SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  65
Télécharger pour lire hors ligne
หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์
ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน
เป็นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความ
เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ
มีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และ
มีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย
2
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทาง
วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี
เ ต็มตามศักยภาพ สามารถนําความรู้ ความคิด ความสามารถและ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ที่จําเป็นไปใช้ในการศึกษาศึกเรื่องต่างๆ นําไปใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบ
อาชีพ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและดํารงชีวิตอยู่ร่วมกับ
สังคมได้อย่างมีความสุข มีบรรยากาศ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโยลีที่เหมาะสมและเอื้อต่อ
การเรียนรู้ โดยมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม
พันธกิจของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญวัดผลและเมินผลตามสภาพจริง ตาม
แนวทางการจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยใช้
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและปลูกฝังคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความมีวินัย
ความซื่อสัตย์ ความรับ ผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวมอย่างเหมาะสมสอดคล้อง
ตามความต้องการและศักยภาพของผู้เรียน
3. จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
เป้าประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้
กับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา
ความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรม
ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กําหนดสาระสําคัญไว้ดังนี้
3
1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง
และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ
2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ
ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของ
สิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
3. สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ
เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
4. แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ
ออกแรงกระทําต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจําวัน
5. พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์
ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง
ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
7. ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และ
ผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสําคัญของเทคโนโลยี
อวกาศ
8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์
4
คุณภาพของผู้เรียน
เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สําคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทํางาน
ของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สิ่งแวดล้อม
2. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน
รูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการ
อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง
4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน
ไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
5. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความสําคัญ
ของเทคโนโลยีอวกาศ
6. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา
เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
7. ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผน
และลงมือสํารวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้
8. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
9. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
10. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้
โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวันและการ
ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
ท้องถิ่น
13. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่น
5
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ
ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ
สิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทํางาน
7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
6
สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่าง
ถูกต้องและมีคุณธรรม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.๓ ๑. อธิบายความเร่งและผลของแรง
ลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ
- วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนแปลง
เป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เมื่อแรงลัพธ์
มีค่าไม่เท่ากับศูนย์กระทําต่อวัตถุวัตถุจะ
เคลื่อนที่ด้วยความเร่งซึ่งมีทิศทางเดียวกับ
แรงลัพธ์
๒. ทดลองและอธิบายแรงกิริยา
และแรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุ
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
- ทุกแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาโต้ตอบด้วย
ขนาดของแรงเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม
- การนําความรู้เรื่องแรงกิริยาและแรง
ปฏิกิริยาไปใช้อธิบาย เช่น การชักเย่อ การ
จุดบั้งไฟ
๓. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของ
ของเหลวที่กระทําต่อวัตถุ
- แรงพยุง คือ แรงที่ของเหลวกระทําต่อวัตถุมี
ค่าเท่ากับน้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตร
เท่ากับส่วนที่จมของวัตถุ
- ของเหลวที่มีความหนาแน่นมากจะมีแรงพยุงมาก
- วัตถุที่ลอยได้ในของเหลวจะมีความหนาแน่น
น้อยกว่าความหนาแน่นของของเหลว
7
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สืบ
เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑ ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่าง
แรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน์
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
- แรงเสียดทานสถิตเป็นแรงเสียดทานที่กระทํา
ต่อวัตถุขณะหยุดนิ่ง ส่วนแรงเสียดทานจลน์
เป็นแรงเสียดทานที่กระทําต่อวัตถุขณะเคลื่อนที่
- การเพิ่มแรงเสียดทาน เช่น การออกแบบพื้น
รองเท้าเพื่อกันลื่น
- การลดแรงเสียดทาน เช่น การใช้น้ํามันหล่อลื่นที่
จุดหมุน
๒ ทดลองและวิเคราะห์โมเมนต์ของแรง
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
- เมื่อมีแรงที่กระทําต่อวัตถุ แล้วทําให้เกิด
โมเมนต์ของแรงรอบจุดหมุน วัตถุจะเปลี่ยน
สภาพการหมุน
- การวิเคราะห์โมเมนต์ของแรงในสถานการณ์ต่าง
ๆ
๓ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่
เป็นแนวตรง และแนวโค้ง
- การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่ในแนวตรง เช่น
การตกแบบเสรี และการเคลื่อนที่ในแนวโค้ง เช่น
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ของลูกบาสเกตบอล
ในอากาศ การเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุที่ผูก
เชือกแล้วแกว่ง เป็นต้น
8
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มี
กระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ ไปใช้ประโยชน์
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้ม
ถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และ
ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้
รวมทั้งนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
- การให้งานแก่วัตถุเป็นการถ่ายโอนพลังงานให้
วัตถุ พลังงานนี้เป็นพลังงานกลซึ่งประกอบด้วย
พลังงานศักย์และพลังงานจลน์ พลังงานจลน์
เป็นพลังงานของวัตถุขณะวัตถุเคลื่อนที่ ส่วน
พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุเป็นพลังงานของ
วัตถุที่อยู่สูงจากพื้นโลก
- กฎการอนุรักษ์พลังงานกล่าวว่า พลังงานรวม
ของวัตถุไม่สูญหาย แต่สามารถเปลี่ยนจากรูป
หนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้
- การนํากฎการอนุรักษ์พลังงานไปใช้ประโยชน์ในการ
อธิบายปรากฏการณ์ เช่น พลังงานน้ําเหนือเขื่อน
เปลี่ยนรูปจากพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นพลังงานจลน์,
ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม
๒ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ
ต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนํา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
- ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและความต้านทานมี
ความสัมพันธ์กันตามกฎของโอห์ม
- การนํากฎของโอห์มไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
๓ คํานวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า
และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์
- การคํานวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็น
ส่วนหนึ่งของการคิดค่าไฟฟ้าและเป็นแนวทางในการ
ประหยัดพลังงานไฟฟ้าในบ้าน
๔ สังเกตและอภิปรายการต่อวงจรไฟฟ้าใน
บ้านอย่างถูกต้องปลอดภัย และประหยัด
- การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้านต้องออกแบบวงจร ติดตั้ง
เครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกต้องโดยการต่อ
สวิตช์แบบอนุกรม ต่อเต้ารับแบบขนานและเพื่อความ
ปลอดภัยต้องต่อสายดินและฟิวส์ รวมทั้งต้องคํานึงถึง
การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด
9
ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
๕ อธิบายตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์
และทดลองต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มีทรานซิสเตอร์
- ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ มีสมบัติทางไฟฟ้าแตกต่างกัน ตัว
ต้านทานทําหน้าที่จํากัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ไดโอดมี
สมบัติให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทางเดียวและ
ทรานซิสเตอร์ทําหน้าที่เป็นสวิตซ์ปิด-เปิดวงจร
- การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์ ๑ตัวทําหน้าที่เป็นสวิตซ์
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ
ตัวชี้วัด
๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ
๖. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ
๗. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนําความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้
ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน
ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
10
คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ว 23101 วิทยาศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์ สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ
สืบค้น วิเคราะห์ อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความเร่ง ผลของแรงลัพธ์ แรงกิริยาและ
แรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุและการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ แรงพยุงของของเหลวที่กระทํากับ
วัตถุ แรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน์ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ โมเมนต์ของแรง
และการนําหลักการของโมเมนต์ไปใช้ประโยชน์ งานและกําลัง พลังงานศักดิ์โน้มถ่วง พลังงาน
จลน์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน และการนําไปใช้ประโยชน์ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย
ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนําความรู้ไปใช้
ประโยชน์ วัสดุ อุปกรณ์สําหรับวงจรไฟฟ้าในบ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้ากับกําลังไฟฟ้า การใช้พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และคิดค่าไฟฟ้า
หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน สมบัติเบื้องต้นของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางชนิด วงจร
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ
การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่
เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน
ชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
รหัสตัวชี้วัด
ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3
ว 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ว 8.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9
รวม 20 ตัวชี้วัด
เอกสารหมายเลข 5/1
11
ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา วิทยาศาสตร์ 5 (ว 23101)
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 1-2
แผนที่ 1
เรียนรู้บทเรียน
วิทยาศาสตร์ 5 1. ทําความเข้าใจกับ
นักเรียนเรื่อง คะแนน
เวลาเรียน ระเบียบ
ปฏิบัติ และกติกาใน
การเรียน รายวิชา
วิทยาศาสตร์ กับการ
เรียนโดยใช้รูปแบบ
การจัดการเรียนรู้ด้วย
โครงการผ่านสังคม
เครือข่ายการเรียนรู้
ด้วย Edmodo
2. ทดสอบความรู้
พื้นฐาน เนื้อหา
เกี่ยวกับแรง และการ
เคลื่อนที่
ทําความเข้าใจการ
จัดการเรียนรู้ และ
ทดสอบความรู้
พื้นฐานก่อนเรียน
3 คาบ
(คาบที่ 1-3)
-
แบบ
ทดสอบ
ก่อนเรียน
20 ข้อ
สัปดาห์ที่ 2-3
แผนที่ 2
ความเร่ง
เนื่องจากการ
ตกของวัตถุ
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบาย
ความเร่งและผลของ
แรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ
วัตถุเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วที่
เปลี่ยนแปลงเป็นการ
เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
เมื่อแรงลัพธ์มีค่าไม่
เท่ากับศูนย์กระทํา
ต่อวัตถุวัตถุจะ
เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง
ซึ่งมีทิศทางเดียวกับ
แรงลัพธ์
2 คาบ
(คาบที่ 4-5)
2
(รวม=2)
แผนที่ 3
ความเร่ง
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบาย
ความเร่งและผลของ
แรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ
2 คาบ
(คาบที่ 6-7)
2
(รวม=4)
เอกสารหมายเลข 6
12
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 3-4
แผนที่ 4
แรงลัพธ์
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบาย
ความเร่งและผลของ
แรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ
(ต่อ)
3 คาบ
(คาบที่ 8-10)
3
(รวม=7)
สัปดาห์ที่ 4
แผนที่ 5
การเคลื่อนที่
ของวัตถุ
ในประเทศ
อาเซียน
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/3 สังเกตและ
อธิบายการเคลื่อนที่
ของวัตถุที่เป็นแนว
ตรง และแนวโค้ง
การเคลื่อนที่ของ
วัตถุมีทั้งการ
เคลื่อนที่ในแนวตรง
เช่น การตกแบบ
เสรี และการ
เคลื่อนที่ในแนวโค้ง
เช่น การเคลื่อนที่
แบบโพรเจกไทล์
ของลูก
บาสเกตบอลใน
อากาศ การ
เคลื่อนที่แบบ
วงกลมของวัตถุที่
ผูกเชือกแล้วแกว่ง
เป็นต้น
1 คาบ
(คาบที่ 11)
2
(รวม=9)
สัปดาห์ที่ 4-5
แผน 6
แรงกิริยา
และแรง
ปฏิกิริยา
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/2 ทดลองและ
อธิบายแรงกิริยาและ
แรงปฏิกิริยาระหว่าง
วัตถุ และนําความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
ทุกแรงกิริยาจะมีแรง
ปฏิกิริยาโต้ตอบด้วย
ขนาดของแรงเท่ากัน
แต่มีทิศทางตรงข้าม
การนําความรู้เรื่องแรง
กิริยาและแรง
ปฏิกิริยาไปใช้อธิบาย
เช่นการชักเย่อการ
จุดบั้งไฟ
3 คาบ
(คาบที่ 12-14)
2
(รวม=11)
13
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 5-6
แผนที่ 7
แรงพยุง
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/3 ทดลองและ
อธิบายแรงพยุงของ
ของเหลวที่กระทําต่อ
วัตถุ
แรงพยุง คือ แรงที่
ของเหลวกระทําต่อ
วัตถุมีค่าเท่ากับ
น้ําหนักของ
ของเหลวที่มี
ปริมาตรเท่ากับ
ส่วนที่จมของวัตถุ
ของเหลวที่มีความ
หนาแน่นมากจะมี
แรงพยุงมาก
วัตถุที่ลอยได้ใน
ของเหลวจะมีความ
หนาแน่นน้อยกว่า
ความหนาแน่นของ
ของเหลว
3 คาบ
(คาบที่ 15-17)
3
(รวม=14)
สัปดาห์ที่ 6-7
แผนที่ 8
แรงเสียดทาน
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/1 ทดลองและ
อธิบายความแตกต่าง
ระหว่างแรงเสียด
ทานสถิตกับแรงเสียด
ทานจลน์ และนํา
ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้
ประโยชน์
แรงเสียดทานสถิตเป็น
แรงเสียดทานที่กระทํา
ต่อวัตถุขณะหยุดนิ่ง
ส่วนแรงเสียดทานจลน์
เป็นแรงเสียดทานที่
กระทําต่อวัตถุขณะ
เคลื่อนที่การเพิ่มแรง
เสียดทานเช่นการ
ออกแบบพื้นรองเท้า
เพื่อกันลื่นการลดแรง
เสียดทานเช่นการใช้
น้ํามันหล่อลื่นที่จุด
หมุน
3 คาบ
(คาบที่ 18-20)
2
(รวม=16)
14
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 7-8
แผนที่ 9
โมเมนต์ของ
แรง
หน่วยที่ 1
แรงและการ
เคลื่อนที่
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/2 ทดลองและ
วิเคราะห์โมเมนต์
ของแรง และนํา
ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้
ประโยชน์
เมื่อมีแรงที่กระทํา
ต่อวัตถุ แล้วทําให้
เกิดโมเมนต์ของ
แรงรอบจุดหมุน
วัตถุจะเปลี่ยน
สภาพการหมุน
การวิเคราะห์
โมเมนต์ของแรงใน
สถานการณ์ต่าง ๆ
3 คาบ
(คาบที่ 21-23)
4
(รวม=20)
รวม 23 20
สอบกลางภาค 3 17
สัปดาห์ที่ 8
แผนที่ 1
เรียนรู้บทเรียน
หน่วยที่ 2
งานและ
พลังงาน
1.ทําความเข้าใจกับ
นักเรียนเรื่องคะแนน
เวลาเรียน
2.ทดสอบความรู้พื้นฐาน
เนื้อหาเกี่ยวกับงานและ
พลังงาน
ทําความเข้าใจการ
จัดการเรียนรู้ และ
ทดสอบความรู้
พื้นฐานก่อนเรียน
1 คาบ
(คาบที่ 24)
-
แบบ
ทดสอบ
ก่อนเรียน
20 ข้อ
สัปดาห์ที่ 9
แผนที่ 2
งาน
หน่วยที่ 2
งานและ
พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/1 อธิบายงาน
พ ลั ง ง า น จ ล น์
พลังงานศักย์โน้ม
ถ่วง กฎการอนุรักษ์
พ ลั ง ง า น แ ล ะ
ค ว า ม สั ม พั น ธ์
ระหว่างปริมาณ
เหล่านี้ รวมทั้งนํา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
การให้งานแก่วัตถุเป็น
การถ่ายโอนพลังงาน
ให้วัตถุ การออกแรง
กระทํากับวัตถุให้วัตถุ
เคลื่อนที่ได้ระยะทาง
ในแนวเดียวกับแรง
โดยมีทิศทางการ
เคลื่อนที่และทิศทาง
ของแรงอยู่ในแนว
เดียวกันถือว่ามีงาน
เกิดขึ้น(work;W)
2 คาบ
(คาบที่ 25-26)
2
(รวม=4)
แบบ
ทดสอบ 10
ข้อ
15
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 9
แผนที่ 3
กําลัง
หน่วยที่ 2
งานและ
พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/1 อธิบายงาน
พ ลั ง ง า น จ ล น์
พลังงานศักย์โน้ม
ถ่วง กฎการอนุรักษ์
พ ลั ง ง า น แ ล ะ
ค ว า ม สั ม พั น ธ์
ระหว่างปริมาณ
เหล่านี้ รวมทั้งนํา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
อัตราส่วนระหว่าง
งานที่ทําได้กับ
เวลาที่ใช้ในการ
ทํางาน เรียกว่า
กําลัง (power; P)
2 คาบ
(คาบที่ 27-28)
2
(รวม=7)
แบบ
ทดสอบ 10
ข้อ
สัปดาห์ที่ 10 สอบกลางภาค หน่วยที่ 1-2 3 (28-30) 20
สัปดาห์ที่ 11
แผนที่ 4
พลังงานกล
หน่วยที่ 2
งานและ
พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/1 อธิบายงาน
พ ลั ง ง า น จ ล น์
พลังงานศักย์โน้ม
ถ่วง กฎการอนุรักษ์
พ ลั ง ง า น แ ล ะ
ค ว า ม สั ม พั น ธ์
ระหว่างปริมาณ
เหล่านี้ รวมทั้งนํา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
พลังงานกลเป็น
พลังงานที่
ประกอบด้วย
พลังงานศักย์และ
พลังงานจลน์
พลังงานจลน์เป็น
พลังงานของวัตถุ
ขณะวัตถุเคลื่อนที่
ส่วนพลังงานศักย์
โน้มถ่วงของวัตถุ
เป็นพลังงานของ
วัตถุที่อยู่สูงจากพื้น
โลก
3 คาบ
(คาบที่ 31-33)
3
(รวม=10)
แบบ
ทดสอบ 10
ข้อ
16
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 12
แผน 5
กฎการอนุรักษ์
พลังงาน
หน่วยที่ 2
งานและ
พลังงาน
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/1 อธิบายงาน
พ ลั ง ง า น จ ล น์
พลังงานศักย์โน้ม
ถ่วง กฎการอนุรักษ์
พ ลั ง ง า น แ ล ะ
ค ว า ม สั ม พั น ธ์
ระหว่าง
ป ริ ม า ณ เ ห ล่ า นี้
รวมทั้งนําความรู้ไป
ใช้
ประโยชน์
กฎการอนุรักษ์
พลังงานกล่าวว่า
พลังงานรวมของวัตถุ
ไม่สูญหายแต่สามารถ
เปลี่ยนจากรูปหนึ่งไป
เป็นอีกรูปหนึ่งได้ การ
นํากฎการอนุรักษ์
พลังงานไปใช้
ประโยชน์ในการ
อธิบายปรากฏการณ์
เช่นพลังงานน้ําเหนือ
เขื่อนเปลี่ยนรูปจาก
พลังงานศักย์โน้มถ่วง
เป็นพลังงานจลน์,
ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม
2 คาบ
(คาบที่ 34-35)
3
(รวม=15)
แบบ
ทดสอบ 10
ข้อ
รวม 10 10
สอบกลางภาค 3 3
สอบปลายภาค 3 3
สัปดาห์ที่ 12
แผนที่ 1
เรียนรู้บทเรียน
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
1. ทําความเข้าใจกับ
นักเรียนเรื่อง คะแนน
เวลาเรียน
2. ทดสอบความรู้
พื้นฐาน เนื้อหา
เกี่ยวกับพลังงาน
ไฟฟ้า
ทําความเข้าใจการ
จัดการเรียนรู้ และ
ทดสอบความรู้
พื้นฐานก่อนเรียน
1 คาบ
(คาบที่ 36)
-
แบบ
ทดสอบ
ก่อนเรียน
50 ข้อ
17
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 13
แผนที่ 2
วงจรไฟไฟฟ้า
เบื้องต้น
(การต่อ
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เข้าในวงจร
ไฟฟ้า)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและ
อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความต่าง
ศักย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
หลอดไฟเป็น
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่รับ
พลังงานไฟฟ้าแล้ว
เปลี่ยนเป็นพลังงาน
แสงและพลังงาน
ความร้อน
ความต่างศักย์
กระแสไฟฟ้าและ
ความต้านทานมี
ความสัมพันธ์กัน
ตามกฎของโอห์ม
การนํากฎของ
โอห์มไปใช้
วิเคราะห์
วงจรไฟฟ้าอย่าง
ง่าย
1 คาบ
(คาบที่ 37)
2
(รวม=2)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
สัปดาห์ที่ 13
แผนที่ 3
วงจรไฟไฟฟ้า
เบื้องต้น
(พลังงาน
ไฟฟ้าในวงจร
ไฟฟ้า)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและ
อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความต่าง
ศักย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
โวลต์มิเตอร์เป็น
เครื่องมือที่ใช้บอก
ค่าความต่าง
ศักย์ไฟฟ้า
(potential
difference) มี
หน่วยเป็นโวลต์ (V)
ใช้ต่อคร่อมกับ
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ความต่างศักย์
กระแสไฟฟ้าและ
ความต้านทานมี
ความสัมพันธ์กัน
1 คาบ
(คาบที่ 38)
2
(รวม=4)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
18
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
ตามกฎของโอห์ม
การนํากฎของ
โอห์มไปใช้
วิเคราะห์
วงจรไฟฟ้าอย่าง
ง่าย
สัปดาห์ที่ 13
แผนที่ 4
วงจรไฟไฟฟ้า
เบื้องต้น
(การวัดกระแส
ไฟฟ้า)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและ
อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความต่าง
ศักย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
แอมมิเตอร์มิเตอร์
เป็นเครื่องมือที่ใช้
บอกค่า
กระแสไฟฟ้า
(electrical
current) มีหน่วย
เป็นแอมแปร์ (A)
ใช้ต่อตรงกับ
เครื่องใช้ไฟฟ้า
ความต่างศักย์
1 คาบ
(คาบที่ 39)
2
(รวม=6)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
กระแสไฟฟ้าและ
ความต้านทานมี
ความสัมพันธ์กัน
ตามกฎของโอห์ม
การนํากฎของ
โอห์มไปใช้
วิเคราะห์
วงจรไฟฟ้าอย่าง
ง่าย
19
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 14
แผนที่ 5
วงจรไฟไฟฟ้า
เบื้องต้น
(ความสัมพันธ์
ระหว่างความ
ต่างศักย์กับ
กระแส ไฟฟ้า)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและ
อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างความต่าง
ศักย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ค่าความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าจะแปร
ผันตรงกับค่า
กระแสไฟฟ้า โดยมี
ค่าความต้านทาน
คงที่
ความต่างศักย์
กระแสไฟฟ้าและ
ความต้านทานมี
ความสัมพันธ์กัน
ตามกฎของโอห์ม
การนํากฎของ
โอห์มไปใช้
วิเคราะห์
วงจรไฟฟ้าอย่าง
ง่าย
2 คาบ
(คาบที่ 40-41)
2
(รวม=8)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แบบ
ทดสอบ
12 ข้อ
สัปดาห์ที่ 14
แผนที่ 6
วงจรไฟไฟฟ้า
ในบ้าน
(การต่อ
เครื่องใช้
ไฟฟ้าในบ้าน)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณ
พลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ม.3/4 สังเกตและ
อภิปรายการต่อ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
อย่างถูกต้อง
ปลอดภัย และ
ประหยัด
การคํานวณ
พลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็น
ส่วนหนึ่งของการ
คิดค่าไฟฟ้าและ
เป็นแนวทางในการ
ประหยัดพลังงาน
ไฟฟ้าในบ้าน
1 คาบ
(คาบที่ 42)
2
(รวม=10)
20
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 15
แผนที่ 7
วงจรไฟไฟฟ้า
ในบ้าน
(ขนาด ความ
ยาว และชนิด
ของลวดตัวนํา
กับความ
ต้านทาน)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณ
พลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ม.3/4 สังเกตและ
อภิปรายการต่อ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
อย่างถูกต้อง
ปลอดภัย และ
ประหยัด
การคํานวณค่า
ความต้านทาน
สามารถคํานวณได้
จากสูตร
ปัจจัยที่มีผลต่อ
ความต้านทาน คือ
ความยาว ชนิดและ
พื้นที่หน้าตัดของ
เส้นลวด
2 คาบ
(คาบที่ 43-44)
2
(รวม=12)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
สัปดาห์ที่15-16
แผนที่ 8
วงจรไฟไฟฟ้า
ในบ้าน
(ประโยชน์ของ
ฉนวนหุ้ม
สายไฟ)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณ
พลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ม.3/4 สังเกตและ
อภิปรายการต่อ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
อย่างถูกต้อง
ปลอดภัย และ
ประหยัด
ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า
ช่วยป้องกันไม่ให้
ไฟฟ้าลัดวงจร
1 คาบ
(คาบที่ 45-46)
2
(รวม=14)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
แบบ
ทดสอบ
12 ข้อ
21
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 16
แผนที่ 9
พลังงานไฟ
ไฟฟ้า
และ
กําลังไฟฟ้า
(คิดค่าไฟฟ้า
จากใบเสร็จค่า
ไฟ)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณ
พลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้า และ
นําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ม.3/4 สังเกตและ
อภิปรายการต่อ
วงจรไฟฟ้าในบ้าน
อย่างถูกต้อง
ปลอดภัย และ
ประหยัด
การคํานวณ
พลังงานไฟฟ้าของ
เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็น
ส่วนหนึ่งของการ
คิดค่าไฟฟ้าและ
เป็นแนวทางในการ
ประหยัดพลังงาน
ไฟฟ้าในบ้าน
2 คาบ
(คาบที่ 47-48)
2
(รวม=16)
ชิ้นงาน
และทํา
แบบทดสอบ
5 ข้อ
สัปดาห์ที่ 17
แผนที่ 10
วงจรอิเล็ก
ทรอนิกส์
เบื้องต้น
(หน้าที่ของตัว
ต้านทาน)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัว
ต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ และ
ทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
ชิ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ตัวต้านทาน ทํา
ห น้ า ที่ จํ า กั ด
กระแสไฟฟ้าใน
วงจร
1 คาบ
(คาบที่ 49)
2
(รวม=18)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
สัปดาห์ที่ 17
แผนที่ 11
วงจรอิเล็ก
ทรอนิกส์
เบื้องต้น
(ตัวต้านทาน
แปรค่าได้)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัว
ต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ และ
ทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
ชิ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ตัวต้านทานแปรค่า
ได้ ทําหน้าที่จํากัด
กระแสไฟฟ้าใน
วงจรตามการหมุน
ของผู้ใช้
1 คาบ
(คาบที่ 50)
2
(รวม=20)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
22
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 17-18
แผนที่ 12
วงจรอิเล็ก
ทรอนิกส์
เบื้องต้น
(การนําตัวเก็บ
ประจุมาใช้
งาน)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัว
ต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ และ
ทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
ชิ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ตัวเก็บประจุ ทํา
หน้าที่เก็บประจุ
ไฟฟ้า
2 คาบ
(คาบที่ 51-52)
2
(รวม=22)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
สัปดาห์ที่ 18
แผนที่ 13
วงจรอิเล็ก
ทรอนิกส์
เบื้องต้น
(สนุกกับ
ไดโอด)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัว
ต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ และ
ทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
ชิ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ไดโอดมีสมบัติให้
กระแสไฟฟ้าผ่านได้
ทิศทางเดียว
2 คาบ
(คาบที่ 53-54)
2
(รวม=24)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
สัปดาห์ที่ 19
แผนที่ 14
วงจรอิเล็ก
ทรอนิกส์
เบื้องต้น
(ทรานซิส
เตอร์)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัว
ต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ และ
ทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
ชิ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น
ทรานซิสเตอร์ทํา
หน้าที่เป็นสวิตซ์ปิด-
เปิดวงจร
การประกอบวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์ 1ตัว
ทําหน้าที่เป็นสวิตซ์
2 คาบ
(คาบที่ 55-56)
2
(รวม=26)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
23
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 19
แผนที่ 15
วงจรอิเล็ก
ทรอนิกส์
เบื้องต้น
(สนุกกับ
อิเล็กทรอนิกส์)
หน่วยที่ 3
พลังงานไฟฟ้า
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัว
ต้านทาน ไดโอด
ทรานซิสเตอร์ และ
ทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์
เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
ชิ้ น ส่ ว น
อิเล็กทรอนิกส์ ทํา
ห น้ า ที่ ต่ า ง กั น
สามารถนําไปใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้
1 คาบ
(คาบที่ 57)
2
(รวม=28)
รายงาน
และการ
นําเสนอ
ทํา
แบบทดสอบ
ชิ้นงาน ส่งนอก กลุ่มละ 1 ชิ้น นอกเวลา 2
รวม 20 30
สอบปลายภาค 3 17
อัตราส่วนคะแนน
คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20
K : P : A = 60 : 20 : 20
รวม = 100 คะแนน
คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 24 คะแนน
สอบกลางภาค = 20 คะแนน
คะแนนเก็บหลังสอบกลางภาค = 36 คะแนน
สอบปลายภาค = 20 คะแนน
รวม = 100 คะแนน
24
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน)
หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
ลําดับ
ที่
ตัวชี้วัด /
ผลการเรียนรู้
ลําดับชั่วโมงที่สอน
จํานวนชั่วโมงที่สอน
น้ําหนักผลการเรียนรู้
คะแนนผลการเรียนรู้
คะแนนเก็บ
ด้านความรู้(K)
ด้านทักษะ(P)
คุณลักษณะ(A)
กลางภาค
ปลายภาค
1
แผน
1-4
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเร่งและ
ผลของแรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ
1-10 10 7 100 60 20 20 4 -
2
แผน
5
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/3 สังเกตและอธิบาย
การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็น
แนวตรง และแนวโค้ง
11 1 2 100 60 20 20 1 -
3
แผน
6
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
ระหว่างวัตถุ และนําความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
12-
14
3 2 100 60 20 20 2 -
4
แผน
7
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/3 ทดลองและอธิบาย
แรงพยุงของของเหลวที่
กระทําต่อวัตถุ
15-
17
3 3 100 60 20 20 3 -
5
แผน
8
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/1 ทดลองและอธิบาย
ความแตกต่างระหว่างแรง
เสียดทานสถิตกับแรงเสียด
ทานจลน์ และนําความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
18-
20
3 2 100 60 20 20 4 -
6
แผน
9
มาตรฐาน ว 4.2
ม.3/2 ทดลองและ
วิเคราะห์โมเมนต์ของแรง
แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้
ประโยชน์
21-
23
3 4 100 60 20 20 3 -
เอกสารหมายเลข 7
25
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน)
หน่วยที่ 2 งานและพลังงาน และหน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
ลําดับ
ที่
ตัวชี้วัด /
ผลการเรียนรู้
ลําดับชั่วโมงที่สอน
จํานวนชั่วโมงที่สอน
น้ําหนักผลการเรียนรู้
คะแนนผลการเรียนรู้
คะแนนเก็บ
ด้านความรู้(K)
ด้านทักษะ(P)
คุณลักษณะ(A)
กลางภาค
ปลายภาค
หน่วยที่ 2 งานและ
พลังงาน
3 3
7
แผน
1-5
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/1 อธิบายงาน
พลังงานจลน์ พลังงานศักย์
โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์
พ ลั ง ง า น แ ล ะ
ความสัมพันธ์ระหว่าง
ปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนํา
ความรู้ไปใช้
ประโยชน์
24-
35
10 10 100 60 20 20 3 3
หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า - 17
8
แผน
1-5
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/2 ทดลองและอธิบาย
ความสัมพันธ์ระหว่างความ
ต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า
ความต้านทาน และนํา
ความรู้ไปใช้ประโยชน์
36-
42
7 10 100 60 20 20 - 5
9
แผน
6-9
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/3 คํานวณพลังงาน
ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า
และนําความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ม.3/4 สังเกตและอภิปราย
การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน
อย่างถูกต้องปลอดภัย และ
ประหยัด
43-
48
6 6 100 60 20 20 - 5
26
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน)
หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า (ต่อ)
ลําดับ
ที่
ตัวชี้วัด /
ผลการเรียนรู้
ลําดับชั่วโมงที่สอน
จํานวนชั่วโมงที่สอน
น้ําหนักผลการเรียนรู้
คะแนนผลการเรียนรู้
คะแนนเก็บ
ด้านความรู้(K)
ด้านทักษะ(P)
คุณลักษณะ(A)
กลางภาค
ปลายภาค
10
แผน
10-15
มาตรฐาน ว 5.1
ม.3/5 อธิบายตัวต้านทาน
ไดโอด ทรานซิสเตอร์
และทดลองต่อวงจร
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มี
ทรานซิสเตอร์
49-
57
9 14 100 60 20 20 - 7
รวม 57 60 60 100 60 20 20 20 20
หมายเหตุ
1. กําหนดน้ําหนักผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้คะแนน 1-5
2. คิดคะแนนผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง = น้ําหนักผลการเรียนรู้ X คะแนนเก็บทั้งหมด
ผลรวมคะแนนน้ําหนักผลการเรียนรู้ทั้งหมด
3. คะแนนเก็บทั้งหมด = K + P + คะแนนกลางภาค + คะแนนปลายภาค
ตัวอย่าง คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 1 = 5 x 90 = 6.9 => 7
65
คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 2 = 2 x 90 = 2.76 => 3
65
27
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว 23101)
(เพื่อกําหนดทักษะกระบวนการ)
โครงการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว 23101) หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
ส.ที่ 1
แผนที่ 1
เรียนรู้บทเรียน
ทําความเข้าใจ
การจัดการเรียนรู้
และทดสอบความรู้
พื้นฐานก่อนเรียน
1. ทําความเข้าใจกับ
นักเรียนเรื่อง คะแนน
เวลาเรียน ระเบียบ
ปฏิบัติ และกติกาในการ
เรียน รายวิชา
วิทยาศาสตร์ กับการ
เรียนโดยใช้รูปแบบการ
จัดการเรียนรู้ด้วย
โครงการผ่านสังคม
เครือข่ายการเรียนรู้
2. ทดสอบความรู้
พื้นฐาน เนื้อหาเกี่ยวกับ
แรง และการเคลื่อนที่
วิเคราะห์ผู้เรียน
1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้
สื่อ Power Point
2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ
Power Point เรียนรู้
บทเรียนหน่วยที่ 1
3. วิธีสมัครสมาชิกผ่าน
เว็บไซต์
4. ทําแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยที่ 1 แรงและการ
เคลื่อนที่
5. วิเคราะห์ผู้เรียน
สัมภาษณ์ และทําแฟ้ม
สะสมงานเป็นการบ้าน
(สัมภาษณ์ต่อนอกเวลา)
6. จัดกลุ่มนักเรียนโดยใช้
ความรู้พื้นฐานก่อนเรียนจาก
ผลการสอบวัดความรู้
พื้นฐาน
4. สิ่งชิ้นงานนําเสนองาน
กลุ่มแนะนําตนเองผ่านเว็บ
และแฟ้มสะสมงาน
รายบุคคล
5. ศึกษาบทเรียนออนไลน์
ผ่านเว็บ การศึกษาการตก
ของวัตถุเป็นการบ้าน
3 คาบ
(คาบที่
1-3)
เอกสารหมายเลข 8
28
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
ส.ที่ 2
แผนที่ 2
ความเร่งเนื่องจาก
การตกของวัตถุ
วัตถุเคลื่อนที่
ด้วยความเร็ว
ที่เปลี่ยนแปลง
เป็นการเคลื่อนที่
ด้วยความเร่ง
เมื่อแรงลัพธ์มีค่า
ไม่เท่ากับศูนย์
กระทําต่อวัตถุวัตถุ
จะเคลื่อนที่
ด้วยความเร่งซึ่ง
มีทิศทางเดียวกับ
แรงลัพธ์
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเร่ง
และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา
ต่อวัตถุ
กระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้
1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้
สื่อ Power Point
2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ
Power Point เรียนรู้
บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1
ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา
กับวัตถุ
3. ติดตามและแจ้งการ
ประเมินผลการสิ่งชิ้นงาน
นําเสนองานกลุ่มแนะนํา
ตนเองผ่านเว็บและผลการ
ส่งแฟ้มสะสมงานรายบุคคล
4. สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติ
กิจกรรมการทดลอง
กิจกรรมที่ 1 การศึกษา
ความเร็วในการตกของวัตถุ
5. นําเสนอผลการทํา
กิจกรรมหน้าชั้นเรียน
6. ส่งชิ้นงานกลุ่มรายงาน
กิจกรรมพร้อมตกแต่ง
หมายเหตุ
กลุ่มไหนนําเสนอไม่ทัน
นําเสนอผ่านเว็บ
7. ศึกษาบทเรียนออนไลน์
ผ่านเว็บ เรื่อง ความเร็ว
อัตราเร็ว ความเร่ง เป็น
การบ้าน
2 คาบ
(คาบที่
4-5)
29
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
ส.ที่ 2-3
แผนที่ 3
ความเร่ง
วัตถุเคลื่อนที่
ด้วยความเร็ว
ที่เปลี่ยนแปลง
เป็นการเคลื่อนที่
ด้วยความเร่ง
เมื่อแรงลัพธ์มีค่า
ไม่เท่ากับศูนย์
กระทําต่อวัตถุ
วัตถุจะเคลื่อนที่
ด้วยความเร่งซึ่ง
มีทิศทางเดียวกับ
แรงลัพธ์
มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเร่ง
และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา
ต่อวัตถุ (ต่อ)
กระบวนคิด
1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้
สื่อ Power Point ต่อ
2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ
Power Point เรียนรู้
บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1
ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา
กับวัตถุ ต่อ
3. แจ้งการประเมินผลการ
นําเสนองานกลุ่ม
4. อธิบายการหาความเร่ง
เนื่องจากการตกของวัตถุ
5. ทําแบบฝึกทักษะ
กระบวนการคิดเป็นการบ้าน
ส่งครูก่อนเรียนคาบถัดไป
6. ศึกษาบทเรียนออนไลน์
ผ่านเว็บ เรื่อง แรงลัพธ์ เป็น
การบ้าน
2 คาบ
(คาบที่
6-7)
ส.ที่ 3-4
แผนที่ 4
แรงลัพธ์ มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเร่ง
และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา
ต่อวัตถุ (ต่อ)
หมายเหตุ
ศึกษาบทเรียนออนไลน์
ผ่านเว็บ เรื่อง แรงลัพธ์
เป็นการบ้าน
กระบวนคิด
1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้
สื่อ Power Point ต่อ
2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ
Power Point เรียนรู้
บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1
ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา
กับวัตถุ ต่อ
3. แจ้งการประเมินผลแบบ
ฝึกรายบุคคล
4. อธิบายการหาแรงลัพธ์
5. ทําแบบฝึกทักษะ
3 คาบ
(คาบที่
8-10)
30
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
ส.ที่ 3-4
แผนที่ 4
แรงลัพธ์ มาตรฐาน ว 4.1
ม.3/1 อธิบายความเร่ง
และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา
ต่อวัตถุ (ต่อ)
กระบวนการคิด
1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้
สื่อ Power Point ต่อ
2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ
Power Point เรียนรู้
บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1
ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา
กับวัตถุ ต่อ
3. แจ้งการประเมินผลแบบ
ฝึกรายบุคคล
4. อธิบายการหาแรงลัพธ์
5. ทําแบบฝึกทักษะ
กระบวนการคิดเป็นการบ้าน
ส่งครูก่อนเรียนคาบถัดไป
6. ศึกษาบทเรียนออนไลน์
ผ่านเว็บ เรื่อง การเคลื่อนที่
เป็นการบ้าน
7. เรียนรู้ผ่านเว็บ
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
สรุปองค์ความรู้หน่วยย่อยที่
1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา
กับวัตถุ
8. ทดสอบหลังเรียนหน่วย
ย่อยที่ 1
3 คาบ
(คาบที่
8-10)
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค

Contenu connexe

Tendances

แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือPatcharaporn Aun
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยWichai Likitponrak
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 

Tendances (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แผนผังวิเคราะห์การจัดการเรียนรู้ ว21101 วิทยาศาสตร์1 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
บทที่ 2++77
บทที่  2++77บทที่  2++77
บทที่ 2++77
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐรายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
รายงานอบรมครูต้นแบบ21stสพฐ
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 

Similaire à กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางkruthai40
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Nat Thida
 

Similaire à กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค (20)

บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลางแนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
แนวทางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6Curri bio 51m4-6
Curri bio 51m4-6
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
หลักสูตร Pck
หลักสูตร Pckหลักสูตร Pck
หลักสูตร Pck
 
Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6Curri bio 61m4-6
Curri bio 61m4-6
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

Plus de krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

Plus de krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค

  • 1. หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน เป็นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความ เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ มีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และ มีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย
  • 2. 2 4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทาง วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี เ ต็มตามศักยภาพ สามารถนําความรู้ ความคิด ความสามารถและ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ที่จําเป็นไปใช้ในการศึกษาศึกเรื่องต่างๆ นําไปใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบ อาชีพ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและดํารงชีวิตอยู่ร่วมกับ สังคมได้อย่างมีความสุข มีบรรยากาศ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโยลีที่เหมาะสมและเอื้อต่อ การเรียนรู้ โดยมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม พันธกิจของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญวัดผลและเมินผลตามสภาพจริง ตาม แนวทางการจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยใช้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและปลูกฝังคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความรับ ผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวมอย่างเหมาะสมสอดคล้อง ตามความต้องการและศักยภาพของผู้เรียน 3. จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เป้าประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้ กับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา ความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรม ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กําหนดสาระสําคัญไว้ดังนี้
  • 3. 3 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของ สิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ 3. สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร 4. แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ ออกแรงกระทําต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน ชีวิตประจําวัน 5. พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และ ผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสําคัญของเทคโนโลยี อวกาศ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์
  • 4. 4 คุณภาพของผู้เรียน เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สําคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทํางาน ของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน สิ่งแวดล้อม 2. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน รูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการ อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง 4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน ไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 5. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความสําคัญ ของเทคโนโลยีอวกาศ 6. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม 7. ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผน และลงมือสํารวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้ 8. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ 10. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้ 11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวันและการ ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น 12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่น 13. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น
  • 5. 5 สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทํางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 6. 6 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่ มาตรฐาน ว ๔. ๑ เข้าใจธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง และแรงนิวเคลียร์ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์อย่าง ถูกต้องและมีคุณธรรม ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม.๓ ๑. อธิบายความเร่งและผลของแรง ลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ - วัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วที่เปลี่ยนแปลง เป็นการเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เมื่อแรงลัพธ์ มีค่าไม่เท่ากับศูนย์กระทําต่อวัตถุวัตถุจะ เคลื่อนที่ด้วยความเร่งซึ่งมีทิศทางเดียวกับ แรงลัพธ์ ๒. ทดลองและอธิบายแรงกิริยา และแรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ - ทุกแรงกิริยาจะมีแรงปฏิกิริยาโต้ตอบด้วย ขนาดของแรงเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม - การนําความรู้เรื่องแรงกิริยาและแรง ปฏิกิริยาไปใช้อธิบาย เช่น การชักเย่อ การ จุดบั้งไฟ ๓. ทดลองและอธิบายแรงพยุงของ ของเหลวที่กระทําต่อวัตถุ - แรงพยุง คือ แรงที่ของเหลวกระทําต่อวัตถุมี ค่าเท่ากับน้ําหนักของของเหลวที่มีปริมาตร เท่ากับส่วนที่จมของวัตถุ - ของเหลวที่มีความหนาแน่นมากจะมีแรงพยุงมาก - วัตถุที่ลอยได้ในของเหลวจะมีความหนาแน่น น้อยกว่าความหนาแน่นของของเหลว
  • 7. 7 มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ สืบ เสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑ ทดลองและอธิบายความแตกต่างระหว่าง แรงเสียดทานสถิตกับแรงเสียดทานจลน์ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ - แรงเสียดทานสถิตเป็นแรงเสียดทานที่กระทํา ต่อวัตถุขณะหยุดนิ่ง ส่วนแรงเสียดทานจลน์ เป็นแรงเสียดทานที่กระทําต่อวัตถุขณะเคลื่อนที่ - การเพิ่มแรงเสียดทาน เช่น การออกแบบพื้น รองเท้าเพื่อกันลื่น - การลดแรงเสียดทาน เช่น การใช้น้ํามันหล่อลื่นที่ จุดหมุน ๒ ทดลองและวิเคราะห์โมเมนต์ของแรง และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ - เมื่อมีแรงที่กระทําต่อวัตถุ แล้วทําให้เกิด โมเมนต์ของแรงรอบจุดหมุน วัตถุจะเปลี่ยน สภาพการหมุน - การวิเคราะห์โมเมนต์ของแรงในสถานการณ์ต่าง ๆ ๓ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่ เป็นแนวตรง และแนวโค้ง - การเคลื่อนที่ของวัตถุมีทั้งการเคลื่อนที่ในแนวตรง เช่น การตกแบบเสรี และการเคลื่อนที่ในแนวโค้ง เช่น การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ของลูกบาสเกตบอล ในอากาศ การเคลื่อนที่แบบวงกลมของวัตถุที่ผูก เชือกแล้วแกว่ง เป็นต้น
  • 8. 8 สาระที่ ๕ พลังงาน มาตรฐาน ว ๕. ๑ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มี กระบวน การสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนําความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๑ อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์โน้ม ถ่วง กฎการอนุรักษ์พลังงาน และ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ - การให้งานแก่วัตถุเป็นการถ่ายโอนพลังงานให้ วัตถุ พลังงานนี้เป็นพลังงานกลซึ่งประกอบด้วย พลังงานศักย์และพลังงานจลน์ พลังงานจลน์ เป็นพลังงานของวัตถุขณะวัตถุเคลื่อนที่ ส่วน พลังงานศักย์โน้มถ่วงของวัตถุเป็นพลังงานของ วัตถุที่อยู่สูงจากพื้นโลก - กฎการอนุรักษ์พลังงานกล่าวว่า พลังงานรวม ของวัตถุไม่สูญหาย แต่สามารถเปลี่ยนจากรูป หนึ่งไปเป็นอีกรูปหนึ่งได้ - การนํากฎการอนุรักษ์พลังงานไปใช้ประโยชน์ในการ อธิบายปรากฏการณ์ เช่น พลังงานน้ําเหนือเขื่อน เปลี่ยนรูปจากพลังงานศักย์โน้มถ่วงเป็นพลังงานจลน์, ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม ๒ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างความ ต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนํา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ - ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและความต้านทานมี ความสัมพันธ์กันตามกฎของโอห์ม - การนํากฎของโอห์มไปใช้วิเคราะห์วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ๓ คํานวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ - การคํานวณพลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็น ส่วนหนึ่งของการคิดค่าไฟฟ้าและเป็นแนวทางในการ ประหยัดพลังงานไฟฟ้าในบ้าน ๔ สังเกตและอภิปรายการต่อวงจรไฟฟ้าใน บ้านอย่างถูกต้องปลอดภัย และประหยัด - การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้านต้องออกแบบวงจร ติดตั้ง เครื่องใช้ไฟฟ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างถูกต้องโดยการต่อ สวิตช์แบบอนุกรม ต่อเต้ารับแบบขนานและเพื่อความ ปลอดภัยต้องต่อสายดินและฟิวส์ รวมทั้งต้องคํานึงถึง การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด
  • 9. 9 ที่ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ๕ อธิบายตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และทดลองต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มีทรานซิสเตอร์ - ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ มีสมบัติทางไฟฟ้าแตกต่างกัน ตัว ต้านทานทําหน้าที่จํากัดกระแสไฟฟ้าในวงจร ไดโอดมี สมบัติให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทิศทางเดียวและ ทรานซิสเตอร์ทําหน้าที่เป็นสวิตซ์ปิด-เปิดวงจร - การประกอบวงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ๑ตัวทําหน้าที่เป็นสวิตซ์ สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ ตัวชี้วัด ๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนําความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 10. 10 คําอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ว 23101 วิทยาศาสตร์ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์ สังเกต อธิบาย เปรียบเทียบ ทดลอง จําแนก สํารวจตรวจสอบ สืบค้น วิเคราะห์ อภิปราย แปลความหมาย เกี่ยวกับความเร่ง ผลของแรงลัพธ์ แรงกิริยาและ แรงปฏิกิริยาระหว่างวัตถุและการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ แรงพยุงของของเหลวที่กระทํากับ วัตถุ แรงเสียดทานสถิต กับแรงเสียดทานจลน์ และนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ โมเมนต์ของแรง และการนําหลักการของโมเมนต์ไปใช้ประโยชน์ งานและกําลัง พลังงานศักดิ์โน้มถ่วง พลังงาน จลน์ กฎการอนุรักษ์พลังงาน และการนําไปใช้ประโยชน์ การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ วัสดุ อุปกรณ์สําหรับวงจรไฟฟ้าในบ้าน ความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้ากับกําลังไฟฟ้า การใช้พลังงานไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และคิดค่าไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน สมบัติเบื้องต้นของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์บางชนิด วงจร อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสํารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูลและการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนําความรู้ไปใช้ประโยชน์ใน ชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม รหัสตัวชี้วัด ว 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ว 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ว 8.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/9 รวม 20 ตัวชี้วัด เอกสารหมายเลข 5/1
  • 11. 11 ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา วิทยาศาสตร์ 5 (ว 23101) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 1-2 แผนที่ 1 เรียนรู้บทเรียน วิทยาศาสตร์ 5 1. ทําความเข้าใจกับ นักเรียนเรื่อง คะแนน เวลาเรียน ระเบียบ ปฏิบัติ และกติกาใน การเรียน รายวิชา วิทยาศาสตร์ กับการ เรียนโดยใช้รูปแบบ การจัดการเรียนรู้ด้วย โครงการผ่านสังคม เครือข่ายการเรียนรู้ ด้วย Edmodo 2. ทดสอบความรู้ พื้นฐาน เนื้อหา เกี่ยวกับแรง และการ เคลื่อนที่ ทําความเข้าใจการ จัดการเรียนรู้ และ ทดสอบความรู้ พื้นฐานก่อนเรียน 3 คาบ (คาบที่ 1-3) - แบบ ทดสอบ ก่อนเรียน 20 ข้อ สัปดาห์ที่ 2-3 แผนที่ 2 ความเร่ง เนื่องจากการ ตกของวัตถุ หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบาย ความเร่งและผลของ แรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ วัตถุเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วที่ เปลี่ยนแปลงเป็นการ เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง เมื่อแรงลัพธ์มีค่าไม่ เท่ากับศูนย์กระทํา ต่อวัตถุวัตถุจะ เคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ซึ่งมีทิศทางเดียวกับ แรงลัพธ์ 2 คาบ (คาบที่ 4-5) 2 (รวม=2) แผนที่ 3 ความเร่ง หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบาย ความเร่งและผลของ แรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ 2 คาบ (คาบที่ 6-7) 2 (รวม=4) เอกสารหมายเลข 6
  • 12. 12 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 3-4 แผนที่ 4 แรงลัพธ์ หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบาย ความเร่งและผลของ แรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ (ต่อ) 3 คาบ (คาบที่ 8-10) 3 (รวม=7) สัปดาห์ที่ 4 แผนที่ 5 การเคลื่อนที่ ของวัตถุ ในประเทศ อาเซียน หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/3 สังเกตและ อธิบายการเคลื่อนที่ ของวัตถุที่เป็นแนว ตรง และแนวโค้ง การเคลื่อนที่ของ วัตถุมีทั้งการ เคลื่อนที่ในแนวตรง เช่น การตกแบบ เสรี และการ เคลื่อนที่ในแนวโค้ง เช่น การเคลื่อนที่ แบบโพรเจกไทล์ ของลูก บาสเกตบอลใน อากาศ การ เคลื่อนที่แบบ วงกลมของวัตถุที่ ผูกเชือกแล้วแกว่ง เป็นต้น 1 คาบ (คาบที่ 11) 2 (รวม=9) สัปดาห์ที่ 4-5 แผน 6 แรงกิริยา และแรง ปฏิกิริยา หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/2 ทดลองและ อธิบายแรงกิริยาและ แรงปฏิกิริยาระหว่าง วัตถุ และนําความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ทุกแรงกิริยาจะมีแรง ปฏิกิริยาโต้ตอบด้วย ขนาดของแรงเท่ากัน แต่มีทิศทางตรงข้าม การนําความรู้เรื่องแรง กิริยาและแรง ปฏิกิริยาไปใช้อธิบาย เช่นการชักเย่อการ จุดบั้งไฟ 3 คาบ (คาบที่ 12-14) 2 (รวม=11)
  • 13. 13 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 5-6 แผนที่ 7 แรงพยุง หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/3 ทดลองและ อธิบายแรงพยุงของ ของเหลวที่กระทําต่อ วัตถุ แรงพยุง คือ แรงที่ ของเหลวกระทําต่อ วัตถุมีค่าเท่ากับ น้ําหนักของ ของเหลวที่มี ปริมาตรเท่ากับ ส่วนที่จมของวัตถุ ของเหลวที่มีความ หนาแน่นมากจะมี แรงพยุงมาก วัตถุที่ลอยได้ใน ของเหลวจะมีความ หนาแน่นน้อยกว่า ความหนาแน่นของ ของเหลว 3 คาบ (คาบที่ 15-17) 3 (รวม=14) สัปดาห์ที่ 6-7 แผนที่ 8 แรงเสียดทาน หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/1 ทดลองและ อธิบายความแตกต่าง ระหว่างแรงเสียด ทานสถิตกับแรงเสียด ทานจลน์ และนํา ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ แรงเสียดทานสถิตเป็น แรงเสียดทานที่กระทํา ต่อวัตถุขณะหยุดนิ่ง ส่วนแรงเสียดทานจลน์ เป็นแรงเสียดทานที่ กระทําต่อวัตถุขณะ เคลื่อนที่การเพิ่มแรง เสียดทานเช่นการ ออกแบบพื้นรองเท้า เพื่อกันลื่นการลดแรง เสียดทานเช่นการใช้ น้ํามันหล่อลื่นที่จุด หมุน 3 คาบ (คาบที่ 18-20) 2 (รวม=16)
  • 14. 14 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 7-8 แผนที่ 9 โมเมนต์ของ แรง หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/2 ทดลองและ วิเคราะห์โมเมนต์ ของแรง และนํา ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ เมื่อมีแรงที่กระทํา ต่อวัตถุ แล้วทําให้ เกิดโมเมนต์ของ แรงรอบจุดหมุน วัตถุจะเปลี่ยน สภาพการหมุน การวิเคราะห์ โมเมนต์ของแรงใน สถานการณ์ต่าง ๆ 3 คาบ (คาบที่ 21-23) 4 (รวม=20) รวม 23 20 สอบกลางภาค 3 17 สัปดาห์ที่ 8 แผนที่ 1 เรียนรู้บทเรียน หน่วยที่ 2 งานและ พลังงาน 1.ทําความเข้าใจกับ นักเรียนเรื่องคะแนน เวลาเรียน 2.ทดสอบความรู้พื้นฐาน เนื้อหาเกี่ยวกับงานและ พลังงาน ทําความเข้าใจการ จัดการเรียนรู้ และ ทดสอบความรู้ พื้นฐานก่อนเรียน 1 คาบ (คาบที่ 24) - แบบ ทดสอบ ก่อนเรียน 20 ข้อ สัปดาห์ที่ 9 แผนที่ 2 งาน หน่วยที่ 2 งานและ พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/1 อธิบายงาน พ ลั ง ง า น จ ล น์ พลังงานศักย์โน้ม ถ่วง กฎการอนุรักษ์ พ ลั ง ง า น แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ระหว่างปริมาณ เหล่านี้ รวมทั้งนํา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ การให้งานแก่วัตถุเป็น การถ่ายโอนพลังงาน ให้วัตถุ การออกแรง กระทํากับวัตถุให้วัตถุ เคลื่อนที่ได้ระยะทาง ในแนวเดียวกับแรง โดยมีทิศทางการ เคลื่อนที่และทิศทาง ของแรงอยู่ในแนว เดียวกันถือว่ามีงาน เกิดขึ้น(work;W) 2 คาบ (คาบที่ 25-26) 2 (รวม=4) แบบ ทดสอบ 10 ข้อ
  • 15. 15 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 9 แผนที่ 3 กําลัง หน่วยที่ 2 งานและ พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/1 อธิบายงาน พ ลั ง ง า น จ ล น์ พลังงานศักย์โน้ม ถ่วง กฎการอนุรักษ์ พ ลั ง ง า น แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ระหว่างปริมาณ เหล่านี้ รวมทั้งนํา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ อัตราส่วนระหว่าง งานที่ทําได้กับ เวลาที่ใช้ในการ ทํางาน เรียกว่า กําลัง (power; P) 2 คาบ (คาบที่ 27-28) 2 (รวม=7) แบบ ทดสอบ 10 ข้อ สัปดาห์ที่ 10 สอบกลางภาค หน่วยที่ 1-2 3 (28-30) 20 สัปดาห์ที่ 11 แผนที่ 4 พลังงานกล หน่วยที่ 2 งานและ พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/1 อธิบายงาน พ ลั ง ง า น จ ล น์ พลังงานศักย์โน้ม ถ่วง กฎการอนุรักษ์ พ ลั ง ง า น แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ระหว่างปริมาณ เหล่านี้ รวมทั้งนํา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ พลังงานกลเป็น พลังงานที่ ประกอบด้วย พลังงานศักย์และ พลังงานจลน์ พลังงานจลน์เป็น พลังงานของวัตถุ ขณะวัตถุเคลื่อนที่ ส่วนพลังงานศักย์ โน้มถ่วงของวัตถุ เป็นพลังงานของ วัตถุที่อยู่สูงจากพื้น โลก 3 คาบ (คาบที่ 31-33) 3 (รวม=10) แบบ ทดสอบ 10 ข้อ
  • 16. 16 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 12 แผน 5 กฎการอนุรักษ์ พลังงาน หน่วยที่ 2 งานและ พลังงาน มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/1 อธิบายงาน พ ลั ง ง า น จ ล น์ พลังงานศักย์โน้ม ถ่วง กฎการอนุรักษ์ พ ลั ง ง า น แ ล ะ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ระหว่าง ป ริ ม า ณ เ ห ล่ า นี้ รวมทั้งนําความรู้ไป ใช้ ประโยชน์ กฎการอนุรักษ์ พลังงานกล่าวว่า พลังงานรวมของวัตถุ ไม่สูญหายแต่สามารถ เปลี่ยนจากรูปหนึ่งไป เป็นอีกรูปหนึ่งได้ การ นํากฎการอนุรักษ์ พลังงานไปใช้ ประโยชน์ในการ อธิบายปรากฏการณ์ เช่นพลังงานน้ําเหนือ เขื่อนเปลี่ยนรูปจาก พลังงานศักย์โน้มถ่วง เป็นพลังงานจลน์, ปั้นจั่นตอกเสาเข็ม 2 คาบ (คาบที่ 34-35) 3 (รวม=15) แบบ ทดสอบ 10 ข้อ รวม 10 10 สอบกลางภาค 3 3 สอบปลายภาค 3 3 สัปดาห์ที่ 12 แผนที่ 1 เรียนรู้บทเรียน หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า 1. ทําความเข้าใจกับ นักเรียนเรื่อง คะแนน เวลาเรียน 2. ทดสอบความรู้ พื้นฐาน เนื้อหา เกี่ยวกับพลังงาน ไฟฟ้า ทําความเข้าใจการ จัดการเรียนรู้ และ ทดสอบความรู้ พื้นฐานก่อนเรียน 1 คาบ (คาบที่ 36) - แบบ ทดสอบ ก่อนเรียน 50 ข้อ
  • 17. 17 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 13 แผนที่ 2 วงจรไฟไฟฟ้า เบื้องต้น (การต่อ เครื่องใช้ไฟฟ้า เข้าในวงจร ไฟฟ้า) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและ อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความต่าง ศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ หลอดไฟเป็น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่รับ พลังงานไฟฟ้าแล้ว เปลี่ยนเป็นพลังงาน แสงและพลังงาน ความร้อน ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและ ความต้านทานมี ความสัมพันธ์กัน ตามกฎของโอห์ม การนํากฎของ โอห์มไปใช้ วิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าอย่าง ง่าย 1 คาบ (คาบที่ 37) 2 (รวม=2) รายงาน และการ นําเสนอ สัปดาห์ที่ 13 แผนที่ 3 วงจรไฟไฟฟ้า เบื้องต้น (พลังงาน ไฟฟ้าในวงจร ไฟฟ้า) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและ อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความต่าง ศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ โวลต์มิเตอร์เป็น เครื่องมือที่ใช้บอก ค่าความต่าง ศักย์ไฟฟ้า (potential difference) มี หน่วยเป็นโวลต์ (V) ใช้ต่อคร่อมกับ เครื่องใช้ไฟฟ้า ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและ ความต้านทานมี ความสัมพันธ์กัน 1 คาบ (คาบที่ 38) 2 (รวม=4) รายงาน และการ นําเสนอ
  • 18. 18 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน ตามกฎของโอห์ม การนํากฎของ โอห์มไปใช้ วิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าอย่าง ง่าย สัปดาห์ที่ 13 แผนที่ 4 วงจรไฟไฟฟ้า เบื้องต้น (การวัดกระแส ไฟฟ้า) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและ อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความต่าง ศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ แอมมิเตอร์มิเตอร์ เป็นเครื่องมือที่ใช้ บอกค่า กระแสไฟฟ้า (electrical current) มีหน่วย เป็นแอมแปร์ (A) ใช้ต่อตรงกับ เครื่องใช้ไฟฟ้า ความต่างศักย์ 1 คาบ (คาบที่ 39) 2 (รวม=6) รายงาน และการ นําเสนอ กระแสไฟฟ้าและ ความต้านทานมี ความสัมพันธ์กัน ตามกฎของโอห์ม การนํากฎของ โอห์มไปใช้ วิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าอย่าง ง่าย
  • 19. 19 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 14 แผนที่ 5 วงจรไฟไฟฟ้า เบื้องต้น (ความสัมพันธ์ ระหว่างความ ต่างศักย์กับ กระแส ไฟฟ้า) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและ อธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างความต่าง ศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ค่าความต่าง ศักย์ไฟฟ้าจะแปร ผันตรงกับค่า กระแสไฟฟ้า โดยมี ค่าความต้านทาน คงที่ ความต่างศักย์ กระแสไฟฟ้าและ ความต้านทานมี ความสัมพันธ์กัน ตามกฎของโอห์ม การนํากฎของ โอห์มไปใช้ วิเคราะห์ วงจรไฟฟ้าอย่าง ง่าย 2 คาบ (คาบที่ 40-41) 2 (รวม=8) รายงาน และการ นําเสนอ แบบ ทดสอบ 12 ข้อ สัปดาห์ที่ 14 แผนที่ 6 วงจรไฟไฟฟ้า ในบ้าน (การต่อ เครื่องใช้ ไฟฟ้าในบ้าน) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณ พลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ม.3/4 สังเกตและ อภิปรายการต่อ วงจรไฟฟ้าในบ้าน อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และ ประหยัด การคํานวณ พลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็น ส่วนหนึ่งของการ คิดค่าไฟฟ้าและ เป็นแนวทางในการ ประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าในบ้าน 1 คาบ (คาบที่ 42) 2 (รวม=10)
  • 20. 20 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 15 แผนที่ 7 วงจรไฟไฟฟ้า ในบ้าน (ขนาด ความ ยาว และชนิด ของลวดตัวนํา กับความ ต้านทาน) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณ พลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ม.3/4 สังเกตและ อภิปรายการต่อ วงจรไฟฟ้าในบ้าน อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และ ประหยัด การคํานวณค่า ความต้านทาน สามารถคํานวณได้ จากสูตร ปัจจัยที่มีผลต่อ ความต้านทาน คือ ความยาว ชนิดและ พื้นที่หน้าตัดของ เส้นลวด 2 คาบ (คาบที่ 43-44) 2 (รวม=12) รายงาน และการ นําเสนอ สัปดาห์ที่15-16 แผนที่ 8 วงจรไฟไฟฟ้า ในบ้าน (ประโยชน์ของ ฉนวนหุ้ม สายไฟ) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณ พลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ม.3/4 สังเกตและ อภิปรายการต่อ วงจรไฟฟ้าในบ้าน อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และ ประหยัด ฉนวนหุ้มสายไฟฟ้า ช่วยป้องกันไม่ให้ ไฟฟ้าลัดวงจร 1 คาบ (คาบที่ 45-46) 2 (รวม=14) รายงาน และการ นําเสนอ แบบ ทดสอบ 12 ข้อ
  • 21. 21 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 16 แผนที่ 9 พลังงานไฟ ไฟฟ้า และ กําลังไฟฟ้า (คิดค่าไฟฟ้า จากใบเสร็จค่า ไฟ) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณ พลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้า และ นําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ม.3/4 สังเกตและ อภิปรายการต่อ วงจรไฟฟ้าในบ้าน อย่างถูกต้อง ปลอดภัย และ ประหยัด การคํานวณ พลังงานไฟฟ้าของ เครื่องใช้ไฟฟ้าเป็น ส่วนหนึ่งของการ คิดค่าไฟฟ้าและ เป็นแนวทางในการ ประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าในบ้าน 2 คาบ (คาบที่ 47-48) 2 (รวม=16) ชิ้นงาน และทํา แบบทดสอบ 5 ข้อ สัปดาห์ที่ 17 แผนที่ 10 วงจรอิเล็ก ทรอนิกส์ เบื้องต้น (หน้าที่ของตัว ต้านทาน) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัว ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ ทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวต้านทาน ทํา ห น้ า ที่ จํ า กั ด กระแสไฟฟ้าใน วงจร 1 คาบ (คาบที่ 49) 2 (รวม=18) รายงาน และการ นําเสนอ สัปดาห์ที่ 17 แผนที่ 11 วงจรอิเล็ก ทรอนิกส์ เบื้องต้น (ตัวต้านทาน แปรค่าได้) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัว ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ ทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวต้านทานแปรค่า ได้ ทําหน้าที่จํากัด กระแสไฟฟ้าใน วงจรตามการหมุน ของผู้ใช้ 1 คาบ (คาบที่ 50) 2 (รวม=20) รายงาน และการ นําเสนอ
  • 22. 22 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 17-18 แผนที่ 12 วงจรอิเล็ก ทรอนิกส์ เบื้องต้น (การนําตัวเก็บ ประจุมาใช้ งาน) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัว ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ ทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ตัวเก็บประจุ ทํา หน้าที่เก็บประจุ ไฟฟ้า 2 คาบ (คาบที่ 51-52) 2 (รวม=22) รายงาน และการ นําเสนอ สัปดาห์ที่ 18 แผนที่ 13 วงจรอิเล็ก ทรอนิกส์ เบื้องต้น (สนุกกับ ไดโอด) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัว ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ ทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ไดโอดมีสมบัติให้ กระแสไฟฟ้าผ่านได้ ทิศทางเดียว 2 คาบ (คาบที่ 53-54) 2 (รวม=24) รายงาน และการ นําเสนอ สัปดาห์ที่ 19 แผนที่ 14 วงจรอิเล็ก ทรอนิกส์ เบื้องต้น (ทรานซิส เตอร์) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัว ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ ทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ เช่น ทรานซิสเตอร์ทํา หน้าที่เป็นสวิตซ์ปิด- เปิดวงจร การประกอบวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ 1ตัว ทําหน้าที่เป็นสวิตซ์ 2 คาบ (คาบที่ 55-56) 2 (รวม=26) รายงาน และการ นําเสนอ
  • 23. 23 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 19 แผนที่ 15 วงจรอิเล็ก ทรอนิกส์ เบื้องต้น (สนุกกับ อิเล็กทรอนิกส์) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัว ต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และ ทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์ เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ ชิ้ น ส่ ว น อิเล็กทรอนิกส์ ทํา ห น้ า ที่ ต่ า ง กั น สามารถนําไปใช้ใน ชีวิตประจําวันได้ 1 คาบ (คาบที่ 57) 2 (รวม=28) รายงาน และการ นําเสนอ ทํา แบบทดสอบ ชิ้นงาน ส่งนอก กลุ่มละ 1 ชิ้น นอกเวลา 2 รวม 20 30 สอบปลายภาค 3 17 อัตราส่วนคะแนน คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 K : P : A = 60 : 20 : 20 รวม = 100 คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 24 คะแนน สอบกลางภาค = 20 คะแนน คะแนนเก็บหลังสอบกลางภาค = 36 คะแนน สอบปลายภาค = 20 คะแนน รวม = 100 คะแนน
  • 24. 24 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน) หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ ลําดับ ที่ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ลําดับชั่วโมงที่สอน จํานวนชั่วโมงที่สอน น้ําหนักผลการเรียนรู้ คะแนนผลการเรียนรู้ คะแนนเก็บ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ(P) คุณลักษณะ(A) กลางภาค ปลายภาค 1 แผน 1-4 มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเร่งและ ผลของแรงลัพธ์ที่ทําต่อวัตถุ 1-10 10 7 100 60 20 20 4 - 2 แผน 5 มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/3 สังเกตและอธิบาย การเคลื่อนที่ของวัตถุที่เป็น แนวตรง และแนวโค้ง 11 1 2 100 60 20 20 1 - 3 แผน 6 มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา ระหว่างวัตถุ และนําความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 12- 14 3 2 100 60 20 20 2 - 4 แผน 7 มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/3 ทดลองและอธิบาย แรงพยุงของของเหลวที่ กระทําต่อวัตถุ 15- 17 3 3 100 60 20 20 3 - 5 แผน 8 มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/1 ทดลองและอธิบาย ความแตกต่างระหว่างแรง เสียดทานสถิตกับแรงเสียด ทานจลน์ และนําความรู้ไป ใช้ประโยชน์ 18- 20 3 2 100 60 20 20 4 - 6 แผน 9 มาตรฐาน ว 4.2 ม.3/2 ทดลองและ วิเคราะห์โมเมนต์ของแรง แ ล ะ นํ า ค ว า ม รู้ ไ ป ใ ช้ ประโยชน์ 21- 23 3 4 100 60 20 20 3 - เอกสารหมายเลข 7
  • 25. 25 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน) หน่วยที่ 2 งานและพลังงาน และหน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า ลําดับ ที่ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ลําดับชั่วโมงที่สอน จํานวนชั่วโมงที่สอน น้ําหนักผลการเรียนรู้ คะแนนผลการเรียนรู้ คะแนนเก็บ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ(P) คุณลักษณะ(A) กลางภาค ปลายภาค หน่วยที่ 2 งานและ พลังงาน 3 3 7 แผน 1-5 มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/1 อธิบายงาน พลังงานจลน์ พลังงานศักย์ โน้มถ่วง กฎการอนุรักษ์ พ ลั ง ง า น แ ล ะ ความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณเหล่านี้ รวมทั้งนํา ความรู้ไปใช้ ประโยชน์ 24- 35 10 10 100 60 20 20 3 3 หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า - 17 8 แผน 1-5 มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/2 ทดลองและอธิบาย ความสัมพันธ์ระหว่างความ ต่างศักย์ กระแสไฟฟ้า ความต้านทาน และนํา ความรู้ไปใช้ประโยชน์ 36- 42 7 10 100 60 20 20 - 5 9 แผน 6-9 มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/3 คํานวณพลังงาน ไฟฟ้าของเครื่องใช้ไฟฟ้า และนําความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ม.3/4 สังเกตและอภิปราย การต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน อย่างถูกต้องปลอดภัย และ ประหยัด 43- 48 6 6 100 60 20 20 - 5
  • 26. 26 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน) หน่วยที่ 3 พลังงานไฟฟ้า (ต่อ) ลําดับ ที่ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ลําดับชั่วโมงที่สอน จํานวนชั่วโมงที่สอน น้ําหนักผลการเรียนรู้ คะแนนผลการเรียนรู้ คะแนนเก็บ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ(P) คุณลักษณะ(A) กลางภาค ปลายภาค 10 แผน 10-15 มาตรฐาน ว 5.1 ม.3/5 อธิบายตัวต้านทาน ไดโอด ทรานซิสเตอร์ และทดลองต่อวงจร อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นที่มี ทรานซิสเตอร์ 49- 57 9 14 100 60 20 20 - 7 รวม 57 60 60 100 60 20 20 20 20 หมายเหตุ 1. กําหนดน้ําหนักผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้คะแนน 1-5 2. คิดคะแนนผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง = น้ําหนักผลการเรียนรู้ X คะแนนเก็บทั้งหมด ผลรวมคะแนนน้ําหนักผลการเรียนรู้ทั้งหมด 3. คะแนนเก็บทั้งหมด = K + P + คะแนนกลางภาค + คะแนนปลายภาค ตัวอย่าง คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 1 = 5 x 90 = 6.9 => 7 65 คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 2 = 2 x 90 = 2.76 => 3 65
  • 27. 27 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว 23101) (เพื่อกําหนดทักษะกระบวนการ) โครงการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว 23101) หน่วยที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) ส.ที่ 1 แผนที่ 1 เรียนรู้บทเรียน ทําความเข้าใจ การจัดการเรียนรู้ และทดสอบความรู้ พื้นฐานก่อนเรียน 1. ทําความเข้าใจกับ นักเรียนเรื่อง คะแนน เวลาเรียน ระเบียบ ปฏิบัติ และกติกาในการ เรียน รายวิชา วิทยาศาสตร์ กับการ เรียนโดยใช้รูปแบบการ จัดการเรียนรู้ด้วย โครงการผ่านสังคม เครือข่ายการเรียนรู้ 2. ทดสอบความรู้ พื้นฐาน เนื้อหาเกี่ยวกับ แรง และการเคลื่อนที่ วิเคราะห์ผู้เรียน 1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้ สื่อ Power Point 2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ Power Point เรียนรู้ บทเรียนหน่วยที่ 1 3. วิธีสมัครสมาชิกผ่าน เว็บไซต์ 4. ทําแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยที่ 1 แรงและการ เคลื่อนที่ 5. วิเคราะห์ผู้เรียน สัมภาษณ์ และทําแฟ้ม สะสมงานเป็นการบ้าน (สัมภาษณ์ต่อนอกเวลา) 6. จัดกลุ่มนักเรียนโดยใช้ ความรู้พื้นฐานก่อนเรียนจาก ผลการสอบวัดความรู้ พื้นฐาน 4. สิ่งชิ้นงานนําเสนองาน กลุ่มแนะนําตนเองผ่านเว็บ และแฟ้มสะสมงาน รายบุคคล 5. ศึกษาบทเรียนออนไลน์ ผ่านเว็บ การศึกษาการตก ของวัตถุเป็นการบ้าน 3 คาบ (คาบที่ 1-3) เอกสารหมายเลข 8
  • 28. 28 สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) ส.ที่ 2 แผนที่ 2 ความเร่งเนื่องจาก การตกของวัตถุ วัตถุเคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว ที่เปลี่ยนแปลง เป็นการเคลื่อนที่ ด้วยความเร่ง เมื่อแรงลัพธ์มีค่า ไม่เท่ากับศูนย์ กระทําต่อวัตถุวัตถุ จะเคลื่อนที่ ด้วยความเร่งซึ่ง มีทิศทางเดียวกับ แรงลัพธ์ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเร่ง และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา ต่อวัตถุ กระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ 1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้ สื่อ Power Point 2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ Power Point เรียนรู้ บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา กับวัตถุ 3. ติดตามและแจ้งการ ประเมินผลการสิ่งชิ้นงาน นําเสนองานกลุ่มแนะนํา ตนเองผ่านเว็บและผลการ ส่งแฟ้มสะสมงานรายบุคคล 4. สํารวจ ตรวจสอบ ปฏิบัติ กิจกรรมการทดลอง กิจกรรมที่ 1 การศึกษา ความเร็วในการตกของวัตถุ 5. นําเสนอผลการทํา กิจกรรมหน้าชั้นเรียน 6. ส่งชิ้นงานกลุ่มรายงาน กิจกรรมพร้อมตกแต่ง หมายเหตุ กลุ่มไหนนําเสนอไม่ทัน นําเสนอผ่านเว็บ 7. ศึกษาบทเรียนออนไลน์ ผ่านเว็บ เรื่อง ความเร็ว อัตราเร็ว ความเร่ง เป็น การบ้าน 2 คาบ (คาบที่ 4-5)
  • 29. 29 สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) ส.ที่ 2-3 แผนที่ 3 ความเร่ง วัตถุเคลื่อนที่ ด้วยความเร็ว ที่เปลี่ยนแปลง เป็นการเคลื่อนที่ ด้วยความเร่ง เมื่อแรงลัพธ์มีค่า ไม่เท่ากับศูนย์ กระทําต่อวัตถุ วัตถุจะเคลื่อนที่ ด้วยความเร่งซึ่ง มีทิศทางเดียวกับ แรงลัพธ์ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเร่ง และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา ต่อวัตถุ (ต่อ) กระบวนคิด 1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้ สื่อ Power Point ต่อ 2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ Power Point เรียนรู้ บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา กับวัตถุ ต่อ 3. แจ้งการประเมินผลการ นําเสนองานกลุ่ม 4. อธิบายการหาความเร่ง เนื่องจากการตกของวัตถุ 5. ทําแบบฝึกทักษะ กระบวนการคิดเป็นการบ้าน ส่งครูก่อนเรียนคาบถัดไป 6. ศึกษาบทเรียนออนไลน์ ผ่านเว็บ เรื่อง แรงลัพธ์ เป็น การบ้าน 2 คาบ (คาบที่ 6-7) ส.ที่ 3-4 แผนที่ 4 แรงลัพธ์ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเร่ง และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา ต่อวัตถุ (ต่อ) หมายเหตุ ศึกษาบทเรียนออนไลน์ ผ่านเว็บ เรื่อง แรงลัพธ์ เป็นการบ้าน กระบวนคิด 1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้ สื่อ Power Point ต่อ 2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ Power Point เรียนรู้ บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา กับวัตถุ ต่อ 3. แจ้งการประเมินผลแบบ ฝึกรายบุคคล 4. อธิบายการหาแรงลัพธ์ 5. ทําแบบฝึกทักษะ 3 คาบ (คาบที่ 8-10)
  • 30. 30 สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) ส.ที่ 3-4 แผนที่ 4 แรงลัพธ์ มาตรฐาน ว 4.1 ม.3/1 อธิบายความเร่ง และผลของแรงลัพธ์ที่ทํา ต่อวัตถุ (ต่อ) กระบวนการคิด 1. นําเสนอบทเรียนโดยใช้ สื่อ Power Point ต่อ 2. ร่วมอภิปรายตาม สื่อ Power Point เรียนรู้ บทเรียนหน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา กับวัตถุ ต่อ 3. แจ้งการประเมินผลแบบ ฝึกรายบุคคล 4. อธิบายการหาแรงลัพธ์ 5. ทําแบบฝึกทักษะ กระบวนการคิดเป็นการบ้าน ส่งครูก่อนเรียนคาบถัดไป 6. ศึกษาบทเรียนออนไลน์ ผ่านเว็บ เรื่อง การเคลื่อนที่ เป็นการบ้าน 7. เรียนรู้ผ่านเว็บ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สรุปองค์ความรู้หน่วยย่อยที่ 1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทํา กับวัตถุ 8. ทดสอบหลังเรียนหน่วย ย่อยที่ 1 3 คาบ (คาบที่ 8-10)