SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
บทที่ 4 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต 
1. การประยุกต์ของการเลื่อนขนาน 
สมบัติของการเลื่อนขนาน 
1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานได้สนิท โดยไม่ต้องพลิกรูป 
2. ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดที่สมนัยกันแต่ละคู่จะขนานกัน 
3. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานของส่วนของเส้นตรงนั้นจะขนานกัน 
และยาวเท่ากัน 
ตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการเลื่อนขนานไปประยุกต์ใช้และสร้างเป็นสิ่งอานวยความสะดวก เช่น ลิฟท์และบันได เลื่อน 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาพื้นที่โดยประมาณของส่วนที่แรเงาของรูปต่อไปนี้ 
A 
D 
C 
B 
14 หน่วย
2 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
ตัวอย่างที่ 2 หมู่บ้าน A และหมู่บ้าน B ตั้งอยู่บนตาแหน่ง A และตาแหน่ง B ตามลาดับ โดยมีถนนตัดผ่าน ดังรูป 
ถ้าต้องการสร้างสะพานลอยข้ามถนนสายนี้โดยสะพานลอยต้องตั้งฉากกับถนน และระยะทางที่สร้างต้องเป็นระยะ 
ทางที่สั้นที่สุด แล้วจงอธิบายวิธีหาตาแหน่งที่จะสร้างสะพานลอย 
2. การประยุกต์ของการสะท้อน 
สมบัติของการสะท้อน 
1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการสะท้อนได้สนิท โดยต้องพลิกรูป 
2. เส้นสะท้อนแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดที่สมนัยกัน 
3. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการสะท้อนของส่วนของเส้นตรงนั้นไม่จาเป็นต้องขนาน 
กันทุกคู่ 
ตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการสะท้อนไปประยุกต์ใช้และสร้างเป็นสิ่งอานวยความสะดวก 
หมู่บ้าน A 
หมู่บ้าน B
3 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
ตัวอย่างที่ 3 จงหาพื้นที่โดยประมาณของส่วนที่แรเงา 
ตัวอย่างที่ 4 หมู่บ้าน A และหมู่บ้าน B ตั้งอยู่ฝังเดียวกันของถนนสายหนึ่ง ถ้าต้องการสร้างป้ายรถประจาทาง 
สาหรับหมู่บ้านทั้งสอง แล้วจะต้องสร้างป้ายรถประจาทางที่ตาแหน่งใดจึงจะทาให้ผลรวมของระยะทางจาก 
หมู่บ้าน A ไปยังป้ายรถประจาทาง และไปยังหมู่บ้าน B มีระยะทางสั้นที่สุด 
30 หน่วย 
A 
F 
B 
E 
G 
H 
C 
D 
20 หน่วย 
หมู่บ้าน A 
หมู่บ้าน B
4 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
3. การประยุกต์ของการหมุน 
สมบัติของการหมุน 
1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการหมุนได้สนิท โดยไม่ต้องพลิกรูป 
2. จุดบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนจุดนั้น แต่ละคู่จะอยู่บนวงกลมที่มีจุดหมุนเป็นจุดศูนย์กลาง เดียวกัน 
3. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนส่วนของเส้นตรงนั้น ไม่จาเป็นต้องขนานกันทุกคู่ 
ตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการสะท้อนไปประยุกต์ใช้และสร้างเป็นสิ่งอานวยความสะดวก 
ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีพื้นที่ 64 ตารางหน่วย และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส EFGH มีพื้นที่ 
เท่ากับรูปสี่เหลี่ยม ABCD โดยที่จุด E เป็นจุดกึ่งกลางของรูปสี่เหลี่ยม ABCD จงหาพื้นที่ส่วนที่แรเงา
5 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
4. เทสเซลเลชัน (Tessellation) 
เทสเซลเลชัน 
เทสเซลเลชัน เป็นการนารูปปิดมาปิดพื้นที่ที่ต้องการ โดยไม่ให้เกิดช่องว่างและไม่ให้ 
มีการซ้อนทับกัน 
เทสเซลเลชันจะเป็นการนาความรู้เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ซึ่งประกอบด้วยการเลื่อนขนาน การสะท้อนและ 
การหมุน มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบลวดลายต่างๆทางศิลปะ ซึ่งสามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจาวัน 
เช่น รังผิ้งมีลักษณะเป็นเทสเซลเลชันที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากรูปปิดหกเหลี่ยมปิดบนพื้นที่ โดยไม่ให้เกิด ช่องว่างและไม่ให้ซ้อนทับกัน ดังรูป 
เทสเซลเลชันปกติ 
เทสเซลเลชันปกติ เป็นเทสเซลเลชันที่ได้จากรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า 
ชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียว 
ข้อสังเกต รูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่สามารถนามาทาเป็นเทสเซลเลชันได้ ต้องเป็นรูปหลายเหลี่ยมที่มีขนาด 
ของมุมภายในแต่ละมุมหาร 360 องศา ได้ลงตัว ซึ่งจะพบว่ามีรูปเรขาคณิตเพียง 3 ชนิดเท่านั้น คือ 
1. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 2. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3. รูปหกเหลี่ยมด้านเท่า
6 
บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช 
ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 
ตัวอย่างของเทสเซลเลชันปกติที่เกิดจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า 
นอกจากนี้เรายังสามารถนาความรู้เรื่องเทสเซลเลชันมาประยุกต์ใช้ในชีวิติประจาวันได้ เช่น การออกแบบลายผ้า การออกแบบลายกระเบื้องปูพื้น และอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ดังรูป

More Related Content

More from sawed kodnara

ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยsawed kodnara
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556sawed kodnara
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันsawed kodnara
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารsawed kodnara
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานsawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1sawed kodnara
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลsawed kodnara
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานsawed kodnara
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันsawed kodnara
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละsawed kodnara
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 

More from sawed kodnara (20)

ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัยผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
ผลการแข่งขันคณิตศาสตร์ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพฯ โรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
ข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ 2556
 
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชันค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
ค่าสูงสุดสัมบูรณ์และค่าต่ำสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน
 
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหารบทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
บทที่ 1 จำนวนนับและการบวก การลบ การคูณ การหาร
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
บทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนานบทที่ 4 เส้นขนาน
บทที่ 4 เส้นขนาน
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2555 รอบที่ 1
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลขบทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
บทที่ 2 จำนวนและตัวเลข
 
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิตข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
ข้อสอบจุดประสงค์เรื่องอนุกรมเลขคณิต
 
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูลข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
ข้อสอบจุดประสงค์การวัดการกระจายของข้อมูล
 
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
ข้อสอบจุดประสงค์ เรื่องการหาพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐาน
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
 
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละบทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
บทที่ 1 อัตราส่วนและร้อยละ
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 3 เลขยกกำลังและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 

บทที่ 4 การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต

  • 1. 1 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร บทที่ 4 การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต 1. การประยุกต์ของการเลื่อนขนาน สมบัติของการเลื่อนขนาน 1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานได้สนิท โดยไม่ต้องพลิกรูป 2. ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดที่สมนัยกันแต่ละคู่จะขนานกัน 3. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการเลื่อนขนานของส่วนของเส้นตรงนั้นจะขนานกัน และยาวเท่ากัน ตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการเลื่อนขนานไปประยุกต์ใช้และสร้างเป็นสิ่งอานวยความสะดวก เช่น ลิฟท์และบันได เลื่อน ตัวอย่างที่ 1 จงหาพื้นที่โดยประมาณของส่วนที่แรเงาของรูปต่อไปนี้ A D C B 14 หน่วย
  • 2. 2 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร ตัวอย่างที่ 2 หมู่บ้าน A และหมู่บ้าน B ตั้งอยู่บนตาแหน่ง A และตาแหน่ง B ตามลาดับ โดยมีถนนตัดผ่าน ดังรูป ถ้าต้องการสร้างสะพานลอยข้ามถนนสายนี้โดยสะพานลอยต้องตั้งฉากกับถนน และระยะทางที่สร้างต้องเป็นระยะ ทางที่สั้นที่สุด แล้วจงอธิบายวิธีหาตาแหน่งที่จะสร้างสะพานลอย 2. การประยุกต์ของการสะท้อน สมบัติของการสะท้อน 1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการสะท้อนได้สนิท โดยต้องพลิกรูป 2. เส้นสะท้อนแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดที่สมนัยกัน 3. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการสะท้อนของส่วนของเส้นตรงนั้นไม่จาเป็นต้องขนาน กันทุกคู่ ตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการสะท้อนไปประยุกต์ใช้และสร้างเป็นสิ่งอานวยความสะดวก หมู่บ้าน A หมู่บ้าน B
  • 3. 3 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร ตัวอย่างที่ 3 จงหาพื้นที่โดยประมาณของส่วนที่แรเงา ตัวอย่างที่ 4 หมู่บ้าน A และหมู่บ้าน B ตั้งอยู่ฝังเดียวกันของถนนสายหนึ่ง ถ้าต้องการสร้างป้ายรถประจาทาง สาหรับหมู่บ้านทั้งสอง แล้วจะต้องสร้างป้ายรถประจาทางที่ตาแหน่งใดจึงจะทาให้ผลรวมของระยะทางจาก หมู่บ้าน A ไปยังป้ายรถประจาทาง และไปยังหมู่บ้าน B มีระยะทางสั้นที่สุด 30 หน่วย A F B E G H C D 20 หน่วย หมู่บ้าน A หมู่บ้าน B
  • 4. 4 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 3. การประยุกต์ของการหมุน สมบัติของการหมุน 1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการหมุนได้สนิท โดยไม่ต้องพลิกรูป 2. จุดบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนจุดนั้น แต่ละคู่จะอยู่บนวงกลมที่มีจุดหมุนเป็นจุดศูนย์กลาง เดียวกัน 3. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนส่วนของเส้นตรงนั้น ไม่จาเป็นต้องขนานกันทุกคู่ ตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการสะท้อนไปประยุกต์ใช้และสร้างเป็นสิ่งอานวยความสะดวก ตัวอย่างที่ 5 กาหนดให้ ABCD เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีพื้นที่ 64 ตารางหน่วย และรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส EFGH มีพื้นที่ เท่ากับรูปสี่เหลี่ยม ABCD โดยที่จุด E เป็นจุดกึ่งกลางของรูปสี่เหลี่ยม ABCD จงหาพื้นที่ส่วนที่แรเงา
  • 5. 5 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร 4. เทสเซลเลชัน (Tessellation) เทสเซลเลชัน เทสเซลเลชัน เป็นการนารูปปิดมาปิดพื้นที่ที่ต้องการ โดยไม่ให้เกิดช่องว่างและไม่ให้ มีการซ้อนทับกัน เทสเซลเลชันจะเป็นการนาความรู้เรื่องการแปลงทางเรขาคณิต ซึ่งประกอบด้วยการเลื่อนขนาน การสะท้อนและ การหมุน มาประยุกต์ใช้ในการออกแบบลวดลายต่างๆทางศิลปะ ซึ่งสามารถพบเห็นได้ในชีวิตประจาวัน เช่น รังผิ้งมีลักษณะเป็นเทสเซลเลชันที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งเกิดจากรูปปิดหกเหลี่ยมปิดบนพื้นที่ โดยไม่ให้เกิด ช่องว่างและไม่ให้ซ้อนทับกัน ดังรูป เทสเซลเลชันปกติ เทสเซลเลชันปกติ เป็นเทสเซลเลชันที่ได้จากรูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ชนิดใดชนิดหนึ่งเพียงชนิดเดียว ข้อสังเกต รูปหลายเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่าที่สามารถนามาทาเป็นเทสเซลเลชันได้ ต้องเป็นรูปหลายเหลี่ยมที่มีขนาด ของมุมภายในแต่ละมุมหาร 360 องศา ได้ลงตัว ซึ่งจะพบว่ามีรูปเรขาคณิตเพียง 3 ชนิดเท่านั้น คือ 1. รูปสามเหลี่ยมด้านเท่า 2. รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส 3. รูปหกเหลี่ยมด้านเท่า
  • 6. 6 บ้านเลขที่ 70 ซอยข้างอาเภอ ซอย1 ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร. 084-1284087 www.krusawed.wordpress.com ครูเสวตร ตัวอย่างของเทสเซลเลชันปกติที่เกิดจากรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสและรูปหกเหลี่ยมด้านเท่า นอกจากนี้เรายังสามารถนาความรู้เรื่องเทสเซลเลชันมาประยุกต์ใช้ในชีวิติประจาวันได้ เช่น การออกแบบลายผ้า การออกแบบลายกระเบื้องปูพื้น และอุปกรณ์เครื่องใช้ต่างๆ ดังรูป