SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรี ยน
         วิชา วงจรไฟฟ้ า 1 (2104-2102)
                   หน่วยที่ 4
      เรื่ อง วงจรแบ่งแรงดัน และวงจรแบ่งกระแส




             นายพรศักดิ์ ทองมา
แผนกวิชาช่างไฟฟ้ ากําลัง วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง
   สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
            กระทรวงศึกษาธิการ
หน่วยที่ 4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

จุดประสงค์ทวไป
           ่ั
     เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
     1. บอกลักษณะของวงจรแบ่งแรงดันได้
     2. คํานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมความต้านทานได้
     3. คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทานที่เป็ นโหลดได้
     4. บอกลักษณะการต่อวงจรแบ่งกระแสได้
     5. คํานวณหาค่ากระแสที่ไหลในแต่ละสาขาได้
จากในหน่ วยการเรี ยนที่ผ่านมาจะเป็ นการต่อความต้านทานในลักษณะต่างๆ คือการต่อความ
ต้านทานในลักษณะของวงจรอนุกรม วงจรขนานและวงจรผสม ในหน่วยการเรี ยนนี้ เป็ นการนําทฤษฎีที่
                                     ่
มีการนําความต้านทานมาต่อในวงจรที่ผานมาประยุกต์ใช้งานเป็ นวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

4.1 วงจรแบ่งแหล่งดัน (Voltage Divider)
         มี ง านหลายงานที่ เ ราใช้แ บตเตอรี่ เ ป็ นแหล่ งจ่ ายกําลัง ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ บรรจุ ด้ว ยสารเคมี ที่
เปลี่ยนเป็ นกระแสไฟฟ้ าเมื่อเราต้องการ ด้วยแบตเตอรี่ บรรจุดวยพลังงานศักย์ เมื่อพลังงานถูกปล่อยเข้าสู่
                                                                ้
วงจรไฟฟ้ า จะไหลผ่านเหมือนกับนํ้าไหลผ่านท่อ เมื่อเรานําสายวัดของโวลต์มิเตอร์ มาต่อเพื่อวัดความ
แตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าในส่ วนต่างๆ ของวงจรดังรู ป 4.1


                                                      R           V
                                                          1           1
                                      E
                                                      R           V
                                                          2           2



                                  รู ป 4.1 ลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน

       จากรู ป 4.1 จะแสดงลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน ที่มีการต่อของตัวต้านทานในลักษณะของ
วงจรอนุกรม โดยเราจะใช้ความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าที่แตกต่างกันในวงจร แรงดันไฟฟ้ านี้สามารถ
กําหนดให้มีค่าคงที่หรื อสามารถปรับค่าได้ จากรู ป 4.1 เราสามารถเขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้คือ
                                               R1
                                  V1 =                .E                                  (4.1)
                                           R1 + R 2
                                               R2
และ                               V2 =                .E                                  (4.2)
                                            R1 + R 2

          ในรู ป 4.2 จะเป็ นวงจรที่ เ ราใช้อ ้า งอิ ง ในลัก ษณะของวงจรแบ่ ง แรงดัน ดัง นั้น ในวงจรจะ
ประกอบด้วย ลักษณะของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ าไฟฟ้ าต่ออนุกรมกัน แรงดันไฟฟ้ าที่นามาใช้จะเกิดจาก
                                                                                     ํ
การต่อระหว่างอุปกรณ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่วงจรแบ่งแรงดันจะประกอบด้วย ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรม
กันดังรู ป 4.2
รู ป 4.2

                                           R2
เมื่อ                          Vout =             . Vin                             (4.3)
                                         R1 + R 2

ตัวอย่ าง 4.1 จากวงจร 4.3 จงหาค่าของ V
                                             4



                  50 V                                          6        V



                                           รู ป 4.3

วิธีทา จากวงจรเราสมมติให้ R1 = 4 Ω และ R2 = 6 Ω
     ํ
       จากความสัมพันธ์ของสมการ 4.3 จะได้
                                         R2
                            Vout =             . Vin
                                      R1 + R 2
                                          6
                                   =            ( 50 )
                                         4+6
                                   = 30 V

ตัวอย่ าง 4.2   ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรมกันแล้วต่อกับแหล่งจ่ายแรงดัน 24 V และ
                กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจร 3 A ถ้านความต้านทานตัวหนึ่งมีค่า 2 Ω จงหา (ก) ค่าของ
                ความต้านทานตัวอื่น และ (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω ถ้าวงจรนี้ต่อใช้งาน
นาน 50 ชัวโมง จะใช้พลังงานไฟฟ้ าเท่าไร
                      ่
                                R 1= 2                Rx

                                   V
                                     1
                                I= 3 A

                                             E
                                         รู ป 4.4

วิธีทา (ก) ความต้านทานรวมของวงจร
     ํ
                                         E
                               R =
                                          I
                                          24
                                       =
                                            3
                                       = 8 Ω
      ดังนั้น ค่าความต้านทานไม่ทราบค่า Rx = 8 – 2 = 6 Ω
      (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω คือ
                                V1 = IR1
                                       = 32
                                       = 6 V
      หรื ออีกแนวทางหนึ่งคือ
                                             R1
                                V1 =               .E
                                         R1 + R 2
                                             2
                                       =        (24)
                                          2+6
                                       = 6 V
                         พลังงานที่ใช้ = กําลัง  เวลา
                                       = VIt
                                       = 24V  3A  50h
                                       = 3600 Wh
                                       = 3.6 kWh
ตัวอย่ าง 4.3   จากรู ป 4.5 จงหาค่า IT, I1, IL และ VL




                                              รู ป 4.5

วิธีทา
     ํ                            RT1 = R2 // RL
                                         R .R
                                      = 2 L
                                         R2 + RL
                                        10 × 15
                                      =
                                        10 + 15
                                      = 6 
                                  RT = RT1 + R1
                                      = 6 + 20
                                      = 26 
                                         E
                                   IT =
                                        RT
                                         24
                                      =
                                         26
                                      = 0.923 A
                                           R
                                  VL = E . T1
                                            RT
                                              6
                                      = 24 .
                                              26
                                      = 5.538 V
                                        V
                                   IT = L
                                        RL
                                        5.538
                                      =
                                          15
                                      = 0.369 A
4.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า (Current Divider)
          วงจรแบ่งกระแสจะใช้หลักการของวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน เนื่ องจากวงจรขนานมีกระแสไหล
                                                                                   ่ ั
ผ่านความต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากัน กระแสที่แบ่งไหลในแต่ละสาขาจะมีมากหรื อน้อยขึ้นอยูกบขนาด
ของความต้านทานที่ต่ออยูในสาขานั้น และกระแสที่ถูกแบ่งในแต่ละสาขานี้ เมื่อนํามารวมกันแล้วจะมี
                        ่
ค่าเท่ากับกระแสรวมของวงจร




                                          รู ป 4.6

         จากรู ป 4.6 จะหาค่าความต้านทานรวมของวงจร (RT) ได้โดย
                                             R .R
                                  RT = 1 2
                                            R1 + R 2
และ                                E = IT . RT
                                                  R .R
                                         = IT . 1 2
                                                  R1 + R 2
                                             E
                                   I1 =
                                            R1
                                             I R .R
                                         = T. 1 2
                                             R1 R1 + R 2
                                                 R2
                                         =             . IT
                                             R1 + R 2
                                             E
ในทํานองเดียวกัน                   I2 =
                                            R2
                                              I R .R
                                         = T. 1 2
                                             R 2 R1 + R 2
                                                 R1
                                         =             . IT
                                             R1 + R 2
                                               ่
ดังนั้นเราสามารถสรุ ปโดยอ้างอิงจากรู ป 4.6 ได้วา
R2
                                   I1 =            . IT            (4.4)
                                          R1 + R 2
                                            R1
                                   I2   =          . IT            (4.5)
                                          R1 + R 2

ตัวอย่ าง 4.4   สําหรับวงจรอนุกรมขนานดังแสดงในรู ป 4.7 จงหา
                a) กระแสรวมของวงจร
                b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว
                c) แรงดันตกคร่ อมความต้านทานแต่ละตัว

                                             R2 = 6

                        R1 = 2.5                          R4 = 4

                                            R3 = 2




                                             E = 200 V
                                              รู ป 4.7

วิธีทา
     ํ
         a) กําหนดให้         RT1 = R2//R3
                                      R ×R
                                   = 2 3
                                      R2 + R3
                                      6×2
                                   =
                                     6+2
                                     12
                                   =
                                      8
                                   = 1.5 Ω
           ความต้านทานรวมของวงจร
                              RT = R1 + RT1 + R4
= 2.5 + 1.5 + 4
                                = 8 Ω
                                  E
 หา                       IT   =
                                  RT
                                   200
                                =
                                    8
                                = 25 A

b) กระแสไหลผ่าน R1 และ R2 จะมีค่าเท่ากับ IT = 25 A
                                     R3
  หากระแสไหลผ่าน R2          =               . IT
                                  R2 + R3
                                    2
                             =          . 25
                                  6+2
                             = 6.25 A
                                     R2
   กระแสไหลผ่าน R3           =               . IT
                                  R2 + R3
                                    6
                             =          . 25
                                  6+2
                             = 18.75 A

c) วงจรเทียบเคียงสามารถเขียนได้ดงรู ป 4.8
                                ั




                                     รู ป 4.8

จะได้แรงดันตกคร่ อม R1
                         V1 = I.R1
                             = 25  2.5
= 62.5 V
         แรงดันตกคร่ อม RT1 หรื อแรงดันตกคร่ อม R2 มีค่าเท่ากับแรงดันตกคร่ อม R3
                                  V2 = I.RT1
                                        = 25  1.5
                                        = 37.5 V
         แรงดันตกคร่ อม R4
                                  V3 = I.R4
                                        = 25  4
                                        = 100 V

ตัวอย่ าง 4.5   จากวงจรในรู ป 4.9 จงคํานวณหา
                a) ค่าความต้านทาน RX เมื่อค่ากําลังไฟฟ้ ารวมของวงจรมีค่าเท่ากับ 2.5 kW และ
                b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว
                               R 1 = 15                      R3 = 38

                         I1                             I3
                              R 2 = 10                             RX

                        I2                              I4
                                    V                          V
                                        1                          2

                          IT
                                            E = 250 V

                                             รู ป 4.9

วิธีทา a) หาค่าความต้านทาน RX
     ํ
          จากหลักสูตรกําลังไฟฟ้ า P = I.E
       จากโจทย์ P = 2.5 kW = 2,500 W และ E = 250 V
          ดังนั้น               2500 = 250.I
                                        2,500
                                   IT =
                                          250
                                      = 10 A
                                        E
       จากกฎของโอห์ม              RT =
                                         I
250
                                     =
                                          10
                                   = 25 Ω
       เมื่อ RT คือ ความต้านทานรวมของวงจร
       และกําหนดให้ RT1 = R1 // R2
                                       R .R
                            RT1 = 1 2
                                      R1 + R 2
                                        15 × 10
                                   =
                                        15 + 10
                                        150
                                   =
                                          25
                                   = 6 Ω
                             RT2 = R3 // RX
       ดังนั้น               RT2 = RT – RT1
                                   = 25 – 6
                                   = 19 Ω
       ในการหาค่า RX สามารถหาได้ 3 วิธีดงนี้
                                        ั

วิธีที่ 1 หาแรงดันตกคร่ อม V1 จาก
                                V1 = I.RT1
                                      = 10  6
                                      = 60 V
          ดังนั้น                V2 = E – V1
                                      = 250 – 60
                                      = 190 V
          เมื่อ V2 คือแรงดันตกคร่ อม R3 และ RX
                                        V
          หา                     I3 = 2
                                        R3
                                         190
                                      =
                                          38
                                      = 5 A
          ดังนั้น                 I4 = I – I3
                                      = 10 – 5
= 5 A
                                        V
                                RX   = 2
                                        I4
                                        190
                                      =
                                          5
                                      = 38 Ω

วิธีที่ 2 จากค่าความต้านทาน RT2 = 19 Ω
          เมื่อ RT2 คือ R3 // RX จะได้
                                          38 . R X
                                  19 =
                                         38 + R X
          ดังนั้น       19(38 + RX) = 38RX
                        722 + 19RX = 38RX
                                722 = 38RX – 19RX
                                722 = 19.RX
                                         722
          ดังนั้น                 RX =
                                          19
                                       = 38 Ω

วิธีที่ 3 จากการที่ค่าความต้านทานสองตัวที่มีคาความต้านทานเท่ากัน ขนานกัน ค่าของความต้านทาน
                                             ่
                   ่
          รวมจะมีคาลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง
          เมื่อ RT = 19 Ω และ R3 = 38 Ω ดังนั้น RX = 38 Ω

                                            R2
       b) กระแส                  I1 =               .I
                                         R1 + R 2
                                            10
                                     =            . 10
                                          15 + 10
                                          2
                                     =      . 10
                                          5
                                     =   4 A
                                            R1
                                I2 =              .I
                                         R1 + R 2
                                            15
                                     =            . 10
                                          15 + 10
3
=   . 10
  5
= 6 A

Contenu connexe

Tendances

ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
Theerawat Duangsin
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
Maruko Supertinger
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
Wijitta DevilTeacher
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
aoynattaya
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
Mu PPu
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
Jariya Jaiyot
 

Tendances (20)

ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
ไฟฟ้ากระแสสลับ 1
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
เฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกลเฉลย07สมดลกล
เฉลย07สมดลกล
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
การเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้างการเขียนสูตรโครงสร้าง
การเขียนสูตรโครงสร้าง
 
เฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงานเฉลย08งานพลังงาน
เฉลย08งานพลังงาน
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
แรงและแรงรับ
แรงและแรงรับแรงและแรงรับ
แรงและแรงรับ
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
07สมดุลกล
07สมดุลกล07สมดุลกล
07สมดุลกล
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์เซลล์อิเล็กโทรไลต์
เซลล์อิเล็กโทรไลต์
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 

En vedette

หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
Pornsak Tongma
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
พัน พัน
 
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
krupornpana55
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
Mew Meww
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
krupornpana55
 

En vedette (7)

หน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์มหน่วย1 กฏของโอห์ม
หน่วย1 กฏของโอห์ม
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
Wp3หน่วยย่อยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น กิจกรรม1
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่ายทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
ทบทวนไฟฟ้าอย่างง่าย
 

Similaire à หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
ZHEZA
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
khunJang Jop Jop
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
numpueng
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
Nang Ka Nangnarak
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
Somporn Laothongsarn
 

Similaire à หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส (20)

Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
ใบความรู้.07
ใบความรู้.07ใบความรู้.07
ใบความรู้.07
 
สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์สรุปวิชาฟิสิกส์
สรุปวิชาฟิสิกส์
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
 
Physic 2-boonya
Physic 2-boonyaPhysic 2-boonya
Physic 2-boonya
 
A ccircuit
A ccircuitA ccircuit
A ccircuit
 
แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6แบบฝึกหัดท้ายบท6
แบบฝึกหัดท้ายบท6
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
ข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาคข้อสอบปลายภาค
ข้อสอบปลายภาค
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
Physic 56
Physic 56Physic 56
Physic 56
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
Ac current46
Ac current46Ac current46
Ac current46
 
แบบฝึกหัดท้ายบท8
แบบฝึกหัดท้ายบท8แบบฝึกหัดท้ายบท8
แบบฝึกหัดท้ายบท8
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์วัฏจักรคาร์โนต์
วัฏจักรคาร์โนต์
 
Lesson18
Lesson18Lesson18
Lesson18
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 

หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส

  • 1. เอกสารประกอบการเรี ยน วิชา วงจรไฟฟ้ า 1 (2104-2102) หน่วยที่ 4 เรื่ อง วงจรแบ่งแรงดัน และวงจรแบ่งกระแส นายพรศักดิ์ ทองมา แผนกวิชาช่างไฟฟ้ ากําลัง วิทยาลัยเทคนิคอ่างทอง สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. หน่วยที่ 4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส จุดประสงค์ทวไป ่ั เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 1. บอกลักษณะของวงจรแบ่งแรงดันได้ 2. คํานวณหาค่าแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมความต้านทานได้ 3. คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าไหลผ่านความต้านทานที่เป็ นโหลดได้ 4. บอกลักษณะการต่อวงจรแบ่งกระแสได้ 5. คํานวณหาค่ากระแสที่ไหลในแต่ละสาขาได้
  • 3. จากในหน่ วยการเรี ยนที่ผ่านมาจะเป็ นการต่อความต้านทานในลักษณะต่างๆ คือการต่อความ ต้านทานในลักษณะของวงจรอนุกรม วงจรขนานและวงจรผสม ในหน่วยการเรี ยนนี้ เป็ นการนําทฤษฎีที่ ่ มีการนําความต้านทานมาต่อในวงจรที่ผานมาประยุกต์ใช้งานเป็ นวงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส 4.1 วงจรแบ่งแหล่งดัน (Voltage Divider) มี ง านหลายงานที่ เ ราใช้แ บตเตอรี่ เ ป็ นแหล่ งจ่ ายกําลัง ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ บรรจุ ด้ว ยสารเคมี ที่ เปลี่ยนเป็ นกระแสไฟฟ้ าเมื่อเราต้องการ ด้วยแบตเตอรี่ บรรจุดวยพลังงานศักย์ เมื่อพลังงานถูกปล่อยเข้าสู่ ้ วงจรไฟฟ้ า จะไหลผ่านเหมือนกับนํ้าไหลผ่านท่อ เมื่อเรานําสายวัดของโวลต์มิเตอร์ มาต่อเพื่อวัดความ แตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าในส่ วนต่างๆ ของวงจรดังรู ป 4.1 R V 1 1 E R V 2 2 รู ป 4.1 ลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน จากรู ป 4.1 จะแสดงลักษณะของวงจรแบ่งแรงดัน ที่มีการต่อของตัวต้านทานในลักษณะของ วงจรอนุกรม โดยเราจะใช้ความแตกต่างของแรงดันไฟฟ้ าที่แตกต่างกันในวงจร แรงดันไฟฟ้ านี้สามารถ กําหนดให้มีค่าคงที่หรื อสามารถปรับค่าได้ จากรู ป 4.1 เราสามารถเขียนเป็ นความสัมพันธ์ได้คือ R1 V1 = .E (4.1) R1 + R 2 R2 และ V2 = .E (4.2) R1 + R 2 ในรู ป 4.2 จะเป็ นวงจรที่ เ ราใช้อ ้า งอิ ง ในลัก ษณะของวงจรแบ่ ง แรงดัน ดัง นั้น ในวงจรจะ ประกอบด้วย ลักษณะของแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ าไฟฟ้ าต่ออนุกรมกัน แรงดันไฟฟ้ าที่นามาใช้จะเกิดจาก ํ การต่อระหว่างอุปกรณ์ ซึ่งบ่อยครั้งที่วงจรแบ่งแรงดันจะประกอบด้วย ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรม กันดังรู ป 4.2
  • 4. รู ป 4.2 R2 เมื่อ Vout = . Vin (4.3) R1 + R 2 ตัวอย่ าง 4.1 จากวงจร 4.3 จงหาค่าของ V 4 50 V 6 V รู ป 4.3 วิธีทา จากวงจรเราสมมติให้ R1 = 4 Ω และ R2 = 6 Ω ํ จากความสัมพันธ์ของสมการ 4.3 จะได้ R2 Vout = . Vin R1 + R 2 6 = ( 50 ) 4+6 = 30 V ตัวอย่ าง 4.2 ความต้านทานสองตัวต่ออนุกรมกันแล้วต่อกับแหล่งจ่ายแรงดัน 24 V และ กระแสไฟฟ้ าไหลในวงจร 3 A ถ้านความต้านทานตัวหนึ่งมีค่า 2 Ω จงหา (ก) ค่าของ ความต้านทานตัวอื่น และ (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω ถ้าวงจรนี้ต่อใช้งาน
  • 5. นาน 50 ชัวโมง จะใช้พลังงานไฟฟ้ าเท่าไร ่ R 1= 2 Rx V 1 I= 3 A E รู ป 4.4 วิธีทา (ก) ความต้านทานรวมของวงจร ํ E R = I 24 = 3 = 8 Ω ดังนั้น ค่าความต้านทานไม่ทราบค่า Rx = 8 – 2 = 6 Ω (ข) แรงดันตกคร่ อมความต้านทาน 2 Ω คือ V1 = IR1 = 32 = 6 V หรื ออีกแนวทางหนึ่งคือ R1 V1 = .E R1 + R 2 2 = (24) 2+6 = 6 V พลังงานที่ใช้ = กําลัง  เวลา = VIt = 24V  3A  50h = 3600 Wh = 3.6 kWh
  • 6. ตัวอย่ าง 4.3 จากรู ป 4.5 จงหาค่า IT, I1, IL และ VL รู ป 4.5 วิธีทา ํ RT1 = R2 // RL R .R = 2 L R2 + RL 10 × 15 = 10 + 15 = 6  RT = RT1 + R1 = 6 + 20 = 26  E IT = RT 24 = 26 = 0.923 A R VL = E . T1 RT 6 = 24 . 26 = 5.538 V V IT = L RL 5.538 = 15 = 0.369 A
  • 7. 4.2 วงจรแบ่งกระแสไฟฟ้ า (Current Divider) วงจรแบ่งกระแสจะใช้หลักการของวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน เนื่ องจากวงจรขนานมีกระแสไหล ่ ั ผ่านความต้านทานแต่ละตัวไม่เท่ากัน กระแสที่แบ่งไหลในแต่ละสาขาจะมีมากหรื อน้อยขึ้นอยูกบขนาด ของความต้านทานที่ต่ออยูในสาขานั้น และกระแสที่ถูกแบ่งในแต่ละสาขานี้ เมื่อนํามารวมกันแล้วจะมี ่ ค่าเท่ากับกระแสรวมของวงจร รู ป 4.6 จากรู ป 4.6 จะหาค่าความต้านทานรวมของวงจร (RT) ได้โดย R .R RT = 1 2 R1 + R 2 และ E = IT . RT R .R = IT . 1 2 R1 + R 2 E I1 = R1 I R .R = T. 1 2 R1 R1 + R 2 R2 = . IT R1 + R 2 E ในทํานองเดียวกัน I2 = R2 I R .R = T. 1 2 R 2 R1 + R 2 R1 = . IT R1 + R 2 ่ ดังนั้นเราสามารถสรุ ปโดยอ้างอิงจากรู ป 4.6 ได้วา
  • 8. R2 I1 = . IT (4.4) R1 + R 2 R1 I2 = . IT (4.5) R1 + R 2 ตัวอย่ าง 4.4 สําหรับวงจรอนุกรมขนานดังแสดงในรู ป 4.7 จงหา a) กระแสรวมของวงจร b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว c) แรงดันตกคร่ อมความต้านทานแต่ละตัว R2 = 6 R1 = 2.5 R4 = 4 R3 = 2 E = 200 V รู ป 4.7 วิธีทา ํ a) กําหนดให้ RT1 = R2//R3 R ×R = 2 3 R2 + R3 6×2 = 6+2 12 = 8 = 1.5 Ω ความต้านทานรวมของวงจร RT = R1 + RT1 + R4
  • 9. = 2.5 + 1.5 + 4 = 8 Ω E หา IT = RT 200 = 8 = 25 A b) กระแสไหลผ่าน R1 และ R2 จะมีค่าเท่ากับ IT = 25 A R3 หากระแสไหลผ่าน R2 = . IT R2 + R3 2 = . 25 6+2 = 6.25 A R2 กระแสไหลผ่าน R3 = . IT R2 + R3 6 = . 25 6+2 = 18.75 A c) วงจรเทียบเคียงสามารถเขียนได้ดงรู ป 4.8 ั รู ป 4.8 จะได้แรงดันตกคร่ อม R1 V1 = I.R1 = 25  2.5
  • 10. = 62.5 V แรงดันตกคร่ อม RT1 หรื อแรงดันตกคร่ อม R2 มีค่าเท่ากับแรงดันตกคร่ อม R3 V2 = I.RT1 = 25  1.5 = 37.5 V แรงดันตกคร่ อม R4 V3 = I.R4 = 25  4 = 100 V ตัวอย่ าง 4.5 จากวงจรในรู ป 4.9 จงคํานวณหา a) ค่าความต้านทาน RX เมื่อค่ากําลังไฟฟ้ ารวมของวงจรมีค่าเท่ากับ 2.5 kW และ b) กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว R 1 = 15 R3 = 38 I1 I3 R 2 = 10 RX I2 I4 V V 1 2 IT E = 250 V รู ป 4.9 วิธีทา a) หาค่าความต้านทาน RX ํ จากหลักสูตรกําลังไฟฟ้ า P = I.E จากโจทย์ P = 2.5 kW = 2,500 W และ E = 250 V ดังนั้น 2500 = 250.I 2,500 IT = 250 = 10 A E จากกฎของโอห์ม RT = I
  • 11. 250 = 10 = 25 Ω เมื่อ RT คือ ความต้านทานรวมของวงจร และกําหนดให้ RT1 = R1 // R2 R .R RT1 = 1 2 R1 + R 2 15 × 10 = 15 + 10 150 = 25 = 6 Ω RT2 = R3 // RX ดังนั้น RT2 = RT – RT1 = 25 – 6 = 19 Ω ในการหาค่า RX สามารถหาได้ 3 วิธีดงนี้ ั วิธีที่ 1 หาแรงดันตกคร่ อม V1 จาก V1 = I.RT1 = 10  6 = 60 V ดังนั้น V2 = E – V1 = 250 – 60 = 190 V เมื่อ V2 คือแรงดันตกคร่ อม R3 และ RX V หา I3 = 2 R3 190 = 38 = 5 A ดังนั้น I4 = I – I3 = 10 – 5
  • 12. = 5 A V RX = 2 I4 190 = 5 = 38 Ω วิธีที่ 2 จากค่าความต้านทาน RT2 = 19 Ω เมื่อ RT2 คือ R3 // RX จะได้ 38 . R X 19 = 38 + R X ดังนั้น 19(38 + RX) = 38RX 722 + 19RX = 38RX 722 = 38RX – 19RX 722 = 19.RX 722 ดังนั้น RX = 19 = 38 Ω วิธีที่ 3 จากการที่ค่าความต้านทานสองตัวที่มีคาความต้านทานเท่ากัน ขนานกัน ค่าของความต้านทาน ่ ่ รวมจะมีคาลดลงเหลือครึ่ งหนึ่ง เมื่อ RT = 19 Ω และ R3 = 38 Ω ดังนั้น RX = 38 Ω R2 b) กระแส I1 = .I R1 + R 2 10 = . 10 15 + 10 2 = . 10 5 = 4 A R1 I2 = .I R1 + R 2 15 = . 10 15 + 10
  • 13. 3 = . 10 5 = 6 A