SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
บทที่ 3
                                          วิธีดําเนินการวิจัย

        การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจยเชิงทดลอง (Experimental Research) มีวัตถุประสงคเพื่อ
                                   ั
สรางสื่อประสมใหมีประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการสอนโดยใชสอประสมและการสอนแบบปกติ เรื่อง
                                                    ่ื
การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ซึ่งผูวิจัยได
                                                  ้
ดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้
        1. ประชากรและกลุมตัวอยาง
        2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย
        3. การดําเนินการทดลอง
        4. การวิเคราะหขอมูล
        5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

                                     ประชากรและกลุมตัวอยาง

       1. ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จํานวน 4 หองเรียน 108 คน
       2. กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ได ทํ า การสุ ม อย า งง า ย (Simple
Random Sampling) จากประชากรโดยวิธีการจับฉลาก โดยใชหองเรียนเปนหนวยการสุม
            สุมครั้งที่ 1 สุมมา 2 หองจากจํานวน 4 หอง เพื่อใชเปนกลุมตัวอยาง ไดหอง
ม.1/2 และหอง ม.1/3 รวมจํานวน 54 คน
42



            สุมครั้งที่ 2 สุมจากกลุมตัวอยาง 2 หองเรียนเพื่อใชเปนกลุมทดลอง สุมได
หอง ม.1/2 จํานวน 27 คน เปนกลุมทดลอง และที่เหลืออีก 1 หอง คือ หอง ม.1/3 จํานวน
27 คน ใหเปนกลุมควบคุม
            สุมครั้งที่ 3 จากที่เหลือจากการสุมกลุมตัวอยาง คือ หอง ม.1/1 กับ 1/4 สุมมา
                                                     
จํานวน 1 หองเรียน เพื่อใชเปนกลุมทดลองหาประสิทธิภาพของสื่อประสมในขั้นทดลอง
รายบุคคล จํานวน 3 คน และขั้นทดลองกลุมเล็ก จํานวน 9 คน คือหอง ม.1/4 จํานวน
27 คน แตใชทดลองหาประสิทธิภาพเพียง 12 คน ที่เหลือ 1 หอง คือหอง ม.1/1 ใช
ทดลองหาประสิทธิภาพขั้นทดลองภาคสนาม จํานวน 27 คน
        3. กลุมนักเรียนที่ใชในการหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เปนกลุมนักเรียนภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จํานวน 2 หอง ที่เคยผานการเรียนเรื่อง
การถายโอนพลังงานความรอน มาแลว คือหอง ม.3/1 จํานวน 36 คน และหอง ม.2/1
จํานวน 34 คน

                               เครื่องมือทีใชในการวิจัย
                                           ่

       เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนเครื่องมือที่ผูวิจัยสรางขึ้นประกอบดวย
       1. สื่อประสม
       2. แผนการจัดการเรียนรู
       3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

สื่อประสม
      การสรางสื่อประสมผูวิจัยไดดําเนินการ ดังนี้
      1. ศึกษาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
แกนกลาง วิเคราะหเนื้อหา จํานวนคาบเรียน
43



        2. ศึกษาหลักการแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของเกี่ยวกับสื่อประสม
ไดแก ความหมายของสื่อประสม ประเภทของสื่อประสม ลักษณะของสื่อประสม และ
ประโยชนของสื่อประสม
        3. นําขอมูลที่ไดจากขอ 1-2 มาวิเคราะหเนื้อหาและแบงเนื้อหาเปนหนวยยอยให
สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูโดยแบงเนื้อหาเปน 5 หนวยยอย ดังนี้
           หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา                     จํานวน 1 คาบ
           หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ                     จํานวน 1 คาบ
           หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน                 จํานวน 1 คาบ
           หนวยยอยที่ 4 การถายโอนความรอนในชีวิตประจําวัน            จํานวน 1 คาบ
           หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน                     จํานวน 2 คาบ
           รวมจํานวนคาบทั้งหมด                                          จํานวน 6 คาบ
        4. วางแผนการสรางสื่อประสม ลักษณะสื่อประสมที่สรางประกอบดวยสื่อ
ประสม ดังนี้
           4.1 สื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย ประกอบการเรียนการสอน
จํานวน 1 หนวยยอย คือ หนวยยอยที่ 5
           4.2 สื่อประสมสวนที่เปน power point ประกอบการเรียนการสอน จํานวน 4
หนวยยอย คือ หนวยยอยที่ 1-4
           4.3 สื่อประสมที่เปนเอกสารสิ่งพิมพ ใชจัดกิจกรรมประกอบการเรียนการสอน
ทั้ง 5 หนวยยอย
        5. ออกแบบโครงรางสื่อประสม แลวนําไปปรึกษาผูเชี่ยวชาญเพื่อขอคําแนะนํา
รูปแบบ และเนื้อหาของสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย power point และ
เอกสาร ที่เหมาะสม
        6. ดําเนินการสรางสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย power point และ
เอกสาร ตามโครงรางที่เขียนไว มีขั้นตอนดังนี้
           6.1 บทเรียนมัลติมีเดีย เรือง การถายโอนพลังงานความรอน ผูวิจัยได
                                     ่
ดําเนินการศึกษา และคนควา ดังนี้
44



                1) กําหนดวัตถุประสงคในการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย กําหนดหัวเรื่อง
วิเคราะหเนื้อหา
                2) ออกแบบตัวอักษร ภาพ เสียง ในบทเรียนมัลติมีเดีย
                3) ออกแบบการเชื่อมโยงบทแตละสวนวาจากไหนไปไหนสัมพันธกัน
อยางไร การเดินหนาถอยหลัง ในบทเรียนมัลติมีเดีย
                4) ออกแบบปุมสัญลักษณ ตัวอักษร ฉากหลัง สี เสียง และสวนประกอบที่
ละเอียดออนตางๆ ใหกลมกลืนกัน ในบทเรียนมัลติมเี ดีย
                5) การจัดสราง ขั้นตอนการสรางตั้งแตการจัดวางรูปแบบบนคอมพิวเตอร
การนํา ภาพนิ่งเขามาใช การตกแตงแกไขภาพ การทําภาพ 2 มิติ 3 มิติ หรือภาพเคลื่อนไหว
โดยจัดเปนกราฟก ไฟลในรูปแบบตางๆ เชน งานวีดีทัศน การถายทํา การตัดตอ
การตกแตง แทรกตัวอักษร ทุกชวงใหอยูในรูปของไฟลทางคอมพิวเตอร สุดทาย
ออโตริ่ง (Authoring) เปนขั้นตอนสุดทายในการนําเสนอขอมูลที่เปนคอมพิวเตอร
ในบทเรียนมัลติมีเดีย
                6) ทดสอบโปรแกรมในบทเรียนมัลติมีเดีย โดยมีจุดประสงคในการ
ทดสอบเนื้อหาวาสมบูรณตามที่ออกแบบหรือไม เพื่อหาขอผิดพลาดของโปรแกรมหากมี
ขอผิดพลาดในแตละขั้นตอนก็จะนําไปแกไขใหมจนสมบูรณ และบันทึกสื่อเพื่อเผยแพร
ตอไป
          6.2 power point ประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การถายโอนพลังงาน
ความรอน ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษา และคนควา ดังนี้
                1) กําหนดวัตถุประสงคในการสราง
                2) วิเคราะหเนื้อหา กําหนดชื่อเรื่อง กิจกรรมตามแนวทางของสถาบัน
สงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
                3) กําหนดจุดประสงค วิธทํา วัสดุอุปกรณ ของกิจกรรม ขอคําถาม
                                         ี
อภิปรายหลังกิจกรรม รูปแบบการบันทึกกิจกรรม ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร
                4) ดําเนินการสรางตามที่วางแผนและออกแบบไว
45



             6.3 สื่อประสมสวนที่เปนเอกสาร เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ผูวิจัย
ไดดําเนินการศึกษา และคนควา ดังนี้
                   1) กําหนดวัตถุประสงคในการสราง
                   2) วิเคราะหเนื้อหา กําหนดชื่อเรื่อง กิจกรรมตามแนวทางของสถาบัน
สงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
                   3) กําหนดจุดประสงค วิธีทํา วัสดุอุปกรณ ของกิจกรรม ขอคําถาม
อภิปรายหลังกิจกรรม รูปแบบการบันทึกกิจกรรม ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร
                    4) ดําเนินการสรางตามที่วางแผนและออกแบบไว
          7. นําสื่อประสม ไดแกสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย Power Point
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเอกสาร ที่สรางเสร็จแลวเสนอ
ผูเชี่ยวชาญเพื่อประเมินความสอดคลองระหวางสื่อจุดประสงคการเรียนรูกับสื่อประสม
จํานวน 5 ขอ พบวาไดคาความสอดคลองเทากับ 1.00 และใหผเู ชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ
                             
ของสื่อประสมตามมาตรประมาณคา 5 ระดับ ของลิเคิรท (Likert) ดังนี้
                   ระดับ 5 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมมากที่สุด
                   ระดับ 4 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมมาก
                   ระดับ 3 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมปานกลาง
                   ระดับ 2 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมนอย
                   ระดับ 1 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมนอยที่สุด
                 ในการประเมินคุณภาพของสื่อประสมแบงเปน 4 ดาน คือ ดานที่ 1
ประเมินคุณภาพสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย จํานวน 10 ขอ ดานที่ 2 สื่อ
ประสมในสวนที่เปน Power Point ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน จํานวน 10 ขอ
ดานที่ 3 สื่อประสมในสวนที่เปนเอกสาร จํานวน 10 ขอ และดานที่ 4 ประเมินการวัด
และประเมินผล จํานวน 5 ขอ ซึ่งผลการประเมินคุณภาพของสื่อประสมจากผูเชี่ยวชาญ
จํานวน 3 ทาน มีคะแนนเฉลี่ยรายขออยูในชวง 3.67-5.00 และคาเฉลี่ยรวม เทากับ 4.66
อยูในระดับคุณภาพมากที่สุด (ภาคผนวก ข) พบวา บทเรียนมัลติมีเดียบางเฟรมตัวอักษร
เล็กไป เนื้อหาบางเฟรมมากเกินไป บางเฟรมมีเสียงทับซอนกัน
46



         8. ปรับปรุงสื่อประสม ในสวนที่บกพรองตามคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญกอน
นําไปหาประสิทธิภาพ
         9. นําสื่อประสม ที่ไดปรับปรุงแกไขแลวในขอ 8 ไปทดลองใชขั้นทดลอง
รายบุคคล กับนักเรียนหอง ม.1/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียน
ทุงยาวผดุงศิษย จํานวน 3 คน ซึ่งเปนนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง โดยคัดเลือกนักเรียน
ที่เรียนออน จํานวน 1 คน นักเรียนทีเ่ รียนปานกลาง จํานวน 2 คน มาทดลองหา
ประสิทธิภาพในเบื้องตน เพื่อสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน คะแนนผลการ
เรียนระหวางเรียน และคะแนนจากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา
สื่อประสมมีจุดบกพรองหลายประการ เชน การบรรยายเสียงในบทเรียนมัลติมีเดียยังมี
บางเฟรมเสียงบรรยายซ้ําซอนกัน การเชื่อมโยงเนื้อหาบางเฟรมยังผิดพลาด รูปภาพบาง
รูปไมชัด การเคลื่อนไหวตัวอักษรคนละแบบกัน เอกสารสื่อประสมมีจํานวนบรรทัดให
นักเรียนทํากิจกรรมนอยเกินไปในบางกิจกรรม ผูวิจัยไดปรับปรุงแกไขกอนนําไปใช
                                                     
ทดลองกับกลุมเล็ก
         10. ขั้นทดลองกลุมเล็ก ผูวิจัยไดนําสื่อประสมไปทดลองใชกบนักเรียนหอง
                                                                      ั
ม.1/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จํานวน 9 คนที่ไมใชกลุม  
ตัวอยางที่เรียนออน เรียนปานกลาง และเรียนเกง คละกัน ใหผูเรียนทํากิจกรรมตามสื่อ
ประสมหลังจากนั้น ทําการซักถามความเขาใจ และความชัดเจนของสื่อ พบวาสื่อประสม
บางตอนยังบกพรอง เรื่องของการเชื่อมโยงเนื้อหาในบทเรียนมัลติมีเดีย ผูวิจัยไดนํา
ขอบกพรองมาปรับปรุงแกไข และนําไปใชทดลองภาคสนามตอไป
         11. ขั้นทดลองภาคสนาม ผูวิจัยไดนําสื่อประสมไปทดลองใชกับนักเรียน หอง
ม.1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จํานวน 27 คน ที่ไมใช
กลุมตัวอยางที่เรียนออน เรียนปานกลาง และเรียนเกง คละกัน ใหผูเรียนทําตาม
สื่อประสมหลังจากนั้น ทําการซักถามความเขาใจ และความชัดเจนของสื่อ พบวาสื่อ
ประสม มีบางคําพิมพผิด การเชื่อมโยงเนื้อหาบกพรองเพียงเล็กนอย
         12. ปรับปรุงพัฒนาขอบกพรอง พรอมจัดทําสื่อประสมชุดสมบูรณเพื่อนําไปใช
ในการทดลองกับกลุมทดลอง และเก็บขอมูลตอไป
47



แผนการจัดการเรียนรูโดยใชสื่อประสม
         แผนการจัดการเรียนรูโดยใชส่อประสม เปนแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัย
                                         ื
สรางขึ้นเพื่อใชจัดการเรียนการสอน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ตัวชี้วัด และมาตรฐานการเรียนรูตรงตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และมีเนื้อหาสอดคลองกับตัวชี้วัดที่ผูวิจัย
สรางขึ้นประกอบการสอนใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ และทักษะการเรียนรูตาม
ธรรมชาติวิชา ซึ่งดําเนินการตามลําดับดังนี้
         1. ศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ
หลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 1
                                                                ้
โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
         2. ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับสื่อประสม เพื่อนําหลักการแนวคิด
ทฤษฎีดังกลาวมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู
         3. ศึกษาเรื่องของกรอบเวลา จากปฏิทินวิชาการโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย และ
เนื้ อ หายึด ตามแนวทางการจั ด การเรีย นรู ต ามเอกสาร และหนั งสื อเรี ย นของสถาบั น
สงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
         4. ศึกษาวิธีการสรางแผนการจัดการเรียนรูจากเอกสารประกอบหลักสูตร ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
         5. ดําเนินการสรางแผนการจัดการเรียนรูโดยใชสอประสม เรื่อง การถายโอน
                                                        ื่
พลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยแตละแผนประกอบดวย
                                       ้
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังตอไปนี้ ขั้นนําเขาสูบทเรียน ขั้นดําเนินกิจกรรม
การเรียนการสอน ขั้นสรุป จํานวน 5 แผน ใชเวลาเรียนทั้งหมด 6 คาบ ดังนี้
           แผนที่ 1 หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา จํานวน 1 คาบ
           แผนที่ 2 หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ จํานวน 1 คาบ
           แผนที่ 3 หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน จํานวน 1 คาบ
           แผนที่ 4 หนวยยอยที่ 4 การถายโอนความรอนในชีวิตประจําวัน จํานวน 1 คาบ
           แผนที่ 5 หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน จํานวน 2 คาบ
48



          6. กําหนดสื่อ และเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรูที่ใชในแตละแผนการจัดการเรียนรู
โดยคํานึงถึง ความสอดคลองระหวางกิจกรรมที่ทา และสื่อที่ใชประกอบการจัดการเรียนรู
                                                     ํ
ดังนี้ ในการทํากิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร ใชสื่อประสมสวนที่เปนเอกสาร
กับ power point ประกอบการจัดกิจกรรม และวัสดุ อุปกรณ สารเคมี ประกอบการทํา
กิจกรรมแตละกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูหองปฏิบติการวิทยาศาสตร ในการศึกษา
                                                       ั
องคความรูเนื้อหาบทเรียน ใชสื่อบทเรียนมัลติมเี ดีย โดยใชแหลงเรียนรูหองปฏิบัติการ
คอมพิวเตอร เนื้อหาที่ใชจัดกิจกรรม ประกอบดวย 5 หนวยยอย จํานวน 5 แผน
          7. นําแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 5 แผนใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน (รายชื่อ
ผูเชี่ยวชาญ ดูในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลองระหวางแผนการจัดการเรียนรูกับ
จุดประสงคการเรียนรู ดังนี้
             ให ค ะแนน +1 ถ า เห็ น ว า แผนการจั ด การเรี ย นรู มี ค วามสอดคล อ งกั บ
จุดประสงคการเรียนรู
             ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองกับ
จุดประสงคการเรียนรู
             ใหคะแนน -1 ถาเห็นวาแผนการจัดการเรียนรูไมสอดคลองกับจุดประสงค
การเรียนรู
             ผูเชียวชาญไดใหขอเสนอวา ควรมีแนวคําตอบในการทํากิจกรรมของแผน
                   ่
การจัดการเรียนรูทกแผนุ
          8. ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญโดยมีแนว
คําตอบของกิจกรรมทุกกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู และตาม power point
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
          9. นํา แผนการสอนที่ ปรั บ ปรุง แล วเขี ย นเป น ฉบั บจริ งเพื่ อนํ า ไปสอนกั บ กลุ ม
ทดลอง ระหวางวันที่ 26 ธันวาคม 2554-6 มกราคม 2555
49



แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ
          ผูวิจัยไดสรางแผนการจัดการเรียนรูทมีกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหนังสือเรียน
                                               ี่
ของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่งดําเนินการตามลําดับดังนี้
          1. ศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ
หลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 1
                                                                  ้
โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
          2. ศึกษาเรื่องกรอบเวลา จากปฏิทินวิชาการโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย และเนื้อหา
ยึดตามแนวทางการจัดการเรียนรูตามเอกสาร และหนังสือเรียนของสถาบันสงเสริม
การสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
          3. ศึกษาวิธีการสรางแผนการจัดการเรียนรูจากเอกสารประกอบหลักสูตร
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
          4. เขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยแตละแผนประกอบดวยขั้นตอนการจัด
กิจกรรมการเรียนรู ดังตอไปนี้ ขั้นนําเขาสูบทเรียน ขั้นดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน
ขั้นสรุป
          5. กําหนดสื่อ และเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรูที่ใชในแตละแผนการจัดการเรียนรู
โดยคํานึงถึง ความสอดคลองระหวางกิจกรรมที่ทา และสื่อที่ใชประกอบการจัดการเรียน
                                                    ํ
การสอน ดังนี้ ในการทํากิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตรและศึกษาเนื้อหาบทเรียน
ใชหนังสือเรียนของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี และวัสดุ
อุปกรณ สารเคมี ประกอบการทํากิจกรรมแตละกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรู
หองปฏิบัตการวิทยาศาสตร ประกอบดวย 5 หนวยยอย จํานวน 5
                ิ
          6. นําแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 5 แผนใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน (รายชื่อ
ผูเชี่ยวชาญ ดูในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลองระหวางแผนการจัดการเรียนรูกับ
จุดประสงคการเรียนรู ดังนี้
              ใหคะแนน +1 ถาเห็นวาแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองกับ
                                                           
จุดประสงคการเรียนรู
50



          ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองกับ
จุดประสงคการเรียนรู
          ใหคะแนน -1 ถาเห็นวาแผนการจัดการเรียนรูไมสอดคลองกับจุดประสงค
การเรียนรู
            ผูเชียวชาญไดใหขอเสนอวา ควรมีแนวคําตอบในการทํากิจกรรมของแผนการ
                  ่
จัดการเรียนรูทุกแผน
                
       7. ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญโดยมีแนว
คําตอบของกิจกรรมทุกกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู และตาม power point
ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
       8. นํา แผนการสอนที่ ปรั บ ปรุง แล วเขี ย นเปน ฉบั บจริ งเพื่ อนํ า ไปสอนกับ กลุ ม
ควบคุม ระหวางวันที่ 26 ธันวาคม 2554-6 มกราคม 2555

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
         แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน
ผูวิจัยไดดําเนินการสราง โดยมีขั้นตอน ดังนี้
         1. ศึกษาทฤษฎี และหลักการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
         2. สรางตารางวิเคราะหเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรูของเนื้อหาที่ใชในการ
ทดลอง จํานวนขอคําถาม เพื่อใชในการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
การถายโอนพลังงานความรอน…………. .
         3. สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความ
รอนเปนขอสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 50 ขอ ใหครอบคลุมเนื้อหาและ
จุดประสงคที่กําหนด ไดขอคําถาม ดังนี้
              จุดประสงคที่ 1 หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา จํานวน 10 ขอ
              จุดประสงคที่ 2 หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ จํานวน 10 ขอ
              จุดประสงคที่ 3 หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน จํานวน 5 ขอ
              จุ ด ประสงค ที่ 4 หน ว ยย อ ยที่ 4 การถ า ยโอนความร อ นในชี วิ ต ประจํ า วั น
จํานวน 8 ขอ
51



              จุดประสงคที่ 5 หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน
จํานวน 17 ขอ รวมทั้งหมด 50 ขอ
          4. นําขอสอบที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินความสอดคลองระหวางขอ
คําถามกับจุดประสงคการเรียนรู โดยกําหนดคาคะแนนความสอดคลอง ดังนี้
             ใหคะแนน +1 ถาเห็นวาขอคําถามมีความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู
             ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาขอคําถามมีความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู
             ใหคะแนน -1 ถาเห็นวาขอคําถามไมสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู
             พบวาจํานวนขอคําถาม 48 ขอ ที่ผูเชี่ยวชาญเห็นวาสอดคลองกับจุดประสงค
การเรียนรู มีคาความสอดคลอง (IOC) มากกวาหรือเทากับ 0.5 ขอคําถามรายขอ มีคา
ความสอดคลอง (IOC) ตั้งแต 0.67-1.00
          5. นําขอสอบจํานวน 48 ขอจากขอ 4 ไปทดลองทดสอบกับนักเรียนที่ผาน
การเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง ภาคเรียนที่ 2
ปการศึกษา 2554 คือหอง ม.3/1จํานวน 36 คน โดยใชเวลาในการทดสอบ 60 นาที
          6. วิเคราะหขอสอบ แลวคัดเลือกขอสอบที่มีความยาก (P) ตั้งแต 0.20 ถึง 0.80
                       
และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ไดจํานวนขอคําถามที่ใชได จํานวน 42 ขอ
ผูวิจัยคัดเลือกขอสอบเพียง 40 ขอ มาหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช
วิธของคูเดอร วิชารดสัน(Kuder Richardson) สูตร KR-20 (Kuder Richardson-20) ไป
    ี
ทดลองทดสอบกับนักเรียนที่ผานการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ซึ่งไมใช
                                  
กลุมตัวอยาง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 คือหอง ม.2/1 จํานวน 34 คน โดยใชเวลาใน
การทดสอบ 50 นาที พบวาขอสอบทั้งฉบับมีคาความเชื่อมั่น (Alpha) เทากับ 0.81
          7. นําขอสอบที่ผานการสราง และหาคุณภาพจาก ขอ 6 ไปจัดทําเปนแบบทดสอบ
วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับจริง จํานวน 40 ขอ เพื่อไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูล
กับกลุมตัวอยางตอไป
52



                             การดําเนินการทดลอง

        ในการดําเนินการทดลองเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล โดยใชแบบแผนการทดลอง
ชนิด The Posttest-Only Control Group Design ผูวิจัยไดดําเนินการเปรียบเทียบระหวาง
กลุมทดลองที่สอนโดยใชสื่อประสมกับกลุมควบคุมที่สอนแบบปกติ ดังนี้
        1. ชี้แจงการสอนกับนักเรียน เรื่องการถายโอนพลังงานความรอน ประกอบดวย
5 หนวยยอย คือ
           หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา
           หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ
           หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน
           หนวยยอยที่ 4 การถายโอนความรอนในชีวิตประจําวัน
           หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน
           ใชเวลาในการจัดกิจกรรม ทั้งหมด 6 คาบ
        2. จัดปฐมนิเทศนักเรียนเพื่อทําความเขาใจกับนักเรียนถึงกระบวนการเรียนรู
บทบาทของนักเรียน เปาหมายของการเรียน และวิธีการประเมินผลการเรียนรูในการ
ทดลองนี้
        3. ดําเนินการทดลองสอนกลุมตัวอยางดวยผูวิจัยเองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา
2554 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย โดยทําการสอนกลุมตัวทดลองดวยแผนการจัดการเรียนรู
                                                   
โดยใชสื่อประสม และทําการสอนกลุมควบคุมดวยแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ ใน
เนื้อหาเดียวกัน ระยะเวลาในการสอนเทากัน คือจํานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู 6 คาบ
คาบละ 50 นาที ดังนี้
           กลุมทดลอง (หอง ม.1/2)
           สัปดาหที่ 1
           ครั้งที่ 1 วันจันทรที่ 26 ธันวาคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น.
           ครั้งที่ 2 วันจันทรที่ 26 ธันวาคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 09.25-10.15 น.
           ครั้งที่ 3 วันพุธที่ 28 ธันวาคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น.
53



          สัปดาหที่ 2
          ครั้งที่ 4 วันพุธที่ 4 มกราคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 09.25-10.15 น.
          ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2554 คาบที่ 1-2 เวลา 08.30-10.15 น.
          กลุมควบคุม (หอง ม.1/3)
          สัปดาหที่ 1
          ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 27 ธันวาคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น.
          ครั้งที่ 2 วันอังคารที่ 27ธันวาคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 09.25-10.15 น.
          ครั้งที่ 3 วันพุธที่ 28 ธันวาคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 08.30-09.20 น.
          สัปดาหที่ 2
          ครั้งที่ 4 วันพุธที่ 4 มกราคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น.
          ครั้งที่ 5 วันศุกรที่ 6 มกราคม 2554 คาบที่ 1-2 เวลา 08.30-10.15 น.
       4. เมื่อสอนครบตามแผนการสอนแลว ใหกลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุม ทําการทดสอบ
หลังการสอน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง
การถายโอนพลังงานความรอน

ตาราง 3.1
การเปรียบเทียบกิจกรรมการเรียนการสอนระหวางการสอนโดยใชสื่อประสมกับ
การสอนแบบปกติ

            การสอนโดยใชสื่อประสม                                การสอนแบบปกติ
ขั้นที่ 1                                          ขั้นที่ 1
             แจง จุ ด ประสงค ก ารเรีย นรู และ               แจงจุดประสงคการเรียนรู
             การสอนโดยใชสื่อประสม
ขั้นที่ 2                                          ขั้นที่ 2
             นําเขาสูบทเรียน                                 นําเขาสูบทเรียน
             - ทบทวนความรูเดิม และใช                         - ทบทวนความรูเดิม และใช
             คําถามเพื่อนําเขาสูบทเรียน                      คําถามเพื่อนําเขาสูบทเรียน
54



ตาราง 3.1 (ตอ)
         การสอนโดยใชสื่อประสม                           การสอนแบบปกติ
ขั้นที่ 3 ดําเนินกิจกรรมการเรียน            ขั้นที่ 3 ดําเนินกิจกรรมการเรียน
          การสอน                                      การสอน
          กิจกรรมการทดลอง ใชเอกสาร                   กิจกรรมการทดลอง และศึกษา
          สื่อประสม Power Point                       เนื้อหาบทเรียนใชหนังสือเรียน
          ประกอบการจัดกิจกรรม                         ของสถาบันสงเสริมการสอน
          ศึกษาเนื้อหาบทเรียน ใชสื่อ                 วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
          บทเรียนมัลติมีเดีย ใหนักเรียน
          เปนศูนยกลาง
ขั้นที่ 4 สรุป                              ขั้นที่ 4 สรุป
          สรุปองคความรูที่ไดจาก                    สรุปองคความรูท่ไดจาก
                                                                       ี
          การเรียน                                    การเรียน

                                 การวิเคราะหขอมูล

        การวิจัยครั้งนี้ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล จากผูเรียนที่เปน
กลุมตัวอยาง ไดแกกลุมทอลอง และกลุมควบคุม โดยผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล
และวิเคราะหขอมูลดวยตนเอง มีรายละเอียด ดังนี้
        1. หาประสิทธิภาพ ของสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ตาม
เกณฑ 80/80 โดยใช E1/E2
        2. หาคาความสอดคลอง (IOC) ของสื่อประสม แผนการจัดการเรียนรู และขอ
คําถามของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
        3. หาคาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินคุณภาพของสื่อประสม
        4. หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาคา
ความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และหาคาความเชื่อมั่น (Alpha) ตามสูตร KR-20
55



       5. หาคา t-Test Dependent เปรียบเทียบผลสัมฤทธิหลังเรียนของกลุมทดลอง และ
                                                     ์
กลุมควบคุม

                               สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

1. ใช E1/E2 ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel

      ใช E1/E2 หาประสิทธิภาพของสื่อประสม ตามเกณฑ 80/80
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 325) ดังนี้

                                 ∑ X × 100
                         E1 =     N
                                      A
           เมื่อ
                   E1      =     ประสิทธิภาพของกระบวนการ
                   ∑X      =     ผลรวมของคะแนนที่ไดจากการวัดระหวางเรียน
                   N       =     จํานวนนักเรียน
                   A       =     คะแนนเต็มจากการวัดระหวางเรียน

                                      ∑ Y × 100
                                E2=    N
                                           B
           เมื่อ
                   E2     = ประสิทธิภาพของผลลัพธ ไดจากคะแนนเฉลี่ยของ
                            การทําแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียนทั้งหมด
                   ∑Y     = ผลรวมของคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน
                   B      = คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน
                   N      = จํานวนนักเรียน
56



2. ใช IOC ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel
          ใช IOC หาความสอดคลอง ของสื่อประสม แผนการจัดการเรียนรู และขอ
คําถามของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญ โดยใชสูตรดังนี้
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 323)

                                          ∑R
                                  IOC =
                                           N
          เมื่อ
                    IOC        =    ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง
                    ∑R         =    ผลรวมของคะแนนของผูเชี่ยวชาญ
                    N          =    จํานวนผูเชี่ยวชาญ
                    R          =    คะแนนของผูเชี่ยวชาญ

3. หาคาเฉลีย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel และ
            ่
SPSS for Windows
        หาคาเฉลี่ย ( ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินคุณภาพของสื่อประสม
        3.1 หาคาเฉลี่ย ( X ) ซึ่งมีสูตรดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 345)

                              X       =    ∑X
                                               n

                  เมื่อ
                          X          =     คะแนนเฉลี่ย
                          ∑X         =     ผลรวมของคะแนนทั้งหมด
                          n          =     จํานวนขอมูลทั้งหมด
57



         3.2 หาคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินคุณภาพของสื่อประสม
ซึ่งใชสูตร ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 346)

                                             n ∑ X 2 − (∑ X )
                                                              2

                          S.D. =
                                                  n (n - 1)


              เมื่อ
                      S.D.           =   คาความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน
                      ∑ X2           =   ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง
                      (∑ X ) 2
                                     =   ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกําลังสอง
                      n              =   จํานวนนักเรียน

4. หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาคาความยากงาย (p)
คาอํานาจจําแนก (r) และหาคาความเชื่อมั่น (Alpha) ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel
และSPSS for Windows


       4.1 หาคาความยากงาย (p) ซึ่งมีสูตร ดังนี้ (กรมวิชาการ, 2545, หนา 85)

                                 R
                          P=
                                 N
          เมื่อ
                  P       = ความยาก
                  R       = จํานวนนักเรียนที่ตอบขอสอบถูกตอง
                  N       = จํานวนผูสอบทั้งหมด
58



       4.2 ใช (r) หาคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบซึ่งมีสูตร ดังนี้ (กรมวิชาการ, 2545,
หนา 86)

                                 Ru − RL
                            r=
                                    N
          เมื่อ
                  r     =     อํานาจจําแนก
                  Ru    =     จํานวนผูที่ตอบถูกแตละขอในกลุมสูง
                  RL    =     จํานวนผูที่ตอบถูกแตละขอในกลุมต่ํา
                  N     =     จํานวนคนในกลุมสูงหรือกลุมต่ํา


       4.3 ใช KR-20 หาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยใชสูตร KR–20 ดังนี้
(กรมวิชาการ, 2545, หนา 87)
                                k ⎛ s t − ∑ pq ⎞
                                      2

                            r=      ⎜          ⎟
                               k -1 ⎜
                                    ⎝    s2
                                          t
                                               ⎟
                                               ⎠
          เมื่อ
                  r     =     ความเที่ยง
                  k     =     จํานวนขอสอบ
                  p     =     สัดสวนของผูทําถูกแตละขอ
                  q     =     1–p
                  s2
                   t
                        =     ความแปรปรวนของคะแนนที่สอบไดทั้งฉบับ
59



5. หาคา t-Test Independent ทดสอบสมมติฐาน ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows
        หาคา t-Test Independent ทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียน
ของกลุมทดลอง และกลุมควบคุม ซึ่งมีสตรดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 346)
                                    ู

                                             x1 − x 2
                       t=
                             (n 1 − 1)s12 + (n 2 − 1)s 22 ⎡ 1  1⎤
                                      n1 + n 2 − 2       ⎢n + n ⎥
                                                         ⎣ 1   2 ⎦




           df         = n1 + n2 - 2

        เมื่อ t       = คาทีที่ใชทดสอบ
           x1         = คะแนนเฉลี่ยของกลุมทดลอง
           x2         = คะแนนเฉลี่ยของกลุมควบคุม
           n1         = จํานวนนักเรียนในกลุมทดลอง
            n2        = จํานวนนักเรียนในกลุมควบคุม
           s12        = คาความแปรปรวนของคะแนนของกลุมทดลอง
           s 22       = คาความแปรปรวนของคะแนนของกลุมควบคุม
           df         = องศาแหงความอิสระ

More Related Content

What's hot

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1nakaenoi
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2Aroonswat
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์Wichai Likitponrak
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศWichai Likitponrak
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05jirupi
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง kasetpcc
 

What's hot (20)

10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
8บทที่4
8บทที่4 8บทที่4
8บทที่4
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
วิจัยในชั้นเรียน ครูคิว2
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
วิจัยในชั้นเรียนเจตคติวิทยาศาสตร์
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
190071010142559is
190071010142559is190071010142559is
190071010142559is
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
วิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศวิจัยอนามัยเพศ
วิจัยอนามัยเพศ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 

Viewers also liked

4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัยkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6krupornpana55
 
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผลภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลkrupornpana55
 
ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4krupornpana55
 
ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3krupornpana55
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 

Viewers also liked (9)

1ปก
1ปก1ปก
1ปก
 
4สารบัญ
4สารบัญ4สารบัญ
4สารบัญ
 
4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย4สารบัญตารางวิจัย
4สารบัญตารางวิจัย
 
ภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docxภาคผนวก ข.6.1docx
ภาคผนวก ข.6.1docx
 
ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6ภาคผนวก ข 6.6
ภาคผนวก ข 6.6
 
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผลภาคผนวก ค  วิเคราะห์ผล
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผล
 
ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4ภาคผนวก ข 6.4
ภาคผนวก ข 6.4
 
ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3ภาคผนวก ข.6.3
ภาคผนวก ข.6.3
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 

Similar to 7บทที่3

แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนAj Ob Panlop
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ JeeraJaree Srithai
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Panit Jaijareun
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 

Similar to 7บทที่3 (20)

แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียนวิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
วิธีการเขียนวิจัยในชั้นเรียน
 
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ 03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
03การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

7บทที่3

  • 1. บทที่ 3 วิธีดําเนินการวิจัย การวิจัยครั้งนี้ เปนการวิจยเชิงทดลอง (Experimental Research) มีวัตถุประสงคเพื่อ ั สรางสื่อประสมใหมีประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ 80/80 และเพื่อเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระหวางการสอนโดยใชสอประสมและการสอนแบบปกติ เรื่อง ่ื การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ซึ่งผูวิจัยได ้ ดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ประชากรและกลุมตัวอยาง 2. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 3. การดําเนินการทดลอง 4. การวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากรที่ใชในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จํานวน 4 หองเรียน 108 คน 2. กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ นการวิ จั ย ครั้ ง นี้ ผู วิ จั ย ได ทํ า การสุ ม อย า งง า ย (Simple Random Sampling) จากประชากรโดยวิธีการจับฉลาก โดยใชหองเรียนเปนหนวยการสุม สุมครั้งที่ 1 สุมมา 2 หองจากจํานวน 4 หอง เพื่อใชเปนกลุมตัวอยาง ไดหอง ม.1/2 และหอง ม.1/3 รวมจํานวน 54 คน
  • 2. 42 สุมครั้งที่ 2 สุมจากกลุมตัวอยาง 2 หองเรียนเพื่อใชเปนกลุมทดลอง สุมได หอง ม.1/2 จํานวน 27 คน เปนกลุมทดลอง และที่เหลืออีก 1 หอง คือ หอง ม.1/3 จํานวน 27 คน ใหเปนกลุมควบคุม สุมครั้งที่ 3 จากที่เหลือจากการสุมกลุมตัวอยาง คือ หอง ม.1/1 กับ 1/4 สุมมา  จํานวน 1 หองเรียน เพื่อใชเปนกลุมทดลองหาประสิทธิภาพของสื่อประสมในขั้นทดลอง รายบุคคล จํานวน 3 คน และขั้นทดลองกลุมเล็ก จํานวน 9 คน คือหอง ม.1/4 จํานวน 27 คน แตใชทดลองหาประสิทธิภาพเพียง 12 คน ที่เหลือ 1 หอง คือหอง ม.1/1 ใช ทดลองหาประสิทธิภาพขั้นทดลองภาคสนาม จํานวน 27 คน 3. กลุมนักเรียนที่ใชในการหาคุณภาพแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เปนกลุมนักเรียนภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 จํานวน 2 หอง ที่เคยผานการเรียนเรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน มาแลว คือหอง ม.3/1 จํานวน 36 คน และหอง ม.2/1 จํานวน 34 คน เครื่องมือทีใชในการวิจัย ่ เครื่องมือที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ เปนเครื่องมือที่ผูวิจัยสรางขึ้นประกอบดวย 1. สื่อประสม 2. แผนการจัดการเรียนรู 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สื่อประสม การสรางสื่อประสมผูวิจัยไดดําเนินการ ดังนี้ 1. ศึกษาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู แกนกลาง วิเคราะหเนื้อหา จํานวนคาบเรียน
  • 3. 43 2. ศึกษาหลักการแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของเกี่ยวกับสื่อประสม ไดแก ความหมายของสื่อประสม ประเภทของสื่อประสม ลักษณะของสื่อประสม และ ประโยชนของสื่อประสม 3. นําขอมูลที่ไดจากขอ 1-2 มาวิเคราะหเนื้อหาและแบงเนื้อหาเปนหนวยยอยให สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูโดยแบงเนื้อหาเปน 5 หนวยยอย ดังนี้ หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา จํานวน 1 คาบ หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ จํานวน 1 คาบ หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน จํานวน 1 คาบ หนวยยอยที่ 4 การถายโอนความรอนในชีวิตประจําวัน จํานวน 1 คาบ หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน จํานวน 2 คาบ รวมจํานวนคาบทั้งหมด จํานวน 6 คาบ 4. วางแผนการสรางสื่อประสม ลักษณะสื่อประสมที่สรางประกอบดวยสื่อ ประสม ดังนี้ 4.1 สื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย ประกอบการเรียนการสอน จํานวน 1 หนวยยอย คือ หนวยยอยที่ 5 4.2 สื่อประสมสวนที่เปน power point ประกอบการเรียนการสอน จํานวน 4 หนวยยอย คือ หนวยยอยที่ 1-4 4.3 สื่อประสมที่เปนเอกสารสิ่งพิมพ ใชจัดกิจกรรมประกอบการเรียนการสอน ทั้ง 5 หนวยยอย 5. ออกแบบโครงรางสื่อประสม แลวนําไปปรึกษาผูเชี่ยวชาญเพื่อขอคําแนะนํา รูปแบบ และเนื้อหาของสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย power point และ เอกสาร ที่เหมาะสม 6. ดําเนินการสรางสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย power point และ เอกสาร ตามโครงรางที่เขียนไว มีขั้นตอนดังนี้ 6.1 บทเรียนมัลติมีเดีย เรือง การถายโอนพลังงานความรอน ผูวิจัยได ่ ดําเนินการศึกษา และคนควา ดังนี้
  • 4. 44 1) กําหนดวัตถุประสงคในการพัฒนาบทเรียนมัลติมีเดีย กําหนดหัวเรื่อง วิเคราะหเนื้อหา 2) ออกแบบตัวอักษร ภาพ เสียง ในบทเรียนมัลติมีเดีย 3) ออกแบบการเชื่อมโยงบทแตละสวนวาจากไหนไปไหนสัมพันธกัน อยางไร การเดินหนาถอยหลัง ในบทเรียนมัลติมีเดีย 4) ออกแบบปุมสัญลักษณ ตัวอักษร ฉากหลัง สี เสียง และสวนประกอบที่ ละเอียดออนตางๆ ใหกลมกลืนกัน ในบทเรียนมัลติมเี ดีย 5) การจัดสราง ขั้นตอนการสรางตั้งแตการจัดวางรูปแบบบนคอมพิวเตอร การนํา ภาพนิ่งเขามาใช การตกแตงแกไขภาพ การทําภาพ 2 มิติ 3 มิติ หรือภาพเคลื่อนไหว โดยจัดเปนกราฟก ไฟลในรูปแบบตางๆ เชน งานวีดีทัศน การถายทํา การตัดตอ การตกแตง แทรกตัวอักษร ทุกชวงใหอยูในรูปของไฟลทางคอมพิวเตอร สุดทาย ออโตริ่ง (Authoring) เปนขั้นตอนสุดทายในการนําเสนอขอมูลที่เปนคอมพิวเตอร ในบทเรียนมัลติมีเดีย 6) ทดสอบโปรแกรมในบทเรียนมัลติมีเดีย โดยมีจุดประสงคในการ ทดสอบเนื้อหาวาสมบูรณตามที่ออกแบบหรือไม เพื่อหาขอผิดพลาดของโปรแกรมหากมี ขอผิดพลาดในแตละขั้นตอนก็จะนําไปแกไขใหมจนสมบูรณ และบันทึกสื่อเพื่อเผยแพร ตอไป 6.2 power point ประกอบการเรียนการสอน เรื่อง การถายโอนพลังงาน ความรอน ผูวิจัยไดดําเนินการศึกษา และคนควา ดังนี้ 1) กําหนดวัตถุประสงคในการสราง 2) วิเคราะหเนื้อหา กําหนดชื่อเรื่อง กิจกรรมตามแนวทางของสถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 3) กําหนดจุดประสงค วิธทํา วัสดุอุปกรณ ของกิจกรรม ขอคําถาม ี อภิปรายหลังกิจกรรม รูปแบบการบันทึกกิจกรรม ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร 4) ดําเนินการสรางตามที่วางแผนและออกแบบไว
  • 5. 45 6.3 สื่อประสมสวนที่เปนเอกสาร เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ผูวิจัย ไดดําเนินการศึกษา และคนควา ดังนี้ 1) กําหนดวัตถุประสงคในการสราง 2) วิเคราะหเนื้อหา กําหนดชื่อเรื่อง กิจกรรมตามแนวทางของสถาบัน สงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 3) กําหนดจุดประสงค วิธีทํา วัสดุอุปกรณ ของกิจกรรม ขอคําถาม อภิปรายหลังกิจกรรม รูปแบบการบันทึกกิจกรรม ตามวิธีการทางวิทยาศาสตร 4) ดําเนินการสรางตามที่วางแผนและออกแบบไว 7. นําสื่อประสม ไดแกสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย Power Point ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเอกสาร ที่สรางเสร็จแลวเสนอ ผูเชี่ยวชาญเพื่อประเมินความสอดคลองระหวางสื่อจุดประสงคการเรียนรูกับสื่อประสม จํานวน 5 ขอ พบวาไดคาความสอดคลองเทากับ 1.00 และใหผเู ชี่ยวชาญประเมินคุณภาพ  ของสื่อประสมตามมาตรประมาณคา 5 ระดับ ของลิเคิรท (Likert) ดังนี้ ระดับ 5 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมมากที่สุด ระดับ 4 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมมาก ระดับ 3 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมปานกลาง ระดับ 2 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมนอย ระดับ 1 หมายถึง สอดคลอง/เหมาะสมนอยที่สุด ในการประเมินคุณภาพของสื่อประสมแบงเปน 4 ดาน คือ ดานที่ 1 ประเมินคุณภาพสื่อประสมในสวนที่เปนบทเรียนมัลติมีเดีย จํานวน 10 ขอ ดานที่ 2 สื่อ ประสมในสวนที่เปน Power Point ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน จํานวน 10 ขอ ดานที่ 3 สื่อประสมในสวนที่เปนเอกสาร จํานวน 10 ขอ และดานที่ 4 ประเมินการวัด และประเมินผล จํานวน 5 ขอ ซึ่งผลการประเมินคุณภาพของสื่อประสมจากผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน มีคะแนนเฉลี่ยรายขออยูในชวง 3.67-5.00 และคาเฉลี่ยรวม เทากับ 4.66 อยูในระดับคุณภาพมากที่สุด (ภาคผนวก ข) พบวา บทเรียนมัลติมีเดียบางเฟรมตัวอักษร เล็กไป เนื้อหาบางเฟรมมากเกินไป บางเฟรมมีเสียงทับซอนกัน
  • 6. 46 8. ปรับปรุงสื่อประสม ในสวนที่บกพรองตามคําแนะนําจากผูเชี่ยวชาญกอน นําไปหาประสิทธิภาพ 9. นําสื่อประสม ที่ไดปรับปรุงแกไขแลวในขอ 8 ไปทดลองใชขั้นทดลอง รายบุคคล กับนักเรียนหอง ม.1/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียน ทุงยาวผดุงศิษย จํานวน 3 คน ซึ่งเปนนักเรียนที่ไมใชกลุมตัวอยาง โดยคัดเลือกนักเรียน ที่เรียนออน จํานวน 1 คน นักเรียนทีเ่ รียนปานกลาง จํานวน 2 คน มาทดลองหา ประสิทธิภาพในเบื้องตน เพื่อสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน คะแนนผลการ เรียนระหวางเรียน และคะแนนจากการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบวา สื่อประสมมีจุดบกพรองหลายประการ เชน การบรรยายเสียงในบทเรียนมัลติมีเดียยังมี บางเฟรมเสียงบรรยายซ้ําซอนกัน การเชื่อมโยงเนื้อหาบางเฟรมยังผิดพลาด รูปภาพบาง รูปไมชัด การเคลื่อนไหวตัวอักษรคนละแบบกัน เอกสารสื่อประสมมีจํานวนบรรทัดให นักเรียนทํากิจกรรมนอยเกินไปในบางกิจกรรม ผูวิจัยไดปรับปรุงแกไขกอนนําไปใช  ทดลองกับกลุมเล็ก 10. ขั้นทดลองกลุมเล็ก ผูวิจัยไดนําสื่อประสมไปทดลองใชกบนักเรียนหอง ั ม.1/4 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จํานวน 9 คนที่ไมใชกลุม  ตัวอยางที่เรียนออน เรียนปานกลาง และเรียนเกง คละกัน ใหผูเรียนทํากิจกรรมตามสื่อ ประสมหลังจากนั้น ทําการซักถามความเขาใจ และความชัดเจนของสื่อ พบวาสื่อประสม บางตอนยังบกพรอง เรื่องของการเชื่อมโยงเนื้อหาในบทเรียนมัลติมีเดีย ผูวิจัยไดนํา ขอบกพรองมาปรับปรุงแกไข และนําไปใชทดลองภาคสนามตอไป 11. ขั้นทดลองภาคสนาม ผูวิจัยไดนําสื่อประสมไปทดลองใชกับนักเรียน หอง ม.1/1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จํานวน 27 คน ที่ไมใช กลุมตัวอยางที่เรียนออน เรียนปานกลาง และเรียนเกง คละกัน ใหผูเรียนทําตาม สื่อประสมหลังจากนั้น ทําการซักถามความเขาใจ และความชัดเจนของสื่อ พบวาสื่อ ประสม มีบางคําพิมพผิด การเชื่อมโยงเนื้อหาบกพรองเพียงเล็กนอย 12. ปรับปรุงพัฒนาขอบกพรอง พรอมจัดทําสื่อประสมชุดสมบูรณเพื่อนําไปใช ในการทดลองกับกลุมทดลอง และเก็บขอมูลตอไป
  • 7. 47 แผนการจัดการเรียนรูโดยใชสื่อประสม แผนการจัดการเรียนรูโดยใชส่อประสม เปนแผนการจัดการเรียนรูที่ผูวิจัย ื สรางขึ้นเพื่อใชจัดการเรียนการสอน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ตัวชี้วัด และมาตรฐานการเรียนรูตรงตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และมีเนื้อหาสอดคลองกับตัวชี้วัดที่ผูวิจัย สรางขึ้นประกอบการสอนใหผูเรียนมีความรูความเขาใจ และทักษะการเรียนรูตาม ธรรมชาติวิชา ซึ่งดําเนินการตามลําดับดังนี้ 1. ศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ หลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ้ โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 2. ศึกษาหลักการ แนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับสื่อประสม เพื่อนําหลักการแนวคิด ทฤษฎีดังกลาวมาใชในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู 3. ศึกษาเรื่องของกรอบเวลา จากปฏิทินวิชาการโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย และ เนื้ อ หายึด ตามแนวทางการจั ด การเรีย นรู ต ามเอกสาร และหนั งสื อเรี ย นของสถาบั น สงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 4. ศึกษาวิธีการสรางแผนการจัดการเรียนรูจากเอกสารประกอบหลักสูตร ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 5. ดําเนินการสรางแผนการจัดการเรียนรูโดยใชสอประสม เรื่อง การถายโอน ื่ พลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชันมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยแตละแผนประกอบดวย ้ ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู ดังตอไปนี้ ขั้นนําเขาสูบทเรียน ขั้นดําเนินกิจกรรม การเรียนการสอน ขั้นสรุป จํานวน 5 แผน ใชเวลาเรียนทั้งหมด 6 คาบ ดังนี้ แผนที่ 1 หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา จํานวน 1 คาบ แผนที่ 2 หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ จํานวน 1 คาบ แผนที่ 3 หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน จํานวน 1 คาบ แผนที่ 4 หนวยยอยที่ 4 การถายโอนความรอนในชีวิตประจําวัน จํานวน 1 คาบ แผนที่ 5 หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน จํานวน 2 คาบ
  • 8. 48 6. กําหนดสื่อ และเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรูที่ใชในแตละแผนการจัดการเรียนรู โดยคํานึงถึง ความสอดคลองระหวางกิจกรรมที่ทา และสื่อที่ใชประกอบการจัดการเรียนรู ํ ดังนี้ ในการทํากิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร ใชสื่อประสมสวนที่เปนเอกสาร กับ power point ประกอบการจัดกิจกรรม และวัสดุ อุปกรณ สารเคมี ประกอบการทํา กิจกรรมแตละกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรูหองปฏิบติการวิทยาศาสตร ในการศึกษา ั องคความรูเนื้อหาบทเรียน ใชสื่อบทเรียนมัลติมเี ดีย โดยใชแหลงเรียนรูหองปฏิบัติการ คอมพิวเตอร เนื้อหาที่ใชจัดกิจกรรม ประกอบดวย 5 หนวยยอย จํานวน 5 แผน 7. นําแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 5 แผนใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน (รายชื่อ ผูเชี่ยวชาญ ดูในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลองระหวางแผนการจัดการเรียนรูกับ จุดประสงคการเรียนรู ดังนี้ ให ค ะแนน +1 ถ า เห็ น ว า แผนการจั ด การเรี ย นรู มี ค วามสอดคล อ งกั บ จุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองกับ จุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน -1 ถาเห็นวาแผนการจัดการเรียนรูไมสอดคลองกับจุดประสงค การเรียนรู ผูเชียวชาญไดใหขอเสนอวา ควรมีแนวคําตอบในการทํากิจกรรมของแผน ่ การจัดการเรียนรูทกแผนุ 8. ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญโดยมีแนว คําตอบของกิจกรรมทุกกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู และตาม power point ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 9. นํา แผนการสอนที่ ปรั บ ปรุง แล วเขี ย นเป น ฉบั บจริ งเพื่ อนํ า ไปสอนกั บ กลุ ม ทดลอง ระหวางวันที่ 26 ธันวาคม 2554-6 มกราคม 2555
  • 9. 49 แผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ ผูวิจัยไดสรางแผนการจัดการเรียนรูทมีกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหนังสือเรียน ี่ ของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ซึ่งดําเนินการตามลําดับดังนี้ 1. ศึกษาและวิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 และ หลักสูตรสถานศึกษา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ระดับชันมัธยมศึกษาปที่ 1 ้ โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย จังหวัดตรัง สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13 2. ศึกษาเรื่องกรอบเวลา จากปฏิทินวิชาการโรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย และเนื้อหา ยึดตามแนวทางการจัดการเรียนรูตามเอกสาร และหนังสือเรียนของสถาบันสงเสริม การสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี 3. ศึกษาวิธีการสรางแผนการจัดการเรียนรูจากเอกสารประกอบหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 4. เขียนแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โดยแตละแผนประกอบดวยขั้นตอนการจัด กิจกรรมการเรียนรู ดังตอไปนี้ ขั้นนําเขาสูบทเรียน ขั้นดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอน ขั้นสรุป 5. กําหนดสื่อ และเนื้อหา กิจกรรมการเรียนรูที่ใชในแตละแผนการจัดการเรียนรู โดยคํานึงถึง ความสอดคลองระหวางกิจกรรมที่ทา และสื่อที่ใชประกอบการจัดการเรียน ํ การสอน ดังนี้ ในการทํากิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตรและศึกษาเนื้อหาบทเรียน ใชหนังสือเรียนของสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี และวัสดุ อุปกรณ สารเคมี ประกอบการทํากิจกรรมแตละกิจกรรมโดยใชแหลงเรียนรู หองปฏิบัตการวิทยาศาสตร ประกอบดวย 5 หนวยยอย จํานวน 5 ิ 6. นําแผนการจัดการเรียนรู จํานวน 5 แผนใหผูเชี่ยวชาญ จํานวน 3 ทาน (รายชื่อ ผูเชี่ยวชาญ ดูในภาคผนวก ก) ประเมินความสอดคลองระหวางแผนการจัดการเรียนรูกับ จุดประสงคการเรียนรู ดังนี้ ใหคะแนน +1 ถาเห็นวาแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองกับ  จุดประสงคการเรียนรู
  • 10. 50 ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาแผนการจัดการเรียนรูมีความสอดคลองกับ จุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน -1 ถาเห็นวาแผนการจัดการเรียนรูไมสอดคลองกับจุดประสงค การเรียนรู ผูเชียวชาญไดใหขอเสนอวา ควรมีแนวคําตอบในการทํากิจกรรมของแผนการ ่ จัดการเรียนรูทุกแผน  7. ปรับปรุงแกไขแผนการจัดการเรียนรูตามคําแนะนําของผูเชี่ยวชาญโดยมีแนว คําตอบของกิจกรรมทุกกิจกรรมในแผนการจัดการเรียนรู และตาม power point ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 8. นํา แผนการสอนที่ ปรั บ ปรุง แล วเขี ย นเปน ฉบั บจริ งเพื่ อนํ า ไปสอนกับ กลุ ม ควบคุม ระหวางวันที่ 26 ธันวาคม 2554-6 มกราคม 2555 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ผูวิจัยไดดําเนินการสราง โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 1. ศึกษาทฤษฎี และหลักการสรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. สรางตารางวิเคราะหเนื้อหา จุดประสงคการเรียนรูของเนื้อหาที่ใชในการ ทดลอง จํานวนขอคําถาม เพื่อใชในการทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน…………. . 3. สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความ รอนเปนขอสอบปรนัยชนิด 4 ตัวเลือก จํานวน 50 ขอ ใหครอบคลุมเนื้อหาและ จุดประสงคที่กําหนด ไดขอคําถาม ดังนี้ จุดประสงคที่ 1 หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา จํานวน 10 ขอ จุดประสงคที่ 2 หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ จํานวน 10 ขอ จุดประสงคที่ 3 หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน จํานวน 5 ขอ จุ ด ประสงค ที่ 4 หน ว ยย อ ยที่ 4 การถ า ยโอนความร อ นในชี วิ ต ประจํ า วั น จํานวน 8 ขอ
  • 11. 51 จุดประสงคที่ 5 หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน จํานวน 17 ขอ รวมทั้งหมด 50 ขอ 4. นําขอสอบที่สรางขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญประเมินความสอดคลองระหวางขอ คําถามกับจุดประสงคการเรียนรู โดยกําหนดคาคะแนนความสอดคลอง ดังนี้ ใหคะแนน +1 ถาเห็นวาขอคําถามมีความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาขอคําถามมีความสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู ใหคะแนน -1 ถาเห็นวาขอคําถามไมสอดคลองกับจุดประสงคการเรียนรู พบวาจํานวนขอคําถาม 48 ขอ ที่ผูเชี่ยวชาญเห็นวาสอดคลองกับจุดประสงค การเรียนรู มีคาความสอดคลอง (IOC) มากกวาหรือเทากับ 0.5 ขอคําถามรายขอ มีคา ความสอดคลอง (IOC) ตั้งแต 0.67-1.00 5. นําขอสอบจํานวน 48 ขอจากขอ 4 ไปทดลองทดสอบกับนักเรียนที่ผาน การเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ซึ่งไมใชกลุมตัวอยาง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 คือหอง ม.3/1จํานวน 36 คน โดยใชเวลาในการทดสอบ 60 นาที 6. วิเคราะหขอสอบ แลวคัดเลือกขอสอบที่มีความยาก (P) ตั้งแต 0.20 ถึง 0.80  และคาอํานาจจําแนก (r) ตั้งแต 0.20 ขึ้นไป ไดจํานวนขอคําถามที่ใชได จํานวน 42 ขอ ผูวิจัยคัดเลือกขอสอบเพียง 40 ขอ มาหาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบทั้งฉบับ โดยใช วิธของคูเดอร วิชารดสัน(Kuder Richardson) สูตร KR-20 (Kuder Richardson-20) ไป ี ทดลองทดสอบกับนักเรียนที่ผานการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ซึ่งไมใช  กลุมตัวอยาง ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 คือหอง ม.2/1 จํานวน 34 คน โดยใชเวลาใน การทดสอบ 50 นาที พบวาขอสอบทั้งฉบับมีคาความเชื่อมั่น (Alpha) เทากับ 0.81 7. นําขอสอบที่ผานการสราง และหาคุณภาพจาก ขอ 6 ไปจัดทําเปนแบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนฉบับจริง จํานวน 40 ขอ เพื่อไปใชในการเก็บรวบรวมขอมูล กับกลุมตัวอยางตอไป
  • 12. 52 การดําเนินการทดลอง ในการดําเนินการทดลองเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล โดยใชแบบแผนการทดลอง ชนิด The Posttest-Only Control Group Design ผูวิจัยไดดําเนินการเปรียบเทียบระหวาง กลุมทดลองที่สอนโดยใชสื่อประสมกับกลุมควบคุมที่สอนแบบปกติ ดังนี้ 1. ชี้แจงการสอนกับนักเรียน เรื่องการถายโอนพลังงานความรอน ประกอบดวย 5 หนวยยอย คือ หนวยยอยที่ 1 การถายโอนความรอนของน้ํา หนวยยอยที่ 2 การถายโอนความรอนของโลหะ หนวยยอยที่ 3 อุณหภูมิกับการถายโอนความรอน หนวยยอยที่ 4 การถายโอนความรอนในชีวิตประจําวัน หนวยยอยที่ 5 การถายโอนพลังงานความรอน ใชเวลาในการจัดกิจกรรม ทั้งหมด 6 คาบ 2. จัดปฐมนิเทศนักเรียนเพื่อทําความเขาใจกับนักเรียนถึงกระบวนการเรียนรู บทบาทของนักเรียน เปาหมายของการเรียน และวิธีการประเมินผลการเรียนรูในการ ทดลองนี้ 3. ดําเนินการทดลองสอนกลุมตัวอยางดวยผูวิจัยเองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2554 โรงเรียนทุงยาวผดุงศิษย โดยทําการสอนกลุมตัวทดลองดวยแผนการจัดการเรียนรู  โดยใชสื่อประสม และทําการสอนกลุมควบคุมดวยแผนการจัดการเรียนรูแบบปกติ ใน เนื้อหาเดียวกัน ระยะเวลาในการสอนเทากัน คือจํานวน 5 แผนการจัดการเรียนรู 6 คาบ คาบละ 50 นาที ดังนี้ กลุมทดลอง (หอง ม.1/2) สัปดาหที่ 1 ครั้งที่ 1 วันจันทรที่ 26 ธันวาคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น. ครั้งที่ 2 วันจันทรที่ 26 ธันวาคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 09.25-10.15 น. ครั้งที่ 3 วันพุธที่ 28 ธันวาคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น.
  • 13. 53 สัปดาหที่ 2 ครั้งที่ 4 วันพุธที่ 4 มกราคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 09.25-10.15 น. ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม 2554 คาบที่ 1-2 เวลา 08.30-10.15 น. กลุมควบคุม (หอง ม.1/3) สัปดาหที่ 1 ครั้งที่ 1 วันอังคารที่ 27 ธันวาคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น. ครั้งที่ 2 วันอังคารที่ 27ธันวาคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 09.25-10.15 น. ครั้งที่ 3 วันพุธที่ 28 ธันวาคม 2554 คาบที่ 2 เวลา 08.30-09.20 น. สัปดาหที่ 2 ครั้งที่ 4 วันพุธที่ 4 มกราคม 2554 คาบที่ 1 เวลา 08.30-09.20 น. ครั้งที่ 5 วันศุกรที่ 6 มกราคม 2554 คาบที่ 1-2 เวลา 08.30-10.15 น. 4. เมื่อสอนครบตามแผนการสอนแลว ใหกลุมตัวอยางทั้ง 2 กลุม ทําการทดสอบ หลังการสอน (Posttest) โดยใชแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ตาราง 3.1 การเปรียบเทียบกิจกรรมการเรียนการสอนระหวางการสอนโดยใชสื่อประสมกับ การสอนแบบปกติ การสอนโดยใชสื่อประสม การสอนแบบปกติ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 1 แจง จุ ด ประสงค ก ารเรีย นรู และ แจงจุดประสงคการเรียนรู การสอนโดยใชสื่อประสม ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 2 นําเขาสูบทเรียน นําเขาสูบทเรียน - ทบทวนความรูเดิม และใช - ทบทวนความรูเดิม และใช คําถามเพื่อนําเขาสูบทเรียน คําถามเพื่อนําเขาสูบทเรียน
  • 14. 54 ตาราง 3.1 (ตอ) การสอนโดยใชสื่อประสม การสอนแบบปกติ ขั้นที่ 3 ดําเนินกิจกรรมการเรียน ขั้นที่ 3 ดําเนินกิจกรรมการเรียน การสอน การสอน กิจกรรมการทดลอง ใชเอกสาร กิจกรรมการทดลอง และศึกษา สื่อประสม Power Point เนื้อหาบทเรียนใชหนังสือเรียน ประกอบการจัดกิจกรรม ของสถาบันสงเสริมการสอน ศึกษาเนื้อหาบทเรียน ใชสื่อ วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี บทเรียนมัลติมีเดีย ใหนักเรียน เปนศูนยกลาง ขั้นที่ 4 สรุป ขั้นที่ 4 สรุป สรุปองคความรูที่ไดจาก สรุปองคความรูท่ไดจาก ี การเรียน การเรียน การวิเคราะหขอมูล การวิจัยครั้งนี้ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูล จากผูเรียนที่เปน กลุมตัวอยาง ไดแกกลุมทอลอง และกลุมควบคุม โดยผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล และวิเคราะหขอมูลดวยตนเอง มีรายละเอียด ดังนี้ 1. หาประสิทธิภาพ ของสื่อประสม เรื่อง การถายโอนพลังงานความรอน ตาม เกณฑ 80/80 โดยใช E1/E2 2. หาคาความสอดคลอง (IOC) ของสื่อประสม แผนการจัดการเรียนรู และขอ คําถามของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3. หาคาเฉลี่ย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินคุณภาพของสื่อประสม 4. หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาคา ความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และหาคาความเชื่อมั่น (Alpha) ตามสูตร KR-20
  • 15. 55 5. หาคา t-Test Dependent เปรียบเทียบผลสัมฤทธิหลังเรียนของกลุมทดลอง และ ์ กลุมควบคุม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. ใช E1/E2 ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel ใช E1/E2 หาประสิทธิภาพของสื่อประสม ตามเกณฑ 80/80 (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 325) ดังนี้ ∑ X × 100 E1 = N A เมื่อ E1 = ประสิทธิภาพของกระบวนการ ∑X = ผลรวมของคะแนนที่ไดจากการวัดระหวางเรียน N = จํานวนนักเรียน A = คะแนนเต็มจากการวัดระหวางเรียน ∑ Y × 100 E2= N B เมื่อ E2 = ประสิทธิภาพของผลลัพธ ไดจากคะแนนเฉลี่ยของ การทําแบบทดสอบหลังเรียนของผูเรียนทั้งหมด ∑Y = ผลรวมของคะแนนที่ไดจากการทดสอบหลังเรียน B = คะแนนเต็มของการสอบหลังเรียน N = จํานวนนักเรียน
  • 16. 56 2. ใช IOC ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel ใช IOC หาความสอดคลอง ของสื่อประสม แผนการจัดการเรียนรู และขอ คําถามของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญ โดยใชสูตรดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 323) ∑R IOC = N เมื่อ IOC = ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับผลการเรียนรูที่คาดหวัง ∑R = ผลรวมของคะแนนของผูเชี่ยวชาญ N = จํานวนผูเชี่ยวชาญ R = คะแนนของผูเชี่ยวชาญ 3. หาคาเฉลีย ( X ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel และ ่ SPSS for Windows หาคาเฉลี่ย ( ) คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินคุณภาพของสื่อประสม 3.1 หาคาเฉลี่ย ( X ) ซึ่งมีสูตรดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 345) X = ∑X n เมื่อ X = คะแนนเฉลี่ย ∑X = ผลรวมของคะแนนทั้งหมด n = จํานวนขอมูลทั้งหมด
  • 17. 57 3.2 หาคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของแบบประเมินคุณภาพของสื่อประสม ซึ่งใชสูตร ดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 346) n ∑ X 2 − (∑ X ) 2 S.D. = n (n - 1) เมื่อ S.D. = คาความเบี่ยงเบนมาตรฐานของคะแนน ∑ X2 = ผลรวมของคะแนนแตละตัวยกกําลังสอง (∑ X ) 2 = ผลรวมของคะแนนทั้งหมดยกกําลังสอง n = จํานวนนักเรียน 4. หาคุณภาพของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยหาคาความยากงาย (p) คาอํานาจจําแนก (r) และหาคาความเชื่อมั่น (Alpha) ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Microsoft Excel และSPSS for Windows 4.1 หาคาความยากงาย (p) ซึ่งมีสูตร ดังนี้ (กรมวิชาการ, 2545, หนา 85) R P= N เมื่อ P = ความยาก R = จํานวนนักเรียนที่ตอบขอสอบถูกตอง N = จํานวนผูสอบทั้งหมด
  • 18. 58 4.2 ใช (r) หาคาอํานาจจําแนกของแบบทดสอบซึ่งมีสูตร ดังนี้ (กรมวิชาการ, 2545, หนา 86) Ru − RL r= N เมื่อ r = อํานาจจําแนก Ru = จํานวนผูที่ตอบถูกแตละขอในกลุมสูง RL = จํานวนผูที่ตอบถูกแตละขอในกลุมต่ํา N = จํานวนคนในกลุมสูงหรือกลุมต่ํา 4.3 ใช KR-20 หาคาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ โดยใชสูตร KR–20 ดังนี้ (กรมวิชาการ, 2545, หนา 87) k ⎛ s t − ∑ pq ⎞ 2 r= ⎜ ⎟ k -1 ⎜ ⎝ s2 t ⎟ ⎠ เมื่อ r = ความเที่ยง k = จํานวนขอสอบ p = สัดสวนของผูทําถูกแตละขอ q = 1–p s2 t = ความแปรปรวนของคะแนนที่สอบไดทั้งฉบับ
  • 19. 59 5. หาคา t-Test Independent ทดสอบสมมติฐาน ดวยโปรแกรมสําเร็จรูป SPSS for Windows หาคา t-Test Independent ทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์หลังเรียน ของกลุมทดลอง และกลุมควบคุม ซึ่งมีสตรดังนี้ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2550, หนา 346)  ู x1 − x 2 t= (n 1 − 1)s12 + (n 2 − 1)s 22 ⎡ 1 1⎤ n1 + n 2 − 2 ⎢n + n ⎥ ⎣ 1 2 ⎦ df = n1 + n2 - 2 เมื่อ t = คาทีที่ใชทดสอบ x1 = คะแนนเฉลี่ยของกลุมทดลอง x2 = คะแนนเฉลี่ยของกลุมควบคุม n1 = จํานวนนักเรียนในกลุมทดลอง n2 = จํานวนนักเรียนในกลุมควบคุม s12 = คาความแปรปรวนของคะแนนของกลุมทดลอง s 22 = คาความแปรปรวนของคะแนนของกลุมควบคุม df = องศาแหงความอิสระ