SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
กําหนดการจัดการเรียนรู้
รายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้(I22201)ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557
ของ
นางพรพนา สมัยรัฐ
ตําแหน่งครู วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
1
คํานํา
กําหนดการจัดการเรียนรู้ที่จัดทําขึ้นนี้เพื่อให้ครูผู้สอนได้เตรียมการในการจัดการเรียนรู้
รายวิชาการศึกษาและการสร้างองค์ความรู้ (I 22201) โดยมีการศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จัดทํา
คําอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชากําหนดเวลาเรียน น้ําหนักคะแนน กําหนดทักษะกระบวนการในการ
จัดการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนการเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ากําหนดการจัดการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพ
การเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนต่อไป
นางพรพนา สมัยรัฐ
2
สารบัญ
หน้า
คํานํา 1
หลักการ/ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2551 3
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / เป้าประสงค์ 4
คุณภาพผู้เรียน 6
- เมื่อจบหลักสูตรขั้นพื้นฐาน( ม.3 , ม. 6)
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 7
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7
รายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201)
คําอธิบายรายวิชา ( เอกสารหมายเลข 5/1) 9
โครงสร้างรายวิชา ( เอกสารหมายเลข 6) 10
การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน (เอกสารหมายเลข 7) 13
โครงการสอนรายวิชา (เอกสารหมายเลข 8) 15
ข้อตกลงในการวัด-ประเมินผล (เอกสารหมายเลข 11) 19
- รายละเอียดในการวัดผล
- ภาระงาน/ชิ้นงาน (ที่ใช้ประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน)
3
หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์
ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นใน
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน
เป็นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้
1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้
เป็นเป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความ
เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ
มีคุณภาพ
3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้
สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด
การเรียนรู้
5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
จุดหมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข
มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และ
มีทักษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย
4
4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทาง
วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี
เ ต็มตามศักยภาพ สามารถนําความรู้ ความคิด ความสามารถและ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ที่จําเป็นไปใช้ในการศึกษาศึกเรื่องต่างๆ นําไปใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบ
อาชีพ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและดํารงชีวิตอยู่ร่วมกับ
สังคมได้อย่างมีความสุข มีบรรยากาศ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโยลีที่เหมาะสมและเอื้อต่อ
การเรียนรู้ โดยมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม
พันธกิจของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญวัดผลและเมินผลตามสภาพจริง ตาม
แนวทางการจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยใช้
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและปลูกฝังคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความมีวินัย
ความซื่อสัตย์ ความรับ ผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวมอย่างเหมาะสมสอดคล้อง
ตามความต้องการและศักยภาพของผู้เรียน
3. จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
5
เป้าประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้
กับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา
ความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรม
ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กําหนดสาระสําคัญไว้ดังนี้
1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง
และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ
ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลาย
ของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ
2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ
ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของ
สิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ
3. สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ
เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร
4. แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ
ออกแรงกระทําต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจําวัน
5. พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์
ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม
6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง
ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ
เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ
7. ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และ
ผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสําคัญของเทคโนโลยี
อวกาศ
8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ
หาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์
6
คุณภาพของผู้เรียน
เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
1. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สําคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทํางาน
ของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ
สิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน
สิ่งแวดล้อม
2. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน
รูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
3. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการ
อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง
4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน
ไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์
5. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความสําคัญ
ของเทคโนโลยีอวกาศ
6. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา
เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม
7. ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผน
และลงมือสํารวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้
8. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ
9. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหา
ความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ
10. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้
โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้
11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวันและการ
ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น
12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
ท้องถิ่น
13. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ
คิดเห็นของผู้อื่น
7
สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ
ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ
ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน
และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ
สิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง
พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทํางาน
7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
8
สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ
แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน
สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ
ตัวชี้วัด
๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่
สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี
๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย
โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม
๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ
๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ
สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ
๖. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ
๗. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนําความรู้ที่ได้ไปใช้ใน
สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้
ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน
ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม
๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน
หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
9
คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
I 22201 การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หน่วยกิต
ศึกษา วิเคราะห์การตั้งประเด็น / คําถามในเรื่องที่สนใจ การตั้งสมมติฐาน การค้นคว้า
การแสวงหาความรู้ข้อมูล การออกแบบ การวางแผนรวบรวมข้อมูล การใช้กระบวนการกลุ่ม
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ การสังเคราะห์ การสรุปองค์ความรู้และการเสนอวิธีคิดแก้ปัญหา
ที่เป็นระบบ
ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา / ตั้งคําถามในเรื่องที่สนใจโดยเริ่มจากตนเอง เชื่อมโยงกับชุมชน
ท้องถิ่นและประเทศ ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลโดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ ค้นคว้า แสวงหา
ความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้และร่วมกันเสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติและ
กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์
เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้า แสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภิปราย เปรียบเทียบเชื่อมโยง
องค์ความรู้และมีทักษะการนําเสนอการศึกษาค้นคว้าและนําองค์ความรู้ไปแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เห็น
ประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
ผลการเรียนรู้
1. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเอง ชุมชนท้องถิ่น ประเทศ
2. ตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่ตนเองสนใจ
3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยวิธีการที่เหมาะสม
7. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ
9. เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
รวม 9 ผลการเรียนรู้
เอกสารหมายเลข 5/1
10
ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201)
บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่ 1-3
แผนที่ 1
1
ไขข้อสงสัย
1. ตั้งประเด็นปัญหา
โดยเลือกประเด็นที่
สนใจ เริ่มจากตนเอง
ชุมชน ท้องถิ่น
ประเทศ
2. ตั้งสมมติฐาน
ประเด็นปัญหาที่
ตนเองสนใจ
3. ออกแบบ วางแผน
ใช้กระบวนการ
รวบรวมข้อมูลอย่างมี
ประสิทธิภาพ
- การตั้งคําถามใน
เรื่องที่สนใจเริ่มจาก
ตัวเอง เชื่อมโยงกับ
ชุมชน ท้องถิ่นและ
ประเทศ
- ก า ร
ตั้งสมมติฐานและ
ให้เหตุผลโดยใช้
ความรู้จากศาสตร์
สาขาต่าง ๆ
- การออกแบบ
วางแผน ใช้
กระบวนการ
รวบรวมข้อมูล
9
(คาบที่ 1-9)
20
สัปดาห์ที่ 4-8
แผน 2
2
หลาก
หลายจาก
แหล่งเรียนรู้
4. ศึกษา ค้นคว้า
แสวงหาความรู้
เกี่ยวกับประเด็นที่
เลือกจากแหล่งเรียนรู้
ที่หลากหลาย
การค้นคว้า
แสวงหาความรู้
เกี่ยวกับประเด็นที่
ศึกษานํามาสู่การ
ตั้งสมมติฐานได้
15
(คาบที่10-24)
20
รวม 24 40
สอบกลางภาค 3 20
เอกสารหมายเลข 6
11
สัปดาห์
ที่
ชื่อ
หน่วยการ
เรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
สาระสําคัญ
เวลา
เรียน
(ชั่วโมง)
น้ําหนัก
คะแนน
สัปดาห์ที่
9,11-14
แผน 3
3
เปิดประตูสู่
ความจริง
5. ตรวจสอบความ
น่าเชื่อถือของ
แหล่งที่มาของข้อมูล
ได้
6. วิเคราะห์ข้อ
ค้นพบด้วยสถิติที่
เหมาะสม
การตรวจสอบ
ความน่าเชื่อถือของ
ข้อมูลจะช่วยให้
ข้อมูลที่ได้จากการ
วิเคราะห์มีคุณภาพ
15
(คาบที่ 25-27,
31-42)
20
สัปดาห์ที่
15-18
แผน 4
4
ประมวลทุกสิ่ง
ที่ค้นพบ
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบ
ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ที่
เหมาะสม
7. สังเคราะห์ สรุป
อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ด้ ว ย
กระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด
การแก้ปัญหาอย่าง
เป็นระบบด้วยองค์
ความรู้จากการค้นพบ
9. เห็นประโยชน์
และคุณค่าของ
การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
การวิเคราะห์ข้อ
ค้นพบด้วยวิธีการที่
เหมาะสม
การสังเคราะห์ สรุป
องค์ความรู้ และ
เสนอแนวคิด
การแก้ปัญหาอย่าง
เป็นระบบด้วยองค์
ความรู้จากการ
ค้นพบ เห็น
ประโยชน์และ
คุณค่าของ
การศึกษาค้นคว้า
ด้วยตนเอง
18
(คาบที่ 43-57)
20
รวม 57 80
สอบปลายภาค 3 20
12
อัตราส่วนคะแนน
คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20
K : P : A = 60 : 20 : 20
รวม = 100 คะแนน
คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 24 คะแนน
สอบกลางภาค = 20 คะแนน
คะแนนเก็บหลังสอบกลางภาค = 36 คะแนน
สอบปลายภาค = 20 คะแนน
รวม = 100 คะแนน
13
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน)
ลําดับ
ที่
ตัวชี้วัด /
ผลการเรียนรู้
ลําดับชั่วโมงที่สอน
จํานวนชั่วโมงที่สอน
น้ําหนักผลการเรียนรู้
คะแนนผลการเรียนรู้
คะแนนเก็บ
ด้านความรู้(K)
ด้านทักษะ(P)
คุณลักษณะ(A)
กลางภาค
ปลายภาค
1
แผน
1
1. ตั้งประเด็นปัญหา โดย
เลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจาก
ตนเอง ชุมชน ท้องถิ่น
ประเทศ
2. ตั้งสมมติฐานประเด็น
ปัญหาที่ตนเองสนใจ
3. ออกแบบ วางแผน ใช้
กระบวนการรวบรวมข้อมูล
อย่างมีประสิทธิภาพ
1-9 9 20 100 60 20 20 10 -
2
แผน
2
4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหา
ความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่
เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
10-
24
15 20 100 60 20 20 10 -
3
แผน
3
5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
ของแหล่งที่มาของข้อมูลได้
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วย
สถิติที่เหมาะสม
25-27,
31-42
15 20 100 60 20 20 - 10
4
แผน
4
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วย
วิธีการที่เหมาะสม
7. สังเคราะห์ สรุปองค์
ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด การ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย
องค์ความรู้จากการค้นพบ
9. เห็นประโยชน์และคุณค่า
ของการศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
43-57 18 20 100 60 20 20 - 10
เอกสารหมายเลข 7
14
หมายเหตุ
1. กําหนดน้ําหนักผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้คะแนน 1-5
2. คิดคะแนนผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง = น้ําหนักผลการเรียนรู้ X คะแนนเก็บทั้งหมด
ผลรวมคะแนนน้ําหนักผลการเรียนรู้ทั้งหมด
3. คะแนนเก็บทั้งหมด = K + P + คะแนนกลางภาค + คะแนนปลายภาค
ตัวอย่าง คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 1 = 5 x 90 = 6.9 => 7
65
คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 2 = 2 x 90 = 2.76 => 3
65
15
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้รายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201)
(เพื่อกําหนดทักษะกระบวนการ)
โครงการสอนรายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
สัปดาห์ที่
1-3
แผนที่ 1
ไขข้อ
สงสัย
ไขข้อสงสัย
- การกําหนดประเด็น
ความรู้
- ธรรมชาติของ
ความรู้
- ลักษณะของความรู้
- แหล่งเรียนรู้
- วิธีการสร้างความรู้
1) การสร้าง
ความรู้จากความรู้สึก
2) การสร้าง
ความรู้จากภาษา
3) การสร้าง
ความรู้จากเหตุผล
4) การสร้าง
ความรู้จากอารมณ์
- ทฤษฎีของกลุ่ม
สาระการเรียนรู้
พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ
- ศาสตร์ / สาขาวิชา
ของความรู้
- นักคิด / บิดา
ศาสตร์ของแต่ละ
สาระการเรียนรู้
1. ตั้งประเด็นปัญหา
โดยเลือกประเด็นที่สนใจ
เริ่มจากตนเอง ชุมชน
ท้องถิ่น ประเทศ
2 . ตั้ ง ส ม ม ติ ฐ า น
ประเด็นปัญหาที่ตนเอง
สนใจ
3. ออกแบบ วางแผน
ใช้กระบวนการรวบรวม
ข้อมูลอย่างมี
ประสิทธิภาพ
วิเคราะห์ผู้เรียน
1. วิเคราะห์ผู้เรียน
สัมภาษณ์ และทําแฟ้ม
สะสมงานเป็นการบ้าน
(สัมภาษณ์ต่อนอกเวลา)
2. จัดกลุ่มนักเรียนโดยใช้
ความรู้พื้นฐานก่อนเรียนจาก
ผลการสอบวัดความรู้
พื้นฐาน
3. สิ่งชิ้นงานนําเสนองาน
กลุ่มแนะนําตนเองผ่านเว็บ
และแฟ้มสะสมงาน
รายบุคคล
4. ดูตัวอย่างประเด็นความรู้
จากสาระวิชาพื้นฐาน
5. ร่วมกันวิเคราะห์ประเด็น
ความรู้ ตั้งสมมติฐาน และ
ข้อสันนิษฐานของประเด็น
ความรู้
6. ตั้งคําถามกระตุ้นให้
เหตุผล ความคิดต่างมุม เพื่อ
แก้ไขปัญหาโดยใช้สาขาวิชา
ต่าง ๆ โดยใช้วิธีการโต้แย้ง
สนับสนุนและโต้แย้งคัดค้าน
7. แบ่งกลุ่มนักเรียน
ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจาก
9 คาบ
(คาบที่
1-9)
เอกสารหมายเลข 8
16
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
- หลักการตั้ง
วัตถุประสงค์และ
สมมุติฐาน
- วิธีการนําเสนอ
แห ล่งกา ร เ รียน รู้ต า ม
สาขาวิชาต่าง ๆ
8. นําเสนอข้อมูลจากการ
ค้นคว้า ระบุแหล่งเรียนรู้
ความคิด เหตุผล วิธีการ
แก้ปัญหาในแต่ละสาขาวิชา
9. ร่วมกันสรุปเชื่อมโยงและ
เปรียบเทียบ วิธีการค้นคว้า
หาความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ
สัปดาห์ที่
4-8
แผน 2
หลาก
หลาย
จาก
แหล่ง
เรียนรู้
หลากหลายจาก
แหล่งเรียนรู้
- วิธีการศึกษาค้นคว้า
จากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
- การกําหนดประเด็น
ความรู้จากเรื่องที่
ศึกษาค้นคว้า
- การตั้งสมมติฐาน
4. ศึกษา ค้นคว้า
แสวงหาความรู้เกี่ยวกับ
ประเด็นที่เลือกจาก
แหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
1.ศึกษาวิธีการค้นคว้า/
แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็น
ที่ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย
2.ตรวจสอบความครบถ้วนของ
ข้อมูล/สารสนเทศในประเด็นที่
ศึกษาจากแหล่งสืบค้นข้อมูลที่
หลากหลาย
3.แบ่งกลุ่มนักเรียนฝึกทักษะ
การตรวจสอบข้อมูล/สารสนเทศ
ด้วยตนเอง
4.วางแผนจัดเก็บข้อมูลใน
ประเด็นที่ศึกษา
5.จัดหมวดหมู่ข้อมูล/
สารสนเทศเรียงลําดับตามที่
วางแผนให้เป็นระบบ6.ตรวจทาน
/วิพากษ์นําผลไปปรับปรุง
ข้อมูล/สารสนเทศรายบุคคล
7.นําความรู้จากประเด็นที่ศึกษา
มาตั้งสมมติฐาน
15 คาบ
(คาบที่
10-24)
17
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
สัปดาห์ที่
9,11-14
แผน 3
เปิดประตูสู่ความจริง
- การตรวจความ
น่าเชื่อถือของข้อมูล
- สถิติพื้นฐาน
5. ตรวจสอบความ
น่าเชื่อถือของแหล่งที่มา
ของข้อมูลได้
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบ
ด้วยสถิติที่เหมาะสม
1. ศึกษาการตรวจสอบ
ความน่าเชื่อของข้อมูล
2. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ
ของข้อมูล
3. รวบรวมข้อมูลให้เป็น
ระบบ เตรียมข้อมูล
วิเคราะห์
4. เลือกสถิติพื้นฐานที่
เหมาะสมกับข้อมูลที่
วิเคราะห์
5. วิเคราะห์ข้อมูลด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์
6. ร่วมกันตรวจสอบผลการ
วิเคราะห์ข้อมูล
7. วิพากษ์ผลการวิเคราะห์
ข้อมูลจากการตรวจสอบ
8. นําผลการวิพากษ์ผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลมาปรับ /
พัฒนา
9. รวบรวมผลการวิเคราะห์
ข้อมูลเพื่อนําไปสังเคราะห์
สรุปเป็นองค์ความรู้
15
(คาบที่ 25-
27,
31-42)
สัปดาห์ที่
15-18
แผน 4
ประมวลทุกสิ่งที่
ค้นพบ
- การใช้วิธีการในการ
วิเคราะห์ข้อค้นพบ
- การเปรียบเทียบ /
เชื่อมโยงองค์ความรู้
สังเคราะห์ สรุป
อภิปรายเพื่อให้เห็น
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบ
ด้วยวิธีการที่เหมาะสม
7. สังเคราะห์ สรุปองค์
ความรู้ด้วยกระบวนการ
กลุ่ม
8.เสนอแนวคิด การ
แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ด้วยองค์ความรู้จากการ
1. รวบรวมข้อมูลให้เป็น
ระบบ เตรียมข้อมูล
วิเคราะห์
2. เลือกสถิติที่เหมาะสมกับ
ข้อมูลที่วิเคราะห์
3. วิเคราะห์ข้อมูลด้วย
โปรแกรม
4. ร่วมกันตรวจสอบและ
18
(คาบที่ 43-
57)
18
สัปดาห์/
แผนที่
เนื้อหา ตัวชี้วัด/
ผลการเรียนรู้
กิจกรรม /
กระบวนการเรียนรู้
เวลา
(คาบ)
ประโยชน์และคุณค่า
ของการศึกษาค้นคว้า
ด้วยตัวเอง
- การเสนอแนวคิด
การแก้ปัญหาอย่าง
เป็นระบบด้วยองค์
ความรู้จากการค้นพบ
ค้นพบ
9. เห็นประโยชน์และ
คุณค่าของการศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง
วิพากษ์ผลการวิเคราะห์
ข้อมูล
5. นําผลการวิพากษ์ผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลมาปรับ /
พัฒนา
6. รวบรวมผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนําไป
สังเคราะห์สรุปเป็นองค์
ความรู้
19
ข้อตกลงในการวัดและประเมินผล รายวิชาการศึกษา และสร้างองค์ความรู้ (I22201)
1. รายละเอียดในการวัด-ประเมินผล
อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20
อัตราส่วน คะแนน K : P : A = 60 : 20 : 20
โดยมีรายละเอียดดังนี้
การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของ
เครื่องมือวัด
ตัวชี้วัด/ผลการ
เรียนรู้ข้อที่
เวลาที่ใช้
(นาที/ครั้ง)
ก่อนกลางภาค 40 1. ตรวจชิ้นงาน
แฟ้มสะสมงาน
2. ตรวจ
แบบฝึกหัด
3. สังเกต
พฤติกรรมการ
เรียน การร่วม
อภิปราย
4. ทําแบบทดสอบ
ย่อย
แบบตรวจชิ้นงาน
1. มีองค์ประกอบ
ครบ (ขอบเขตของ
ข้อมูล แผนการ
จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล
เครื่องมือที่ใช้ใน
การเก็บข้อมูล)
2. มีความสัมพันธ์
กั น อ ย่ า ง
ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล
ระหว่างขอบเขต
ข อ ง ข้ อ มู ล
แผนการจัดเก็บ
ข้อมูล เครื่องมือที่
ใช้ในการเก็บข้อมูล
3. สามารถ
นําไปใช้ได้จริง
ตรวจแฟ้มสะสม
งาน
- ความหลากหลาย
ของแหล่งข้อมูล
- กระบวนการ
รวบรวมมีระบบ
ชัดเจน สะดวกต่อ
การใช้ตรวจสอบได้
1-4 แผน 1
9
(คาบที่ 1-9)
แผน 2
15
(คาบที่10-
24)
เอกสารหมายเลข 9
20
การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของ
เครื่องมือวัด
ตัวชี้วัด/ผลการ
เรียนรู้ข้อที่
เวลาที่ใช้
(นาที/ครั้ง)
แบบสังเกต
พฤติกรรม
แบบทดสอบ
กลางภาค 20 ทดสอบ แบบทดสอบ 1-4 90 นาที
หลังกลางภาค 40 1. ตรวจชิ้นงาน
แฟ้มสะสมงาน
2. ตรวจ
แบบฝึกหัด
3. สังเกต
พฤติกรรมการ
เรียน การร่วม
อภิปราย
4. ทําแบบทดสอบ
ย่อย
แบบตรวจชิ้นงาน
1. มีองค์ประกอบ
ครบ (ขอบเขตของ
ข้อมูล แผนการ
จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล
เครื่องมือที่ใช้ใน
การเก็บข้อมูล)
2. มีความสัมพันธ์
กันอย่าง
สมเหตุสมผล
ระหว่างขอบเขต
ของข้อมูล
แผนการจัดเก็บ
ข้อมูล เครื่องมือที่
ใช้ในการเก็บข้อมูล
3. สามารถ
นําไปใช้ได้จริง
ตรวจแฟ้มสะสม
งาน
- ความหลากหลาย
ของแหล่งข้อมูล
- กระบวนการ
รวบรวมมีระบบ
ชัดเจน สะดวกต่อ
การใช้ตรวจสอบได้
5-9
21
การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของ
เครื่องมือวัด
ตัวชี้วัด/ผลการ
เรียนรู้ข้อที่
เวลาที่ใช้
(นาที/ครั้ง)
แบบสังเกต
พฤติกรรม
แบบทดสอบ
คุณลักษณะ - สังเกต แบบสังเกต
แบบบันทึก
1-9 บูรณาการ
ตลอด
ภาคเรียน
ปลายภาค 20 ทดสอบ แบบทดสอบ 1-9 90 นาที
รวม 100 คะแนน
2. กําหนดภาระงาน
ในการเรียนรายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201) ได้กําหนดให้นักเรียนทํากิจกรรม/ปฏิบัติงาน
(ชิ้นงาน) ดังนี้
ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กําหนดส่ง
วัน/เดือน/ปีกลุ่ม เดี่ยว
1 1. การออกแบบโครงร่าง
การศึกษาค้นคว้า
2. ผลงานที่ปรากฏจริง
1. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือก
ประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเอง
ชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ
2. ตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่
ตนเองสนใจ
3. ออกแบบ วางแผน ใช้
กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่าง
มีประสิทธิภาพ
คาบที่ 1-9
2. - แฟ้มผลงานที่เกิดจาก
การศึกษาค้นคว้า
- สมมติฐาน
4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้
เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่ง
เรียนรู้ที่หลากหลาย
คาบที่ 12-14
22
ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กําหนดส่ง
วัน/เดือน/ปีกลุ่ม เดี่ยว
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
รายบุคคล
5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของ
แหล่งที่มาของข้อมูลได้
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติ
ที่เหมาะสม
คาบที่ 15-17
4. รายงานเชิงวิชาการฉบับ
สมบูรณ์
6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยวิธีการ
ที่เหมาะสม
7. สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้
ด้วยกระบวนการกลุ่ม
8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหา
อย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้
จากการค้นพบ
9. เห็นประโยชน์และคุณค่าของ
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
คาบที่ 18-20
หากนักเรียนขาดส่งงาน แต่ละหน่วย จํานวน 4 หน่วย จํานวนทั้งหมด 9 ตัวชี้วัด (คะแนน K P A
ในใบบันทึกคะแนน) ถ้าส่งงานแต่ละตัวชี้วัดไม่ครบ จะได้รับผลการเรียน “ร” ในรายวิชานี้
ลงชื่อ..............................ครูประจําวิชา ลงชื่อ......................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
(นางพรพนา สมัยรัฐ) (นางอธิชา หมีนโยธา)
ลงชื่อ.....................................รอง/ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ ..................................ผู้อํานวยการสถานศึกษา
( นายดํารงค์ วรรณแรก ) (นายภิญโญ จินตนปัญญา)

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptxTinnakritWarisson
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
1.วิเคราะห์หลักสูตร วิทย์ ม.1 เรื่อง เซลล์
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์  PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
1.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ PPT เเก้ไขได้ ล่าสุด.pptx
 

Viewers also liked

Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56dockrupornpana55
 
Developing
DevelopingDeveloping
DevelopingKru Oon
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอนNichaphon Tasombat
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญาshikapu
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นพัน พัน
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.คkrupornpana55
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตรE-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตรPan Kannapat Hengsawat
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007Thidarat Termphon
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนWichai Likitponrak
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 

Viewers also liked (18)

Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56docSlกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
Slกำหนดการสอนพรพนา 2 วิชา 1 56.5 พ.ค. 56doc
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Developing
DevelopingDeveloping
Developing
 
3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน3 กำหนดการสอน
3 กำหนดการสอน
 
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญารายงานทรัพย์สินทางปัญญา
รายงานทรัพย์สินทางปัญญา
 
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้นรายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
รายงานคอมพิวเตอร์เบื่องต้น
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตรE-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
E-book พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
หลักการเกษตรอินทรีย์ ม.ต้น อช02007
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
รายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ตรายงานอินเทอร์เน็ต
รายงานอินเทอร์เน็ต
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
รวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอนรวมเล่มโครงการสอน
รวมเล่มโครงการสอน
 
คค
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 

Similar to Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค

บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)Nattayaporn Dokbua
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1Wichai Likitponrak
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนปรัชญา จันตา
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศkrupornpana55
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการtassanee chaicharoen
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจkrupanjairs
 

Similar to Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค (20)

5บทที่1
5บทที่1 5บทที่1
5บทที่1
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
Plan e book
Plan e bookPlan e book
Plan e book
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา (แทนตัวเดิม)
 
การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1การแนะนำบทเรียน ม5-1
การแนะนำบทเรียน ม5-1
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลนกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
กิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ป่าชายเลน
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจภูมิศาสตร์ครูปานใจ
ภูมิศาสตร์ครูปานใจ
 

More from krupornpana55

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ krupornpana55
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...krupornpana55
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมkrupornpana55
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกkrupornpana55
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะkrupornpana55
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายkrupornpana55
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็กkrupornpana55
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตยkrupornpana55
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4krupornpana55
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วมkrupornpana55
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุมkrupornpana55
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่าkrupornpana55
 

More from krupornpana55 (20)

รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ รายงานผล  กิจกรรมต่างๆ
รายงานผล กิจกรรมต่างๆ
 
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียนการคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
การคงสภาพโรงเรียนต้นแบบสภานักเรียน
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
ถอดบทเรียนองค์ประกอบที่ 1 การดำเนินการส่งเสริมสภานักเรียน และประชาธิปไตยในโรง...
 
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาวโฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
โฟมบอร์ดห้องเรียนสีขาว
 
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อมบอร์ดสิ่งแวดล้อม
บอร์ดสิ่งแวดล้อม
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
บอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลกบอร์ดพลโลก
บอร์ดพลโลก
 
คุณลักษณะ
คุณลักษณะคุณลักษณะ
คุณลักษณะ
 
การสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่ายการสร้างเครือข่าย
การสร้างเครือข่าย
 
5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก5สิทธิเด็ก
5สิทธิเด็ก
 
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
3คุณธรรมตามวิถีประชาธิปไตย
 
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
ผังการดำเนินการกิจกรรมสภานักเรียนโรงเรียน A4
 
คู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียนคู่มือสภานักเรียน
คู่มือสภานักเรียน
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
2บันทึกรายงานผลการเข้าร่วม
 
1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม1ปกรายงานการประชุม
1ปกรายงานการประชุม
 
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
3ภาพประกอบการอบรม เปล่า
 

Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค

  • 1. กําหนดการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้(I22201)ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557 ของ นางพรพนา สมัยรัฐ ตําแหน่งครู วิทยฐานะชํานาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
  • 2. 1 คํานํา กําหนดการจัดการเรียนรู้ที่จัดทําขึ้นนี้เพื่อให้ครูผู้สอนได้เตรียมการในการจัดการเรียนรู้ รายวิชาการศึกษาและการสร้างองค์ความรู้ (I 22201) โดยมีการศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ตามสาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จัดทํา คําอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชากําหนดเวลาเรียน น้ําหนักคะแนน กําหนดทักษะกระบวนการในการ จัดการเรียนรู้ ตลอดจนการวัดและประเมินผลการเรียนการเรียนรู้ให้เป็นไปตามมาตรฐานการเรียนรู้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หวังเป็นอย่างยิ่งว่ากําหนดการจัดการเรียนรู้จะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพ การเรียนรู้และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนต่อไป นางพรพนา สมัยรัฐ
  • 3. 2 สารบัญ หน้า คํานํา 1 หลักการ/ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 2551 3 วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / เป้าประสงค์ 4 คุณภาพผู้เรียน 6 - เมื่อจบหลักสูตรขั้นพื้นฐาน( ม.3 , ม. 6) สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน 7 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 7 รายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201) คําอธิบายรายวิชา ( เอกสารหมายเลข 5/1) 9 โครงสร้างรายวิชา ( เอกสารหมายเลข 6) 10 การวิเคราะห์ ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน (เอกสารหมายเลข 7) 13 โครงการสอนรายวิชา (เอกสารหมายเลข 8) 15 ข้อตกลงในการวัด-ประเมินผล (เอกสารหมายเลข 11) 19 - รายละเอียดในการวัดผล - ภาระงาน/ชิ้นงาน (ที่ใช้ประเมินเพื่อตัดสินผลการเรียน)
  • 4. 3 หลักการและจุดมุ่งหมายของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกําลังของชาติให้เป็นมนุษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จําเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียน เป็นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สําคัญ ดังนี้ 1. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายสําหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐานของความ เป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2. เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และ มีคุณภาพ 3. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอํานาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา ให้ สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและการจัด การเรียนรู้ 5. เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ 6. เป็นหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม ทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตน ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และ มีทักษะชีวิต 3. มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกําลังกาย
  • 5. 4 4. มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถทาง วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน และมีเจตคติ คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดี เ ต็มตามศักยภาพ สามารถนําความรู้ ความคิด ความสามารถและ ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ที่จําเป็นไปใช้ในการศึกษาศึกเรื่องต่างๆ นําไปใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบ อาชีพ และเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและดํารงชีวิตอยู่ร่วมกับ สังคมได้อย่างมีความสุข มีบรรยากาศ สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโยลีที่เหมาะสมและเอื้อต่อ การเรียนรู้ โดยมีการบริหารงานแบบมีส่วนร่วม พันธกิจของกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญวัดผลและเมินผลตามสภาพจริง ตาม แนวทางการจัดการศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 โดยใช้ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544 2. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมและปลูกฝังคุณลักษณะใฝ่รู้ใฝ่เรียน ความมีวินัย ความซื่อสัตย์ ความรับ ผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวมอย่างเหมาะสมสอดคล้อง ตามความต้องการและศักยภาพของผู้เรียน 3. จัดบรรยากาศการเรียนการสอนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
  • 6. 5 เป้าประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียน ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่เน้นการเชื่อมโยงความรู้ กับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการในการสืบเสาะหา ความรู้ และการแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ทุกขั้นตอน มีการทํากิจกรรม ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับระดับชั้น โดยได้กําหนดสาระสําคัญไว้ดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้าง และหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต และกระบวนการดํารงชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การ ถ่ายทอดทางพันธุกรรม การทํางานของระบบต่าง ๆ ของสิ่งมีชีวิต วิวัฒนาการและความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต และเทคโนโลยีชีวภาพ 2. ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตที่หลากหลายรอบตัว ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ ความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การ ใช้และจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับท้องถิ่น ประเทศ และโลก ปัจจัยที่มีผลต่อการอยู่รอดของ สิ่งมีชีวิตในสภาพแวดล้อมต่าง ๆ 3. สารและสมบัติของสาร สมบัติของวัสดุและสาร แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค การ เปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมีของสาร สมการเคมี และการแยกสาร 4. แรงและการเคลื่อนที่ ธรรมชาติของแรงแม่เหล็กไฟฟ้า แรงโน้มถ่วง แรงนิวเคลียร์ การ ออกแรงกระทําต่อวัตถุ การเคลื่อนที่ของวัตถุ แรงเสียดทาน โมเมนต์การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ ใน ชีวิตประจําวัน 5. พลังงาน พลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน สมบัติและปรากฏการณ์ ของแสง เสียง และวงจรไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กัมมันตภาพรังสีและปฏิกิริยานิวเคลียร์ ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสารและพลังงานการอนุรักษ์พลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม 6. กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก โครงสร้างและองค์ประกอบของโลก ทรัพยากรทาง ธรณี สมบัติทางกายภาพของดิน หิน น้ํา อากาศ สมบัติของผิวโลก และบรรยากาศ กระบวนการ เปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก ปรากฏการณ์ทางธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ 7. ดาราศาสตร์และอวกาศ วิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซี เอกภพ ปฏิสัมพันธ์และ ผลต่อสิ่งมีชีวิตบนโลก ความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ และโลก ความสําคัญของเทคโนโลยี อวกาศ 8. ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะ หาความรู้ การแก้ปัญหา และจิตวิทยาศาสตร์
  • 7. 6 คุณภาพของผู้เรียน เมื่อจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 1. เข้าใจลักษณะและองค์ประกอบที่สําคัญของเซลล์สิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ของการทํางาน ของระบบต่างๆ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีวภาพ ความหลากหลายของ สิ่งมีชีวิต พฤติกรรมและการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตใน สิ่งแวดล้อม 2. เข้าใจองค์ประกอบและสมบัติของสารละลาย สารบริสุทธิ์ การเปลี่ยนแปลงของสารใน รูปแบบของการเปลี่ยนสถานะ การเกิดสารละลายและการเกิดปฏิกิริยาเคมี 3. เข้าใจแรงเสียดทาน โมเมนต์ของแรง การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ในชีวิตประจําวัน กฎการ อนุรักษ์พลังงาน การถ่ายโอนพลังงาน สมดุลความร้อน การสะท้อน การหักเหและความเข้มของแสง 4. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางไฟฟ้า หลักการต่อวงจรไฟฟ้าในบ้าน พลังงาน ไฟฟ้าและหลักการเบื้องต้นของวงจรอิเล็กทรอนิกส์ 5. เข้าใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก แหล่งทรัพยากรธรณี ปัจจัยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงของบรรยากาศ ปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ และผลที่มีต่อสิ่งต่างๆ บนโลก ความสําคัญ ของเทคโนโลยีอวกาศ 6. เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับเทคโนโลยี การพัฒนาและผลของการพัฒนา เทคโนโลยีต่อคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม 7. ตั้งคําถามที่มีการกําหนดและควบคุมตัวแปร คิดคาดคะเนคําตอบหลายแนวทาง วางแผน และลงมือสํารวจตรวจสอบ วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของข้อมูล และสร้างองค์ความรู้ 8. สื่อสารความคิด ความรู้จากผลการสํารวจตรวจสอบโดยการพูด เขียน จัดแสดง หรือใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. ใช้ความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในการดํารงชีวิต การศึกษาหา ความรู้เพิ่มเติม ทําโครงงานหรือสร้างชิ้นงานตามความสนใจ 10. แสดงถึงความสนใจ มุ่งมั่น รับผิดชอบ รอบคอบ และซื่อสัตย์ในการสืบเสาะหาความรู้ โดยใช้ เครื่องมือและวิธีการที่ให้ได้ผลถูกต้องเชื่อถือได้ 11. ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ใช้ในชีวิตประจําวันและการ ประกอบอาชีพ แสดงความชื่นชม ยกย่องและเคารพสิทธิในผลงานของผู้คิดค้น 12. แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย มีพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมอย่างรู้คุณค่า มีส่วนร่วมในการพิทักษ์ ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน ท้องถิ่น 13. ทํางานร่วมกับผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ แสดงความคิดเห็นของตนเองและยอมรับฟังความ คิดเห็นของผู้อื่น
  • 8. 7 สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร และประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม 2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกัน และแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม 4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนํากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทํางาน และการอยู่ร่วมกัน ในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทํางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้ 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทํางาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ
  • 9. 8 สาระ/มาตรฐาน/ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ ตัวชี้วัด ๑. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจตรวจสอบ หรือศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ สนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้ ๒. สร้างสมมติฐานที่สามารถตรวจสอบได้และวางแผนการสํารวจตรวจสอบหลาย ๆ วิธี ๓. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่ได้ผลเที่ยงตรงและปลอดภัย โดยใช้วัสดุและเครื่องมือที่เหมาะสม ๔. รวบรวมข้อมูล จัดกระทําข้อมูลเชิงปริมาณและคุณภาพ ๕. วิเคราะห์และประเมินความสอดคล้องของประจักษ์พยานกับข้อสรุป ทั้งที่สนับสนุนหรือขัดแย้งกับ สมมติฐาน และความผิดปกติของข้อมูลจากการสํารวจตรวจสอบ ๖. สร้างแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการสํารวจตรวจสอบ ๗. สร้างคําถามที่นําไปสู่การสํารวจตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง และนําความรู้ที่ได้ไปใช้ใน สถานการณ์ใหม่หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ ๘. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ ค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ ให้ได้ ข้อมูลที่เชื่อถือได้ และยอมรับการ เปลี่ยนแปลงความรู้ที่ค้นพบเมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยาน ใหม่เพิ่มขึ้นหรือโต้แย้งจากเดิม ๙. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 10. 9 คําอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม I 22201 การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง จํานวน 1.5 หน่วยกิต ศึกษา วิเคราะห์การตั้งประเด็น / คําถามในเรื่องที่สนใจ การตั้งสมมติฐาน การค้นคว้า การแสวงหาความรู้ข้อมูล การออกแบบ การวางแผนรวบรวมข้อมูล การใช้กระบวนการกลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติ การสังเคราะห์ การสรุปองค์ความรู้และการเสนอวิธีคิดแก้ปัญหา ที่เป็นระบบ ฝึกทักษะตั้งประเด็นปัญหา / ตั้งคําถามในเรื่องที่สนใจโดยเริ่มจากตนเอง เชื่อมโยงกับชุมชน ท้องถิ่นและประเทศ ตั้งสมมติฐานและให้เหตุผลโดยใช้ความรู้จากศาสตร์สาขาต่าง ๆ ค้นคว้า แสวงหา ความรู้เกี่ยวกับสมมติฐานที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย ออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีการที่เหมาะสม สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้และร่วมกันเสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบ ด้วยกระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติและ กระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ เพื่อให้เกิดทักษะในการค้นคว้า แสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภิปราย เปรียบเทียบเชื่อมโยง องค์ความรู้และมีทักษะการนําเสนอการศึกษาค้นคว้าและนําองค์ความรู้ไปแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ เห็น ประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ผลการเรียนรู้ 1. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเอง ชุมชนท้องถิ่น ประเทศ 2. ตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่ตนเองสนใจ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือก จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งที่มาของข้อมูลได้ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยวิธีการที่เหมาะสม 7. สังเคราะห์สรุปองค์ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้จากการค้นพบ 9. เห็นประโยชน์และคุณค่าของการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง รวม 9 ผลการเรียนรู้ เอกสารหมายเลข 5/1
  • 11. 10 ตารางโครงสร้างหลักสูตร รายวิชา การศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201) บูรณาการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 60 ชั่วโมง สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 1-3 แผนที่ 1 1 ไขข้อสงสัย 1. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือกประเด็นที่ สนใจ เริ่มจากตนเอง ชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ 2. ตั้งสมมติฐาน ประเด็นปัญหาที่ ตนเองสนใจ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการ รวบรวมข้อมูลอย่างมี ประสิทธิภาพ - การตั้งคําถามใน เรื่องที่สนใจเริ่มจาก ตัวเอง เชื่อมโยงกับ ชุมชน ท้องถิ่นและ ประเทศ - ก า ร ตั้งสมมติฐานและ ให้เหตุผลโดยใช้ ความรู้จากศาสตร์ สาขาต่าง ๆ - การออกแบบ วางแผน ใช้ กระบวนการ รวบรวมข้อมูล 9 (คาบที่ 1-9) 20 สัปดาห์ที่ 4-8 แผน 2 2 หลาก หลายจาก แหล่งเรียนรู้ 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับประเด็นที่ เลือกจากแหล่งเรียนรู้ ที่หลากหลาย การค้นคว้า แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับประเด็นที่ ศึกษานํามาสู่การ ตั้งสมมติฐานได้ 15 (คาบที่10-24) 20 รวม 24 40 สอบกลางภาค 3 20 เอกสารหมายเลข 6
  • 12. 11 สัปดาห์ ที่ ชื่อ หน่วยการ เรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ สาระสําคัญ เวลา เรียน (ชั่วโมง) น้ําหนัก คะแนน สัปดาห์ที่ 9,11-14 แผน 3 3 เปิดประตูสู่ ความจริง 5. ตรวจสอบความ น่าเชื่อถือของ แหล่งที่มาของข้อมูล ได้ 6. วิเคราะห์ข้อ ค้นพบด้วยสถิติที่ เหมาะสม การตรวจสอบ ความน่าเชื่อถือของ ข้อมูลจะช่วยให้ ข้อมูลที่ได้จากการ วิเคราะห์มีคุณภาพ 15 (คาบที่ 25-27, 31-42) 20 สัปดาห์ที่ 15-18 แผน 4 4 ประมวลทุกสิ่ง ที่ค้นพบ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบ ด้ ว ย วิ ธี ก า ร ที่ เหมาะสม 7. สังเคราะห์ สรุป อ ง ค์ ค ว า ม รู้ ด้ ว ย กระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบด้วยองค์ ความรู้จากการค้นพบ 9. เห็นประโยชน์ และคุณค่าของ การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง การวิเคราะห์ข้อ ค้นพบด้วยวิธีการที่ เหมาะสม การสังเคราะห์ สรุป องค์ความรู้ และ เสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบด้วยองค์ ความรู้จากการ ค้นพบ เห็น ประโยชน์และ คุณค่าของ การศึกษาค้นคว้า ด้วยตนเอง 18 (คาบที่ 43-57) 20 รวม 57 80 สอบปลายภาค 3 20
  • 13. 12 อัตราส่วนคะแนน คะแนนเก็บระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 K : P : A = 60 : 20 : 20 รวม = 100 คะแนน คะแนนเก็บก่อนสอบกลางภาค = 24 คะแนน สอบกลางภาค = 20 คะแนน คะแนนเก็บหลังสอบกลางภาค = 36 คะแนน สอบปลายภาค = 20 คะแนน รวม = 100 คะแนน
  • 14. 13 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังรายวิชา (เพื่อกําหนดน้ําหนักคะแนน) ลําดับ ที่ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ ลําดับชั่วโมงที่สอน จํานวนชั่วโมงที่สอน น้ําหนักผลการเรียนรู้ คะแนนผลการเรียนรู้ คะแนนเก็บ ด้านความรู้(K) ด้านทักษะ(P) คุณลักษณะ(A) กลางภาค ปลายภาค 1 แผน 1 1. ตั้งประเด็นปัญหา โดย เลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจาก ตนเอง ชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ 2. ตั้งสมมติฐานประเด็น ปัญหาที่ตนเองสนใจ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้ กระบวนการรวบรวมข้อมูล อย่างมีประสิทธิภาพ 1-9 9 20 100 60 20 20 10 - 2 แผน 2 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหา ความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่ เลือกจากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย 10- 24 15 20 100 60 20 20 10 - 3 แผน 3 5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ ของแหล่งที่มาของข้อมูลได้ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วย สถิติที่เหมาะสม 25-27, 31-42 15 20 100 60 20 20 - 10 4 แผน 4 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วย วิธีการที่เหมาะสม 7. สังเคราะห์ สรุปองค์ ความรู้ด้วยกระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิด การ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย องค์ความรู้จากการค้นพบ 9. เห็นประโยชน์และคุณค่า ของการศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง 43-57 18 20 100 60 20 20 - 10 เอกสารหมายเลข 7
  • 15. 14 หมายเหตุ 1. กําหนดน้ําหนักผลการเรียนรู้ที่คาดหวังให้คะแนน 1-5 2. คิดคะแนนผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง = น้ําหนักผลการเรียนรู้ X คะแนนเก็บทั้งหมด ผลรวมคะแนนน้ําหนักผลการเรียนรู้ทั้งหมด 3. คะแนนเก็บทั้งหมด = K + P + คะแนนกลางภาค + คะแนนปลายภาค ตัวอย่าง คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 1 = 5 x 90 = 6.9 => 7 65 คะแนนผลการเรียนรู้ที่ 2 = 2 x 90 = 2.76 => 3 65
  • 16. 15 การวิเคราะห์ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้รายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201) (เพื่อกําหนดทักษะกระบวนการ) โครงการสอนรายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จํานวน 1.5 หน่วยกิต เวลา 3 ชั่วโมง สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) สัปดาห์ที่ 1-3 แผนที่ 1 ไขข้อ สงสัย ไขข้อสงสัย - การกําหนดประเด็น ความรู้ - ธรรมชาติของ ความรู้ - ลักษณะของความรู้ - แหล่งเรียนรู้ - วิธีการสร้างความรู้ 1) การสร้าง ความรู้จากความรู้สึก 2) การสร้าง ความรู้จากภาษา 3) การสร้าง ความรู้จากเหตุผล 4) การสร้าง ความรู้จากอารมณ์ - ทฤษฎีของกลุ่ม สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน 8 กลุ่มสาระ - ศาสตร์ / สาขาวิชา ของความรู้ - นักคิด / บิดา ศาสตร์ของแต่ละ สาระการเรียนรู้ 1. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือกประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเอง ชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ 2 . ตั้ ง ส ม ม ติ ฐ า น ประเด็นปัญหาที่ตนเอง สนใจ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวม ข้อมูลอย่างมี ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ผู้เรียน 1. วิเคราะห์ผู้เรียน สัมภาษณ์ และทําแฟ้ม สะสมงานเป็นการบ้าน (สัมภาษณ์ต่อนอกเวลา) 2. จัดกลุ่มนักเรียนโดยใช้ ความรู้พื้นฐานก่อนเรียนจาก ผลการสอบวัดความรู้ พื้นฐาน 3. สิ่งชิ้นงานนําเสนองาน กลุ่มแนะนําตนเองผ่านเว็บ และแฟ้มสะสมงาน รายบุคคล 4. ดูตัวอย่างประเด็นความรู้ จากสาระวิชาพื้นฐาน 5. ร่วมกันวิเคราะห์ประเด็น ความรู้ ตั้งสมมติฐาน และ ข้อสันนิษฐานของประเด็น ความรู้ 6. ตั้งคําถามกระตุ้นให้ เหตุผล ความคิดต่างมุม เพื่อ แก้ไขปัญหาโดยใช้สาขาวิชา ต่าง ๆ โดยใช้วิธีการโต้แย้ง สนับสนุนและโต้แย้งคัดค้าน 7. แบ่งกลุ่มนักเรียน ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจาก 9 คาบ (คาบที่ 1-9) เอกสารหมายเลข 8
  • 17. 16 สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) - หลักการตั้ง วัตถุประสงค์และ สมมุติฐาน - วิธีการนําเสนอ แห ล่งกา ร เ รียน รู้ต า ม สาขาวิชาต่าง ๆ 8. นําเสนอข้อมูลจากการ ค้นคว้า ระบุแหล่งเรียนรู้ ความคิด เหตุผล วิธีการ แก้ปัญหาในแต่ละสาขาวิชา 9. ร่วมกันสรุปเชื่อมโยงและ เปรียบเทียบ วิธีการค้นคว้า หาความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ สัปดาห์ที่ 4-8 แผน 2 หลาก หลาย จาก แหล่ง เรียนรู้ หลากหลายจาก แหล่งเรียนรู้ - วิธีการศึกษาค้นคว้า จากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย - การกําหนดประเด็น ความรู้จากเรื่องที่ ศึกษาค้นคว้า - การตั้งสมมติฐาน 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับ ประเด็นที่เลือกจาก แหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย 1.ศึกษาวิธีการค้นคว้า/ แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็น ที่ศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย 2.ตรวจสอบความครบถ้วนของ ข้อมูล/สารสนเทศในประเด็นที่ ศึกษาจากแหล่งสืบค้นข้อมูลที่ หลากหลาย 3.แบ่งกลุ่มนักเรียนฝึกทักษะ การตรวจสอบข้อมูล/สารสนเทศ ด้วยตนเอง 4.วางแผนจัดเก็บข้อมูลใน ประเด็นที่ศึกษา 5.จัดหมวดหมู่ข้อมูล/ สารสนเทศเรียงลําดับตามที่ วางแผนให้เป็นระบบ6.ตรวจทาน /วิพากษ์นําผลไปปรับปรุง ข้อมูล/สารสนเทศรายบุคคล 7.นําความรู้จากประเด็นที่ศึกษา มาตั้งสมมติฐาน 15 คาบ (คาบที่ 10-24)
  • 18. 17 สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) สัปดาห์ที่ 9,11-14 แผน 3 เปิดประตูสู่ความจริง - การตรวจความ น่าเชื่อถือของข้อมูล - สถิติพื้นฐาน 5. ตรวจสอบความ น่าเชื่อถือของแหล่งที่มา ของข้อมูลได้ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบ ด้วยสถิติที่เหมาะสม 1. ศึกษาการตรวจสอบ ความน่าเชื่อของข้อมูล 2. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือ ของข้อมูล 3. รวบรวมข้อมูลให้เป็น ระบบ เตรียมข้อมูล วิเคราะห์ 4. เลือกสถิติพื้นฐานที่ เหมาะสมกับข้อมูลที่ วิเคราะห์ 5. วิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 6. ร่วมกันตรวจสอบผลการ วิเคราะห์ข้อมูล 7. วิพากษ์ผลการวิเคราะห์ ข้อมูลจากการตรวจสอบ 8. นําผลการวิพากษ์ผลการ วิเคราะห์ข้อมูลมาปรับ / พัฒนา 9. รวบรวมผลการวิเคราะห์ ข้อมูลเพื่อนําไปสังเคราะห์ สรุปเป็นองค์ความรู้ 15 (คาบที่ 25- 27, 31-42) สัปดาห์ที่ 15-18 แผน 4 ประมวลทุกสิ่งที่ ค้นพบ - การใช้วิธีการในการ วิเคราะห์ข้อค้นพบ - การเปรียบเทียบ / เชื่อมโยงองค์ความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภิปรายเพื่อให้เห็น 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบ ด้วยวิธีการที่เหมาะสม 7. สังเคราะห์ สรุปองค์ ความรู้ด้วยกระบวนการ กลุ่ม 8.เสนอแนวคิด การ แก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ ด้วยองค์ความรู้จากการ 1. รวบรวมข้อมูลให้เป็น ระบบ เตรียมข้อมูล วิเคราะห์ 2. เลือกสถิติที่เหมาะสมกับ ข้อมูลที่วิเคราะห์ 3. วิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรม 4. ร่วมกันตรวจสอบและ 18 (คาบที่ 43- 57)
  • 19. 18 สัปดาห์/ แผนที่ เนื้อหา ตัวชี้วัด/ ผลการเรียนรู้ กิจกรรม / กระบวนการเรียนรู้ เวลา (คาบ) ประโยชน์และคุณค่า ของการศึกษาค้นคว้า ด้วยตัวเอง - การเสนอแนวคิด การแก้ปัญหาอย่าง เป็นระบบด้วยองค์ ความรู้จากการค้นพบ ค้นพบ 9. เห็นประโยชน์และ คุณค่าของการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง วิพากษ์ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล 5. นําผลการวิพากษ์ผลการ วิเคราะห์ข้อมูลมาปรับ / พัฒนา 6. รวบรวมผลการ วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนําไป สังเคราะห์สรุปเป็นองค์ ความรู้
  • 20. 19 ข้อตกลงในการวัดและประเมินผล รายวิชาการศึกษา และสร้างองค์ความรู้ (I22201) 1. รายละเอียดในการวัด-ประเมินผล อัตราส่วน คะแนนระหว่างภาค : คะแนนปลายภาค = 80 : 20 อัตราส่วน คะแนน K : P : A = 60 : 20 : 20 โดยมีรายละเอียดดังนี้ การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของ เครื่องมือวัด ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ เวลาที่ใช้ (นาที/ครั้ง) ก่อนกลางภาค 40 1. ตรวจชิ้นงาน แฟ้มสะสมงาน 2. ตรวจ แบบฝึกหัด 3. สังเกต พฤติกรรมการ เรียน การร่วม อภิปราย 4. ทําแบบทดสอบ ย่อย แบบตรวจชิ้นงาน 1. มีองค์ประกอบ ครบ (ขอบเขตของ ข้อมูล แผนการ จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บข้อมูล) 2. มีความสัมพันธ์ กั น อ ย่ า ง ส ม เ ห ตุ ส ม ผ ล ระหว่างขอบเขต ข อ ง ข้ อ มู ล แผนการจัดเก็บ ข้อมูล เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บข้อมูล 3. สามารถ นําไปใช้ได้จริง ตรวจแฟ้มสะสม งาน - ความหลากหลาย ของแหล่งข้อมูล - กระบวนการ รวบรวมมีระบบ ชัดเจน สะดวกต่อ การใช้ตรวจสอบได้ 1-4 แผน 1 9 (คาบที่ 1-9) แผน 2 15 (คาบที่10- 24) เอกสารหมายเลข 9
  • 21. 20 การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของ เครื่องมือวัด ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ เวลาที่ใช้ (นาที/ครั้ง) แบบสังเกต พฤติกรรม แบบทดสอบ กลางภาค 20 ทดสอบ แบบทดสอบ 1-4 90 นาที หลังกลางภาค 40 1. ตรวจชิ้นงาน แฟ้มสะสมงาน 2. ตรวจ แบบฝึกหัด 3. สังเกต พฤติกรรมการ เรียน การร่วม อภิปราย 4. ทําแบบทดสอบ ย่อย แบบตรวจชิ้นงาน 1. มีองค์ประกอบ ครบ (ขอบเขตของ ข้อมูล แผนการ จั ด เ ก็ บ ข้ อ มู ล เครื่องมือที่ใช้ใน การเก็บข้อมูล) 2. มีความสัมพันธ์ กันอย่าง สมเหตุสมผล ระหว่างขอบเขต ของข้อมูล แผนการจัดเก็บ ข้อมูล เครื่องมือที่ ใช้ในการเก็บข้อมูล 3. สามารถ นําไปใช้ได้จริง ตรวจแฟ้มสะสม งาน - ความหลากหลาย ของแหล่งข้อมูล - กระบวนการ รวบรวมมีระบบ ชัดเจน สะดวกต่อ การใช้ตรวจสอบได้ 5-9
  • 22. 21 การประเมิน คะแนน วิธีวัด ชนิดของ เครื่องมือวัด ตัวชี้วัด/ผลการ เรียนรู้ข้อที่ เวลาที่ใช้ (นาที/ครั้ง) แบบสังเกต พฤติกรรม แบบทดสอบ คุณลักษณะ - สังเกต แบบสังเกต แบบบันทึก 1-9 บูรณาการ ตลอด ภาคเรียน ปลายภาค 20 ทดสอบ แบบทดสอบ 1-9 90 นาที รวม 100 คะแนน 2. กําหนดภาระงาน ในการเรียนรายวิชาการศึกษาและสร้างองค์ความรู้ (I 22201) ได้กําหนดให้นักเรียนทํากิจกรรม/ปฏิบัติงาน (ชิ้นงาน) ดังนี้ ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กําหนดส่ง วัน/เดือน/ปีกลุ่ม เดี่ยว 1 1. การออกแบบโครงร่าง การศึกษาค้นคว้า 2. ผลงานที่ปรากฏจริง 1. ตั้งประเด็นปัญหา โดยเลือก ประเด็นที่สนใจ เริ่มจากตนเอง ชุมชน ท้องถิ่น ประเทศ 2. ตั้งสมมติฐานประเด็นปัญหาที่ ตนเองสนใจ 3. ออกแบบ วางแผน ใช้ กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่าง มีประสิทธิภาพ คาบที่ 1-9 2. - แฟ้มผลงานที่เกิดจาก การศึกษาค้นคว้า - สมมติฐาน 4. ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้ เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกจากแหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย คาบที่ 12-14
  • 23. 22 ที่ ชื่องาน ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ข้อที่ ประเภทงาน กําหนดส่ง วัน/เดือน/ปีกลุ่ม เดี่ยว 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล รายบุคคล 5. ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของ แหล่งที่มาของข้อมูลได้ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติ ที่เหมาะสม คาบที่ 15-17 4. รายงานเชิงวิชาการฉบับ สมบูรณ์ 6. วิเคราะห์ข้อค้นพบด้วยวิธีการ ที่เหมาะสม 7. สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้ ด้วยกระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิด การแก้ปัญหา อย่างเป็นระบบด้วยองค์ความรู้ จากการค้นพบ 9. เห็นประโยชน์และคุณค่าของ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง คาบที่ 18-20 หากนักเรียนขาดส่งงาน แต่ละหน่วย จํานวน 4 หน่วย จํานวนทั้งหมด 9 ตัวชี้วัด (คะแนน K P A ในใบบันทึกคะแนน) ถ้าส่งงานแต่ละตัวชี้วัดไม่ครบ จะได้รับผลการเรียน “ร” ในรายวิชานี้ ลงชื่อ..............................ครูประจําวิชา ลงชื่อ......................................หัวหน้ากลุ่มสาระฯ (นางพรพนา สมัยรัฐ) (นางอธิชา หมีนโยธา) ลงชื่อ.....................................รอง/ฝ่ายวิชาการ ลงชื่อ ..................................ผู้อํานวยการสถานศึกษา ( นายดํารงค์ วรรณแรก ) (นายภิญโญ จินตนปัญญา)