SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
คําสั่งโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์
ที่ 240/2556
เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนตามนโยบาย
การปฏิรูปในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561)
ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียน
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ประจําภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
------------------------------------------------------
ปีการศึกษา 2556 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้บูรณาการให้การรายงานข้อมูล
ผลการดําเนินงานตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบาย ในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.
2552-2561) ผ่านระบบออนไลน์ เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของระบบ Triple A (การวิเคราะห์ (Analyze) เฝ้า
ระวัง (Alert) และการนําสู่การปฏิบัติ (Action)) ซึ่งเป็นนวัตกรรมระบบการกํากับติดตาม และประเมินผล
ด้านคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ฐานข้อมูลจุดเน้นสถานศึกษา ตามที่สถานศึกษา ได้เคยรายงานเมื่อภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2555 ที่ผ่านมา ในปีการศึกษา 2556 สพฐ. ได้ปรับปรุงตัวชี้วัดด้านการอ่านออกระดับ ป.3และ 6
ใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยกําหนดให้ สํานักทดสอบทางการศึกษา เป็น
ผู้พัฒนาเครื่องมือการวัดผล ตัวชี้วัดกล่าวโดยให้สถานศึกษาทําการทดสอบด้านการอ่านของนักเรียน ป.3และ
6 ในระหว่างวันที่ 9 – 20 กันยายน 2556 ซึ่ง สพป. สพม. จะด้องดําเนินการตามที่ สํานักทดสอบทาง
การศึกษา กําหนด แล้วรายงานให้สพฐ.ทราบ ตามวันเวลาดังกล่าว สําหรับตัวชี้วัดอื่น ให้รายงานให้เสร็จสิ้น
ภายใน วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 31 มีนาคม 2557 ตามหนังสือสั่งการ จากสพฐ.
เพื่อให้การดําเนินงานพัฒนาสมรรถนะบูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นไปตามตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประจํา
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และบังเกิดผลดีแก่ทางราชการ จึงอาศัยอํานาจตามคําสั่ง
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 06/2546 สั่ง ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2546 เรื่องการมอบ
อํานาจการบังคับบัญชา ข้าราชการครูและลูกจ้าง เห็นสมควรแต่งตั้งคณะครูให้ดําเนินงานตามขอบข่าย
ภารกิจงาน ประจําภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ดังต่อไปนี้
1. คณะกรรมการอํานวยการ มีหน้าที่ให้คําปรึกษา อํานวยความสะดวก กํากับ นิเทศติดตาม
2
เสนอแนะ ช่วยเหลือ การพัฒนาทักษะชีวิตบูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารงานโรงเรียน ดังรายชื่อ
ต่อไปนี้
1.1 นายภิญโญ จินตนปัญญา ประธานกรรมการ
1.2 นายดํารงค์ วรรณแรก รองประธานกรรมการ
1.3 นางสาวกมลรัตน์ ก่ําเซ่ง กรรมการ
1.4 นายปรีชา เขียวจู กรรมการ
1.5 นายวรัตน์ หูเขียว กรรมการ
1.6 นายสาคร ขันชู กรรมการ
1.7 นางยศวดี สันตรัตติ กรรมการ
1.8 นางพรพนา สมัยรัฐ กรรมการและเลขานุการ
1.9 นางรวิวรรณ ยอดสร้อย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
2. คณะกรรมการบริหารการดําเนินงานบูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามตัวชี้วัดดังตารางต่อไปนี้
ตัวชี้วัด/มิติที่ รายการตัวชี้วัด
มิติที่ 1
ตัวชี้วัดที่ 1 โรงเรียนจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจรทั้ง 5 ขั้นตอน
ตัวชี้วัดที่ 2 โรงเรียนมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนา
ความเป็นอาเซียน
ตัวชี้วัดที่ 3 โรงเรียนจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน
ตัวชี้วัดที่ 4 โรงเรียนจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน
ตัวชี้วัดที่ 5 โรงเรียนจัดกิจกรรมวันอาเซียน หรือ สัปดาห์อาเซียน
ตัวชี้วัดที่ 6 โรงเรียนพัฒนาสื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
ตัวชี้วัดที่ 7 โรงเรียนมีเครือข่ายประเทศสมาชิกประเทศอาเซียน
มิติที่ 2
ระดับชั้น ม.1 รายการตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
3
- ทักษะการเขียนสื่อสาร
- ทักษะการพูด
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.1 ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
ระดับชั้น ม.2 รายการตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร
- ทักษะการพูด
ระดับชั้น ม.3 รายการตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.2 ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร
- ทักษะการพูด
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง
ระดับชั้น ม.4 รายการตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ทีมีทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศด้านการพูด
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศด้านการฟัง
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ทีมีทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศด้านการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศด้านการเขียน
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง
ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
4
- ทักษะการเขียนสื่อสาร
- ทักษะการพูด
ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีคุณลักษณะ มุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน
ระดับชั้น ม.5 รายการตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการฟัง
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศด้านการพูด
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการเขียน
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง
ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีคุณลักษณะ มุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน
- ทักษะการเขียนสื่อสาร
ระดับชั้น ม.6 รายการตัวชี้วัด
- ทักษะการพูด
ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการฟัง
ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการพูด
ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการอ่าน
ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการเขียน
ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง
ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะชีวิต
ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร
- ทักษะการพูด
ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีคุณลักษณะ มุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน
5
มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) ศึกษาคู่มือการรายงานผลการดําเนินงานตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบาย ในการ
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ผ่านระบบออนไลน์ ปีการศึกษา 2556
(2) วิเคราะห์ตัวชี้วัดแต่ละระดับชั้น มอบหมายให้ครูกลุ่มสาระเป็นผู้รับผิดชอบในการดําเนินการ
(3) กลุ่มสาระที่รับผิดชอบศึกษาคําชี้แจงเครื่องมือวัด และประเมินความสามารถและทักษะตาม
จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พร้อมทั้งศึกษาเครื่องมือวัด และประเมินความสามารถและทักษะดัวกล่าว
(4) จัดทําอัดสําเนา เครื่องมือวัดและประเมินผล ฯ ตามจํานวนนักเรียนที่จะประเมิน
(5) ดําเนินการสอบวัดและประเมินผลผู้เรียนความสามารถและทักษะที่รับผิดชอบปลายภาค
เรียน ตามตารางที่โรงเรียนจัดให้ โดยควบคุม กํากับ ดําเนินการสอบอย่างเคร่งครัดเพื่อให้การดําเนินการสอบ
และผลของการประเมินมีประสิทธิภาพสูงสุด
(6) ให้กลุ่มสาระที่รับผิดชอบตรวจให้คะแนนและแปลผล ตามคําชี้แจงของเครื่องมือที่รับผิดชอบ
(7) รายงานผลการประเมินตามใบรายชื่อ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ส่งงานวัดผล ตาม
แบบฟอร์มในคําชี้แจงความสามารถและทักษะที่กลุ่มสาระการเรียนรู้รับผิดชอบ พร้อมทั้งพิมพ์ระบุข้อมูล
สนับสนุนเหตุผลประกอบผลการประเมิน ทั้งนี้ให้ส่งไฟล์แนบมาด้วยเพื่องานวัดผลจะได้โหลดไฟล์ส่ง สพฐ.
ต่อไป
(8) งานวัดผลหลอมรวมคะแนนแต่ละระดับชั้นกรอกคะแนนผ่านเว็บฐานข้อมูลจุดเน้น
สถานศึกษา สพฐ. ชื่อเว็บไซต์ http://school.stabdb.com/index.php
(9) โรงเรียนนําผลการประเมินโดยวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย นําผลไปใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ต่อไป ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โดยส่งมอบข้อมูลนักเรียนให้กับครูผู้สอนในชั้นที่รับผิดชอบ
2. คณะกรรมการดําเนินการ ประกอบด้วยกลุ่มสาระที่รับผิดชอบดังต่อไปนี้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
รายการตัวชี้วัด กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
มิติที่ 1 สังคมศึกษา
โรงเรียนจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจรทั้ง 5 ขั้นตอน 1. นายปราโมทย์ แกล้วกล้า
โรงเรียนมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการบริหาร
จัดการ เพื่อพัฒนาความเป็นอาเซียน
2. นางสาวอรอุมา คงแก้ว
โรงเรียนจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน 3. นายวุฒิชัย บุญญานุวัตร
โรงเรียนจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 4. นางวราวรรณ พรหมราช
โรงเรียนจัดกิจกรรมวันอาเซียน หรือ สัปดาห์อาเซียน
6
โรงเรียนพัฒนาสื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
โรงเรียนมีเครือข่ายประเทศสมาชิกประเทศอาเซียน
มิติที่ 2
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.1 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมห้องสมุด
- เขียนตอบ 4 ข้อ วิเคราะห์สถานการณ์ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ(คอมพิวเตอร์)
- ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์นําเสนองาน 2 ชั่วโมง 1. นางเพียงตะวัน บรรณกิจ
2. นางสาวดวงเนตร แก่นคล้าย
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง- 1 ชั่วโมง คณิตศาสตร์
- เลือกตอบ 8 ข้อ
- เขียนตอบ 6 ข้อ
1. นางรวิวรรณ ยอดสร้อย
2. นางสาวมณฑา เหมลิณี
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา พลศึกษา
ปรนัย 30 ข้อ 30 นาที 1. นางกรรณิการ์ นกเส้ง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.1ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวเบญจวรรณ์ เลิศทองคํา
- ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.1 ที่มีคุณลักษณะตามช่วงวัย ศิลปะ
- เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นางยศวดี สันตรัติ
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.2 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมห้องสมุด
- เขียนตอบ 4 ข้อ วิเคราะห์สถานการณ์ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
- ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์นําเสนองาน 2 ชั่วโมง 1. นางเพียงตะวัน บรรณกิจ
2. นางสาวดวงเนตร แก่นคล้าย
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.2 (ต่อ) กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง วิทยาศาสตร์
- เลือกตอบ 10 ข้อ 1 ชั่วโมง
- เขียนตอบ 7 ข้อ
1. นางสาวเกษร ยกทิว
2. นางสาวสุจิตรา ศักดิ์ประชาวุฒิ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา
7
- ปรนัย 30 ข้อ 30 นาที 1. นายสมนึก ผอมเซ่ง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.2ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวสุดา สะดี
- ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.2 ที่มีคุณลักษณะตามช่วงวัย ศิลปะ
- เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นายจีรานุวัฒน์ ชูยัง
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.3 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมห้องสมุด
- เขียนตอบ 3 ข้อ วิเคราะห์สถานการณ์ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
- ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์นําเสนองาน 2 ชั่วโมง 1. นางเพียงตะวัน บรรณกิจ
2. นางสาวดวงเนตร แก่นคล้าย
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง คณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์
- เลือกตอบ 4 ข้อ
- เขียนตอบ 8 ข้อ
1. นางพรพนา สมัยรัฐ
2. นางสาววาสนา กําเนิด
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา
- ปรนัย 30 ข้อ 30 นาที นายเอกพล คงไพฑูรย์
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.3ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางพรรณนิภา แจ่มศรีจันทร์
- ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.2 ที่มีคุณลักษณะตามช่วงวัย ศิลปะ
- เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นางยศวดี สันตรัตติ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.4 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา กิจกรรมห้องสมุด
- เขียนตอบ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
- ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทําสารสนเทศ 2 ชั่วโมง 1. นายจีรวัสส์ ชูแก้ว
-
-
8
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.4 (ต่อ) กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.4ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาต่างประเทศ
- ด้านการพูด 1 ชั่วโมง 30 นาที 1. นางสาวอาริสา ศรีชาย
- การฟัง 1 ชั่วโมง 30 นาที 2. นางรัชนี ละอองนวล
- ด้านการอ่าน 1 ชั่วโมง
- ด้านการเขียน 1 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง วิทยาศาสตร์
- เลือกตอบ 5 ข้อ
- เขียนตอบ 8 ข้อ
1. นางอธิชา หมีนโยธา
2. นายสาคร ขันชู
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา
- เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นางกรรณิการ์ นกเส้ง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.4 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวสุดา สะดี
- ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.4 ที่มีคุณลักษณะมุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ศิลปะ
- เลือกตอบ 30 ข้อ 30 นาที 1. นายจักรวัชร จันทจิตจิงใจ
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.5 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา กิจกรรมห้องสมุด
- เขียนตอบ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
- ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทําสารสนเทศ 2 ชั่วโมง 1. นายจีรวัสส์ ชูแก้ว
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.5ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาต่างประเทศ
- ด้านการพูด 1 ชั่วโมง 30 นาที 1. นางสาวหนึ่งฤทัย สํานักโหนด
- การฟัง 1 ชั่วโมง 30 นาที
- ด้านการอ่าน 1 ชั่วโมง
- ด้านการเขียน 1 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง คณิตศาสตร์
- เลือกตอบ 5 ข้อ
- เขียนตอบ 8 ข้อ
1. นายวรัตน์ หูเขียว
2. นางสาวกาญจนา คงเลิศ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา
- เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นายเอกพล คงไพฑูรย์
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.5 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
9
- ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวเบญจวรรณ์ เลิศทองคํา
- ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.5 ที่มีคุณลักษณะมุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ศิลปะ
- เลือกตอบ 30 ข้อ 30 นาที 1. นายจีราวัฒน์ ชูยัง
รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.6 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา กิจกรรมห้องสมุด
- เขียนตอบ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์)
- ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทําสารสนเทศ 2 ชั่วโมง 1. นายจีรวัสส์ ชูแก้ว
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.6ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาต่างประเทศ
- ด้านการพูด 1 ชั่วโมง 30 นาที 1. นางสาวภัทรศยา ธรรมพากรณ์
- การฟัง 1 ชั่วโมง 30 นาที 2. นางรัชนี ละอองนวล
- ด้านการอ่าน 1 ชั่วโมง
- ด้านการเขียน 1 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง วิทยาศาสตร์
- เลือกตอบ 5 ข้อ
- เขียนตอบ 8 ข้อ
1. นางสาวอุไรวรรณ แสงศรีจันทร์
2. นางสาววันวิสาข์ ทองแดง
ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา
- เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นายสมนึก ผอมเซ่ง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.6 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
- ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางพรรณนิภา แจ่มศรีจันทร์
- ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง
ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.6 ที่มีคุณลักษณะมุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ศิลปะ
- เลือกตอบ 30 ข้อ 30 นาที 1. นายจักรวัชร จันทรจิตจิงใจ
ขอให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งตามคําสั่งนี้ ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็ม
ความสามารถเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียน โรงเรียนและส่วนราชการต่อไป
สั่ง ณ วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556
10
(นายภิญโญ จินตนปัญญา)
ผู้อํานวยการโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์

Contenu connexe

Similaire à 16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค

เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาPuripat Piriyasatit
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลnarongsak promwang
 

Similaire à 16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค (20)

เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
1
11
1
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
B1
B1B1
B1
 
Post selt2
Post selt2Post selt2
Post selt2
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
E book world-class
E book world-classE book world-class
E book world-class
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Work you selt2
Work you selt2Work you selt2
Work you selt2
 
Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 
Work you selt
Work you seltWork you selt
Work you selt
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
แนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผลแนวทางการวัดผล
แนวทางการวัดผล
 

Plus de krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Plus de krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค

  • 1. คําสั่งโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ที่ 240/2556 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการดําเนินงานตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนตามนโยบาย การปฏิรูปในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประจําภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ------------------------------------------------------ ปีการศึกษา 2556 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้บูรณาการให้การรายงานข้อมูล ผลการดําเนินงานตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบาย ในการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ผ่านระบบออนไลน์ เข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของระบบ Triple A (การวิเคราะห์ (Analyze) เฝ้า ระวัง (Alert) และการนําสู่การปฏิบัติ (Action)) ซึ่งเป็นนวัตกรรมระบบการกํากับติดตาม และประเมินผล ด้านคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ฐานข้อมูลจุดเน้นสถานศึกษา ตามที่สถานศึกษา ได้เคยรายงานเมื่อภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 ที่ผ่านมา ในปีการศึกษา 2556 สพฐ. ได้ปรับปรุงตัวชี้วัดด้านการอ่านออกระดับ ป.3และ 6 ใหม่ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ โดยกําหนดให้ สํานักทดสอบทางการศึกษา เป็น ผู้พัฒนาเครื่องมือการวัดผล ตัวชี้วัดกล่าวโดยให้สถานศึกษาทําการทดสอบด้านการอ่านของนักเรียน ป.3และ 6 ในระหว่างวันที่ 9 – 20 กันยายน 2556 ซึ่ง สพป. สพม. จะด้องดําเนินการตามที่ สํานักทดสอบทาง การศึกษา กําหนด แล้วรายงานให้สพฐ.ทราบ ตามวันเวลาดังกล่าว สําหรับตัวชี้วัดอื่น ให้รายงานให้เสร็จสิ้น ภายใน วันที่ 31 ตุลาคม 2556 และ 31 มีนาคม 2557 ตามหนังสือสั่งการ จากสพฐ. เพื่อให้การดําเนินงานพัฒนาสมรรถนะบูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นไปตามตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประจํา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และบังเกิดผลดีแก่ทางราชการ จึงอาศัยอํานาจตามคําสั่ง สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 06/2546 สั่ง ณ วันที่ 7 กรกฎาคม 2546 เรื่องการมอบ อํานาจการบังคับบัญชา ข้าราชการครูและลูกจ้าง เห็นสมควรแต่งตั้งคณะครูให้ดําเนินงานตามขอบข่าย ภารกิจงาน ประจําภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 ดังต่อไปนี้ 1. คณะกรรมการอํานวยการ มีหน้าที่ให้คําปรึกษา อํานวยความสะดวก กํากับ นิเทศติดตาม
  • 2. 2 เสนอแนะ ช่วยเหลือ การพัฒนาทักษะชีวิตบูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยคณะกรรมการบริหารงานโรงเรียน ดังรายชื่อ ต่อไปนี้ 1.1 นายภิญโญ จินตนปัญญา ประธานกรรมการ 1.2 นายดํารงค์ วรรณแรก รองประธานกรรมการ 1.3 นางสาวกมลรัตน์ ก่ําเซ่ง กรรมการ 1.4 นายปรีชา เขียวจู กรรมการ 1.5 นายวรัตน์ หูเขียว กรรมการ 1.6 นายสาคร ขันชู กรรมการ 1.7 นางยศวดี สันตรัตติ กรรมการ 1.8 นางพรพนา สมัยรัฐ กรรมการและเลขานุการ 1.9 นางรวิวรรณ ยอดสร้อย กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ 2. คณะกรรมการบริหารการดําเนินงานบูรณาการการเรียนการสอน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามตัวชี้วัดดังตารางต่อไปนี้ ตัวชี้วัด/มิติที่ รายการตัวชี้วัด มิติที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1 โรงเรียนจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจรทั้ง 5 ขั้นตอน ตัวชี้วัดที่ 2 โรงเรียนมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการบริหารจัดการ เพื่อพัฒนา ความเป็นอาเซียน ตัวชี้วัดที่ 3 โรงเรียนจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน ตัวชี้วัดที่ 4 โรงเรียนจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน ตัวชี้วัดที่ 5 โรงเรียนจัดกิจกรรมวันอาเซียน หรือ สัปดาห์อาเซียน ตัวชี้วัดที่ 6 โรงเรียนพัฒนาสื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน ตัวชี้วัดที่ 7 โรงเรียนมีเครือข่ายประเทศสมาชิกประเทศอาเซียน มิติที่ 2 ระดับชั้น ม.1 รายการตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
  • 3. 3 - ทักษะการเขียนสื่อสาร - ทักษะการพูด ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.1 ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ระดับชั้น ม.2 รายการตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย - ทักษะการเขียนสื่อสาร - ทักษะการพูด ระดับชั้น ม.3 รายการตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.2 ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย - ทักษะการเขียนสื่อสาร - ทักษะการพูด ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีคุณลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ระดับชั้น ม.4 รายการตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ทีมีทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศด้านการพูด ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศด้านการฟัง ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ทีมีทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศด้านการอ่าน ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่าง ประเทศด้านการเขียน ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย
  • 4. 4 - ทักษะการเขียนสื่อสาร - ทักษะการพูด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีคุณลักษณะ มุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ระดับชั้น ม.5 รายการตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการฟัง ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศด้านการพูด ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการอ่าน ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการเขียน ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีคุณลักษณะ มุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน - ทักษะการเขียนสื่อสาร ระดับชั้น ม.6 รายการตัวชี้วัด - ทักษะการพูด ตัวชี้วัดที่ 1 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา ตัวชี้วัดที่ 2 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการฟัง ตัวชี้วัดที่ 5 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการพูด ตัวชี้วัดที่ 6 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการอ่าน ตัวชี้วัดที่ 7 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ทีมีทักษะการใช้ภาษา ต่างประเทศด้านการเขียน ตัวชี้วัดที่ 8 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง ตัวชี้วัดที่ 9 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะชีวิต ตัวชี้วัดที่ 10 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย - ทักษะการเขียนสื่อสาร - ทักษะการพูด ตัวชี้วัดที่ 11 ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีคุณลักษณะ มุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน
  • 5. 5 มีหน้าที่ ดังต่อไปนี้ (1) ศึกษาคู่มือการรายงานผลการดําเนินงานตามจุดเน้นการพัฒนาผู้เรียน ตามนโยบาย ในการ ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ผ่านระบบออนไลน์ ปีการศึกษา 2556 (2) วิเคราะห์ตัวชี้วัดแต่ละระดับชั้น มอบหมายให้ครูกลุ่มสาระเป็นผู้รับผิดชอบในการดําเนินการ (3) กลุ่มสาระที่รับผิดชอบศึกษาคําชี้แจงเครื่องมือวัด และประเมินความสามารถและทักษะตาม จุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน พร้อมทั้งศึกษาเครื่องมือวัด และประเมินความสามารถและทักษะดัวกล่าว (4) จัดทําอัดสําเนา เครื่องมือวัดและประเมินผล ฯ ตามจํานวนนักเรียนที่จะประเมิน (5) ดําเนินการสอบวัดและประเมินผลผู้เรียนความสามารถและทักษะที่รับผิดชอบปลายภาค เรียน ตามตารางที่โรงเรียนจัดให้ โดยควบคุม กํากับ ดําเนินการสอบอย่างเคร่งครัดเพื่อให้การดําเนินการสอบ และผลของการประเมินมีประสิทธิภาพสูงสุด (6) ให้กลุ่มสาระที่รับผิดชอบตรวจให้คะแนนและแปลผล ตามคําชี้แจงของเครื่องมือที่รับผิดชอบ (7) รายงานผลการประเมินตามใบรายชื่อ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel ส่งงานวัดผล ตาม แบบฟอร์มในคําชี้แจงความสามารถและทักษะที่กลุ่มสาระการเรียนรู้รับผิดชอบ พร้อมทั้งพิมพ์ระบุข้อมูล สนับสนุนเหตุผลประกอบผลการประเมิน ทั้งนี้ให้ส่งไฟล์แนบมาด้วยเพื่องานวัดผลจะได้โหลดไฟล์ส่ง สพฐ. ต่อไป (8) งานวัดผลหลอมรวมคะแนนแต่ละระดับชั้นกรอกคะแนนผ่านเว็บฐานข้อมูลจุดเน้น สถานศึกษา สพฐ. ชื่อเว็บไซต์ http://school.stabdb.com/index.php (9) โรงเรียนนําผลการประเมินโดยวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย นําผลไปใช้พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ต่อไป ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 โดยส่งมอบข้อมูลนักเรียนให้กับครูผู้สอนในชั้นที่รับผิดชอบ 2. คณะกรรมการดําเนินการ ประกอบด้วยกลุ่มสาระที่รับผิดชอบดังต่อไปนี้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รายการตัวชี้วัด กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ มิติที่ 1 สังคมศึกษา โรงเรียนจัดการเรียนรู้บูรณาการแบบครบวงจรทั้ง 5 ขั้นตอน 1. นายปราโมทย์ แกล้วกล้า โรงเรียนมีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ และการบริหาร จัดการ เพื่อพัฒนาความเป็นอาเซียน 2. นางสาวอรอุมา คงแก้ว โรงเรียนจัดทําหลักสูตรสถานศึกษาที่เน้นอาเซียน 3. นายวุฒิชัย บุญญานุวัตร โรงเรียนจัดกิจกรรมเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน 4. นางวราวรรณ พรหมราช โรงเรียนจัดกิจกรรมวันอาเซียน หรือ สัปดาห์อาเซียน
  • 6. 6 โรงเรียนพัฒนาสื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โรงเรียนมีเครือข่ายประเทศสมาชิกประเทศอาเซียน มิติที่ 2 รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.1 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมห้องสมุด - เขียนตอบ 4 ข้อ วิเคราะห์สถานการณ์ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ(คอมพิวเตอร์) - ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์นําเสนองาน 2 ชั่วโมง 1. นางเพียงตะวัน บรรณกิจ 2. นางสาวดวงเนตร แก่นคล้าย ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง- 1 ชั่วโมง คณิตศาสตร์ - เลือกตอบ 8 ข้อ - เขียนตอบ 6 ข้อ 1. นางรวิวรรณ ยอดสร้อย 2. นางสาวมณฑา เหมลิณี ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 1 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา พลศึกษา ปรนัย 30 ข้อ 30 นาที 1. นางกรรณิการ์ นกเส้ง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.1ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย - ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวเบญจวรรณ์ เลิศทองคํา - ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.1 ที่มีคุณลักษณะตามช่วงวัย ศิลปะ - เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นางยศวดี สันตรัติ รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.2 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมห้องสมุด - เขียนตอบ 4 ข้อ วิเคราะห์สถานการณ์ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์) - ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์นําเสนองาน 2 ชั่วโมง 1. นางเพียงตะวัน บรรณกิจ 2. นางสาวดวงเนตร แก่นคล้าย รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.2 (ต่อ) กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง วิทยาศาสตร์ - เลือกตอบ 10 ข้อ 1 ชั่วโมง - เขียนตอบ 7 ข้อ 1. นางสาวเกษร ยกทิว 2. นางสาวสุจิตรา ศักดิ์ประชาวุฒิ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 2 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา
  • 7. 7 - ปรนัย 30 ข้อ 30 นาที 1. นายสมนึก ผอมเซ่ง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.2ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย - ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวสุดา สะดี - ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.2 ที่มีคุณลักษณะตามช่วงวัย ศิลปะ - เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นายจีรานุวัฒน์ ชูยัง รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.3 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กิจกรรมห้องสมุด - เขียนตอบ 3 ข้อ วิเคราะห์สถานการณ์ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์) - ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์นําเสนองาน 2 ชั่วโมง 1. นางเพียงตะวัน บรรณกิจ 2. นางสาวดวงเนตร แก่นคล้าย ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง คณิตศาสตร์-วิทยาศาสตร์ - เลือกตอบ 4 ข้อ - เขียนตอบ 8 ข้อ 1. นางพรพนา สมัยรัฐ 2. นางสาววาสนา กําเนิด ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 3 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา - ปรนัย 30 ข้อ 30 นาที นายเอกพล คงไพฑูรย์ ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.3ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย - ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางพรรณนิภา แจ่มศรีจันทร์ - ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม.2 ที่มีคุณลักษณะตามช่วงวัย ศิลปะ - เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นางยศวดี สันตรัตติ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.4 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา กิจกรรมห้องสมุด - เขียนตอบ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์) - ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทําสารสนเทศ 2 ชั่วโมง 1. นายจีรวัสส์ ชูแก้ว - -
  • 8. 8 รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.4 (ต่อ) กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.4ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาต่างประเทศ - ด้านการพูด 1 ชั่วโมง 30 นาที 1. นางสาวอาริสา ศรีชาย - การฟัง 1 ชั่วโมง 30 นาที 2. นางรัชนี ละอองนวล - ด้านการอ่าน 1 ชั่วโมง - ด้านการเขียน 1 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง วิทยาศาสตร์ - เลือกตอบ 5 ข้อ - เขียนตอบ 8 ข้อ 1. นางอธิชา หมีนโยธา 2. นายสาคร ขันชู ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 4 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา - เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นางกรรณิการ์ นกเส้ง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.4 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย - ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวสุดา สะดี - ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.4 ที่มีคุณลักษณะมุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ศิลปะ - เลือกตอบ 30 ข้อ 30 นาที 1. นายจักรวัชร จันทจิตจิงใจ รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.5 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา กิจกรรมห้องสมุด - เขียนตอบ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์) - ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทําสารสนเทศ 2 ชั่วโมง 1. นายจีรวัสส์ ชูแก้ว ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.5ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาต่างประเทศ - ด้านการพูด 1 ชั่วโมง 30 นาที 1. นางสาวหนึ่งฤทัย สํานักโหนด - การฟัง 1 ชั่วโมง 30 นาที - ด้านการอ่าน 1 ชั่วโมง - ด้านการเขียน 1 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง คณิตศาสตร์ - เลือกตอบ 5 ข้อ - เขียนตอบ 8 ข้อ 1. นายวรัตน์ หูเขียว 2. นางสาวกาญจนา คงเลิศ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 5 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา - เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นายเอกพล คงไพฑูรย์ ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.5 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย
  • 9. 9 - ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางสาวเบญจวรรณ์ เลิศทองคํา - ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.5 ที่มีคุณลักษณะมุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ศิลปะ - เลือกตอบ 30 ข้อ 30 นาที 1. นายจีราวัฒน์ ชูยัง รายการตัวชี้วัด ระดับชั้น ม.6 กลุ่มสาระ/ครูที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา กิจกรรมห้องสมุด - เขียนตอบ 30 นาที 1. นายวีระศักดิ์ เส็นหละ ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ การงานอาชีพ (คอมพิวเตอร์) - ปฏิบัติการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทําสารสนเทศ 2 ชั่วโมง 1. นายจีรวัสส์ ชูแก้ว ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.6ที่มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ภาษาต่างประเทศ - ด้านการพูด 1 ชั่วโมง 30 นาที 1. นางสาวภัทรศยา ธรรมพากรณ์ - การฟัง 1 ชั่วโมง 30 นาที 2. นางรัชนี ละอองนวล - ด้านการอ่าน 1 ชั่วโมง - ด้านการเขียน 1 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะการคิดขั้นสูง 1 ชั่วโมง วิทยาศาสตร์ - เลือกตอบ 5 ข้อ - เขียนตอบ 8 ข้อ 1. นางสาวอุไรวรรณ แสงศรีจันทร์ 2. นางสาววันวิสาข์ ทองแดง ร้อยละของผู้เรียนชั้น ม. 6 ที่มีทักษะชีวิต สุขศึกษา และพลศึกษา - เลือกตอบ 30 ข้อ 1. นายสมนึก ผอมเซ่ง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.6 ที่มีทักษะการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ตามช่วงวัย ภาษาไทย - ทักษะการเขียนสื่อสาร 30 นาที 1. นางพรรณนิภา แจ่มศรีจันทร์ - ทักษะการพูด 2 ชั่วโมง ร้อยละของผู้เรียนชั้นม.6 ที่มีคุณลักษณะมุ่งมั่นในการศึกษาและทํางาน ศิลปะ - เลือกตอบ 30 ข้อ 30 นาที 1. นายจักรวัชร จันทรจิตจิงใจ ขอให้บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งตามคําสั่งนี้ ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความรับผิดชอบอย่างเต็ม ความสามารถเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่นักเรียน โรงเรียนและส่วนราชการต่อไป สั่ง ณ วันที่ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2556