้อควรระวัง ครูใหญ่ไม่ควรใช้การลงโทษนักเรียนเป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนรู้และไม่ควรให้แรง เสริมเมื่อนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้อง
  • 15. สถานการณ์ที่ 4 ทาความสะอาด สถานการณ์นี้อยู่ในขอบข่ายทฤษฎีการเชื่อมโยง (Classical Connectionism) ของธอร์นไดค์ (Thorndike) เพราะว่าการเรียนรู้เกิดจากการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้ากับ การตอบสนอง ซึ่งมีหลายรูปแบบ บุคคลจะมีการลองผิดลองถูกปรับเปลี่ยนไปเรื่อยๆ จนกว่าจะพบรูปแบบการตอบสนองที่สามารถให้ผลที่พึงพอใจมากที่สุด เมื่อเกิดการ เรียนรู้แล้ว บุคคลจะใช้รูปแบบการตอบสนองที่เหมาะสมเพียงรูปแบบเดียวและจะ พยายามใช้รูปแบบนั้นเชื่อมโยงกับสิ่งเร้าในการเรียนรู้ต่อไปเรื่อยๆ ดังจะเห็นได้จาก การทาความสะอาดรอบแรกของนักเรียนโดยที่นักเรียนไม่ได้วางแผนแล้วการทาความ สะอาดห้องเรียนนั้น ไม่สะอาด และครั้งที่สองนักเรียนมีการวางแผงทาข้อตกลง จน ห้องเรียนนั้นสะอาดและก็ทามันเวลา ขอบข่ายของทฤษฎีในกลุ่มพฤติกรรมนิยมจากสถานการณ์
  • 16. ข้อดี นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง สามารถนาปัญหา ที่ได้จากการพบเจอ ประสบ มาแก้ไขปัญหา ปรับปรุงให้ดีขึ้นกว่าเดิม ข้อดี และแนวทางในการนาทฤษฎีไปใช้ในการเรียนการสอน แนวทางในการนาทฤษฎีการเชื่อมโยงไปใช้ในการเรียนการสอน ดังนี้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ลองผิดลองถูกด้วยตนเอง จะเป็นการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ใน การแก้ไขปัญหา โดยสามารถจดจาผลจากการเรียนรู้ได้ดี รวมทั้งเกิดความภาคภูมิใจใน การทาสิ่งต่าง ๆ ด้วยตนเอง และผู้เรียนมีความรู้และความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ อย่างถ่อง แท้ และให้ผู้เรียนฝึกฝนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เมื่อผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แล้ว ควร ให้ผู้เรียนฝึกนาการเรียนรู้นั้นไปใช้และได้รับผลที่น่าพึงพอใจ จะช่วยให้การเรียนการสอน ประสบความสาเร็จ
  • 17. สถานการณ์ที่ 5 ปัญหาเด็กเรียนซ้า ครูผู้สอนเมื่อรู้ว่าผู้เรียนไม่ชอบหรือมีเจตคติไม่ดีต่อวิชาที่เราสอนอยู่ก็ควรวิเคราะห์ว่ามีสาเหตุ มาจากอะไร อะไรคือสิ่งเร้าที่ที่ก่อให้เกิดความรู้สึกเช่นนั้นแล้วพยายามไม่ให้สิ่งเร้าที่ผู้เรียนไม่ชอบนั้น เกิดขึ้น ดังนั้นผู้สอนจึงจะต้องทาการเรียนการสอนวิชานี้ให้มีความน่าสนใจ สนุกสนานและเปิดโอกาสให้ นักเรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน ครูต้องเป็นกัลยาณมิตรที่ดีต่อศิษย์ให้โอกาสและรับฟัง ความคิดเห็นของเขา คอยแนะนาในสิ่งที่ยังไม่เข้าใจ และครูผู้สอนควรกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรียนให้ ชัดเจน แบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆให้ผู้เรียนเรียนทีละหน่วย เริ่มจากเนื้อหาที่ง่ายไปหายาก นอกจากนี้ครู จะต้องดูความพร้อมของผู้เรียนว่ามีพื้นฐานในการเรียนเนื้อหานี้หรือยัง จัดประสบการณ์เนื้อหาให้ เหมาะสมกับการเรียนการสอน ให้การเสริมแรงเมื่อผู้เรียนทาได้ดีและพอใจในความก้าวหน้าด้านการ เรียนรู้ของผู้เรียนถึงแม้อาจจะเป็นไปได้ช้า หลีกเลี่ยงการคุมชั้นเรียนโดยวิธีการลงโทษ ซึ่งอาจจะทาให้ ผู้เรียนเกิดเจตคติที่ไม่ดีต่อการเรียนหรือครูผู้สอนและเป็นอุปสรรคต่อการเรียน หลักการจัดการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่นามาใช้ออกแบบการสอน และสื่อการเรียนการสอน เพื่อใช้ในการแก้ไขสถานการณ์
  • 18. มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้ เนื่องจากการเรียนตามแบบทฤษฎีพฤติกรรมนิยม จะนึกถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์ การตอบสนองที่ไม่ เท่ากัน คานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผู้เรียนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้อหาอะไร โดยปกติ ครูสามารถทาให้ผู้เรียนรู้สึกชอบหรือไม่ชอบเนื้อหาที่เรียนหรือสิ่งแวดล้อมในการเรียน การลบพฤติกรรมที่วางเงื่อนไข ผู้เรียนที่ถูกวางเงื่อนไขให้กลัวผู้สอน เราอาจช่วยได้ โดยป้องกันไม่ให้ผู้สอนทาโทษเขา วิเคราะห์หลักการจัดการเรียนรู้ตามแนวกลุ่มทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
  • 19. ข้อดี สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้เรียนได้มีการเสริมแรงโดยให้แรงเสริมเป็นการ จูงใจให้ผู้เรียนสามารถมีพฤติกรรมที่พึงประสงค์ต่อไป ข้อดี - ข้อจากัด และหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่สามารถ นามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน ข้อจากัด เนื่องจากนักเรียนแต่ละคนมีความแตกต่างระหว่างบุคคลการให้แรงเสริมกับแต่ละ คนอาจส่งผลต่อพฤติกรรมที่แสดงออกไม่เท่ากัน หรือ อาจใช้กับเฉพาะบางคนก็ได้
  • 20. หลักการของทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมที่ยังสามารถนามาใช้ใน การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบันได้ เช่น ทฤษฏีการวางเงื่อนไข ของ วัตสัน นามาใช้ใน การแก้ปัญหาการที่ผู้เรียนไม่กล้าถามครูหรือถามเพื่อนในชั้นเรียน รวมไปถึงการจัด บรรยากาศในชั้นเรียนให้เด็กรู้สึกร่วมกับผู้อื่นเป็นกันเองและกล้าแสดงออก ทฤษฎี การเรียนรู้แบบลงมือกระทาของ สกินเนอร์ (Operant Conditioning) นามาใช้ใน การแก้ปัญหาเพื่อให้ผู้เรียน แสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์เพิ่มขึ้นและลดพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ลง และ เป็นพฤติกรรมที่คงทนซึ่งจาเป็นที่จะต้องได้รับการเสริมแรง ตามทฤษฎีการเรียนรู้แบบลงมือกระทาของสกินเนอร์ (Operant Conditioning) ที่ จะเกิดการเรียนรู้จากการลงมือกระทาและถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทาให้เกิด พฤติกรรมการเรียนนั้นซ้าอีก