SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                            ใบความรู้ที่ 8.1
                                 เรื่อง ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – อธิบายตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ในภาษาซีได้
         สาหรับเรื่องของตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ในโปรแกรมภาษาซีนั้น จะใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์
เป็นตัวเชื่อมในการเขียนโปรแกรม เพื่อหาผลลัพธ์จากการคานวณ ซึ่งสามารถกระทากับข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น
บวก ลบ คูณ หาร เปอร์เซ็นต์ ดังตัวอย่างในตารางข้างล่างนี้

               ตัวดาเนินการ                   ความหมาย                     ตัวอย่าง
                     +                      บวก (Addition)                  X+y
                     -                     ลบ (Subtraction)                 X–y
                     *                   คูณ (Multiplication)               X*y
                     /                      หาร (Division)                  X/y
                    ++              เพิ่มค่าครั้งละ 1(Increment)             X++
                     --             ลดค่าครั้งละ 1(Decrement)                 X--
                    %            หารเอาผลลัพธ์เฉพาะเศษ (Modulus)           X%y




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                               http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                             ใบความรู้ที่ 8.2
                                    เรื่อง ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – อธิบายตัวดาเนินการเปรียบเทียบในภาษาซีได้
        ตัวดาเนินการเปรียบเทียบในโปรแกรมภาษาซีคือเครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบในทางคณิตศาสตร์
ผลลัพธ์จะมี 2 กรณีคือ ถ้าผลลัพธ์ถูกต้องหรือเป็นจริงจะมีค่าเป็น 1 ถ้าผลลัพธ์ผิดหรือเป็นเท็จจะมีค่าเป็น 0
ผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าค่าคงที่บูลีน (Boolean Constant) ดังนี้
              8>5        ผลลัพธ์เป็นจริง ค่าคงที่บูลีนเป็น 1
             0 = 10      ผลลัพธ์เป็นเท็จ ค่าคงที่บูลีนเป็น 0
              X>x        ผลลัพธ์เป็นจริง ค่าคงที่บูลีนเป็น 1(เปรียบเทียบค่าตามรหัสแอสกี)
              A>B        ผลลัพธ์เป็นจริง ค่าคงที่บูลีนเป็น 1(เปรียบเทียบค่าตามรหัสแอสกี)

          ตัวดาเนินการ                         ความหมาย                          ตัวอย่าง
                >                      มากกว่า (Greather Than)                    X>y
                <                        น้อยกว่า (Less Than)                     X<y
               >=            มากกว่าหรือเท่ากับ (Greather Than or Equal)         X >= y
               <=              น้อยกว่าหรือเท่ากับ (Less Than or Equal)          X <= y
               ==                           เท่ากับ (Equal)                      X == y
               !=                       ไม่เท่ากับ (Not Equal)                    X != y




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                 http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                               ใบความรู้ที่ 8.3
                                       เรื่อง ตัวดาเนินการทางตรรกะ

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – อธิบายตัวดาเนินการทางตรรกะในภาษาซีได้
          ตัวดาเนินการทางตรรกะในโปรแกรมภาษาซี คือเครื่องหมายที่ใช้เชื่อมเงื่อนไข 2 เงื่อนไข หรือมากกว่า 2
เงื่อนไข เพื่อให้การเปรียบเทียบมีความละเอียดมากขึ้น ใช้สัญลักษณ์แทนในแต่ละเครื่องหมาย ดังตารางข้างล่างนี้

                          จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริง แต่ถ้าเงื่อนไขใดเป็นเท็จ
                 &&
                          หรือทั้งสองเงื่อนไขเป็นเท็จจะทาให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
                          จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งเป็นจริง หรือเป็นจริงทั้ง
                   ||
                          สองเงื่อนไข แต่ถ้าเป็นเท็จทั้งสองเงื่อนไขจะทาให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ
                          จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขหลัง not เป็นเท็จ แต่ถ้าเงื่อนไขหลัง
                          not เป็นจริงจะทาให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ ตัวดาเนินการ ความหมาย
                    !
                          ตัวอย่าง
                          && และ (and) Mark>=80&&mark<=100
             || หรือ (or) Score<0||score>100
                    !     ไม่ (not) !x&&!y




     รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                   http://comkrutae.wordpress.com
เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244
                                             ใบความรู้ที่ 8.4
                         เรื่อง นิพจน์คณิตศาสตร์และขั้นตอนการทางานของนิพจน์

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – เขียนขั้นตอนและการทางานของนิพจน์ได้
       นิพจน์คณิตศาสตร์ในโปรแกรมภาษาซี คือการนาค่าคงที่หรือตัวแปรมาเชื่อมต่อกัน ด้วยเครื่องหมายทาง
คณิตศาสตร์ นิพจน์คณิตศาสตร์จะมีลักษณะคล้ายกับสมการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้

                         c=a*b                             (10 + 5 ) * 10 % 9 = 15
                     (8 * a + 2 * b)/c                       5 + (5 – 1 ) * 4 = 21


ลาดับการประมวลผลของนิพจน์
             ลาดับการประมวลผลของนิพจน์คณิตศาสตร์จะทาการประมวลผลในส่วนของวงเล็บก่อนในกรณีที่มี
วงเล็บ จากนั้นจะคานวณไปตามลาดับของการประมวลดังตารางข้างล่างนี้ และหากมีเครื่องหมายที่อยู่ในลาดับการ
ประมวลผลเดียวกันจะทาการคานวณจากด้านซ้ายไปด้านขวา

                       เครื่องหมาย                           ลาดับการประมวลผล
                             ()                                      1
                            ++,--                                    2
                            */%                                      3
                             +-                                      4

ตัวอย่าง 2 5 + 10 *2 = 25              ลาดับการประมวลผล
                                       10 * 2 = 20 แล้วบวกดับ 5 ได้ผลลัพธ์ 25
ตัวอย่าง 3 (2 + 7) * 4 % 10 = 6        ลาดับการประมวลผล
                                       2 + 7 = 9 แล้วคูณกับ 4 ได้ 36 หารแบบเอาเศษด้วย 10 ได้ 6
ตัวอย่าง 4 2 + 7 * 4 % 10 = 10         ลาดับการประมวลผล
                                       7 * 4 = 28 แล้วหารแบบเอาเศษด้วย 10 ได้ 8 บวกกับ 2 เป็น 10
ตัวอย่าง 5 10 + 2 * 8 / 4 * 3 – 5 = 17 ลาดับการประมวลผล
                                       1. 2 * 8 = 16            2. 16 / 4 = 4         3. 4 * 3 = 12
                                       4. 12 + 10 = 22          5. 22 – 5 = 17




      รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์)
                                     http://comkrutae.wordpress.com

Contenu connexe

Similaire à ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เทวัญ ภูพานทอง
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
Aon Narinchoti
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
kanjana2536
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
krookay2012
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Ing Gnii
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
jutarattubtim
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
Sarun Suksri
 

Similaire à ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ (20)

นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
Unit9
Unit9Unit9
Unit9
 
การแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนามการแยกตัวประกอบพหุนาม
การแยกตัวประกอบพหุนาม
 
Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2Factoring of polynomials2
Factoring of polynomials2
 
112
112112
112
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม456
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์
 
แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์แผนการซอฟแวร์
แผนการซอฟแวร์
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 

Plus de เทวัญ ภูพานทอง

Plus de เทวัญ ภูพานทอง (20)

คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plickerคู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plicker
 
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูงการสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
 
ประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engineประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engine
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorerการค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์

  • 1. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 8.1 เรื่อง ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – อธิบายตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ในภาษาซีได้ สาหรับเรื่องของตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ในโปรแกรมภาษาซีนั้น จะใช้ตัวดาเนินการทางคณิตศาสตร์ เป็นตัวเชื่อมในการเขียนโปรแกรม เพื่อหาผลลัพธ์จากการคานวณ ซึ่งสามารถกระทากับข้อมูลได้หลายรูปแบบ เช่น บวก ลบ คูณ หาร เปอร์เซ็นต์ ดังตัวอย่างในตารางข้างล่างนี้ ตัวดาเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง + บวก (Addition) X+y - ลบ (Subtraction) X–y * คูณ (Multiplication) X*y / หาร (Division) X/y ++ เพิ่มค่าครั้งละ 1(Increment) X++ -- ลดค่าครั้งละ 1(Decrement) X-- % หารเอาผลลัพธ์เฉพาะเศษ (Modulus) X%y รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 2. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 8.2 เรื่อง ตัวดาเนินการเปรียบเทียบ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – อธิบายตัวดาเนินการเปรียบเทียบในภาษาซีได้ ตัวดาเนินการเปรียบเทียบในโปรแกรมภาษาซีคือเครื่องหมายที่ใช้ในการเปรียบเทียบในทางคณิตศาสตร์ ผลลัพธ์จะมี 2 กรณีคือ ถ้าผลลัพธ์ถูกต้องหรือเป็นจริงจะมีค่าเป็น 1 ถ้าผลลัพธ์ผิดหรือเป็นเท็จจะมีค่าเป็น 0 ผลลัพธ์ของการเปรียบเทียบมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าค่าคงที่บูลีน (Boolean Constant) ดังนี้ 8>5 ผลลัพธ์เป็นจริง ค่าคงที่บูลีนเป็น 1 0 = 10 ผลลัพธ์เป็นเท็จ ค่าคงที่บูลีนเป็น 0 X>x ผลลัพธ์เป็นจริง ค่าคงที่บูลีนเป็น 1(เปรียบเทียบค่าตามรหัสแอสกี) A>B ผลลัพธ์เป็นจริง ค่าคงที่บูลีนเป็น 1(เปรียบเทียบค่าตามรหัสแอสกี) ตัวดาเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง > มากกว่า (Greather Than) X>y < น้อยกว่า (Less Than) X<y >= มากกว่าหรือเท่ากับ (Greather Than or Equal) X >= y <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ (Less Than or Equal) X <= y == เท่ากับ (Equal) X == y != ไม่เท่ากับ (Not Equal) X != y รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 3. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 8.3 เรื่อง ตัวดาเนินการทางตรรกะ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – อธิบายตัวดาเนินการทางตรรกะในภาษาซีได้ ตัวดาเนินการทางตรรกะในโปรแกรมภาษาซี คือเครื่องหมายที่ใช้เชื่อมเงื่อนไข 2 เงื่อนไข หรือมากกว่า 2 เงื่อนไข เพื่อให้การเปรียบเทียบมีความละเอียดมากขึ้น ใช้สัญลักษณ์แทนในแต่ละเครื่องหมาย ดังตารางข้างล่างนี้ จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขทั้งสองเป็นจริง แต่ถ้าเงื่อนไขใดเป็นเท็จ && หรือทั้งสองเงื่อนไขเป็นเท็จจะทาให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขใดเงื่อนไขหนึ่งเป็นจริง หรือเป็นจริงทั้ง || สองเงื่อนไข แต่ถ้าเป็นเท็จทั้งสองเงื่อนไขจะทาให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ จะให้ผลลัพธ์เป็นจริงเมื่อเงื่อนไขหลัง not เป็นเท็จ แต่ถ้าเงื่อนไขหลัง not เป็นจริงจะทาให้ผลลัพธ์เป็นเท็จ ตัวดาเนินการ ความหมาย ! ตัวอย่าง && และ (and) Mark>=80&&mark<=100 || หรือ (or) Score<0||score>100 ! ไม่ (not) !x&&!y รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com
  • 4. เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การเขียนโปรแกรมภาษาซีเบื้องต้น ง 30244 ใบความรู้ที่ 8.4 เรื่อง นิพจน์คณิตศาสตร์และขั้นตอนการทางานของนิพจน์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง – เขียนขั้นตอนและการทางานของนิพจน์ได้ นิพจน์คณิตศาสตร์ในโปรแกรมภาษาซี คือการนาค่าคงที่หรือตัวแปรมาเชื่อมต่อกัน ด้วยเครื่องหมายทาง คณิตศาสตร์ นิพจน์คณิตศาสตร์จะมีลักษณะคล้ายกับสมการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้ c=a*b (10 + 5 ) * 10 % 9 = 15 (8 * a + 2 * b)/c 5 + (5 – 1 ) * 4 = 21 ลาดับการประมวลผลของนิพจน์ ลาดับการประมวลผลของนิพจน์คณิตศาสตร์จะทาการประมวลผลในส่วนของวงเล็บก่อนในกรณีที่มี วงเล็บ จากนั้นจะคานวณไปตามลาดับของการประมวลดังตารางข้างล่างนี้ และหากมีเครื่องหมายที่อยู่ในลาดับการ ประมวลผลเดียวกันจะทาการคานวณจากด้านซ้ายไปด้านขวา เครื่องหมาย ลาดับการประมวลผล () 1 ++,-- 2 */% 3 +- 4 ตัวอย่าง 2 5 + 10 *2 = 25 ลาดับการประมวลผล 10 * 2 = 20 แล้วบวกดับ 5 ได้ผลลัพธ์ 25 ตัวอย่าง 3 (2 + 7) * 4 % 10 = 6 ลาดับการประมวลผล 2 + 7 = 9 แล้วคูณกับ 4 ได้ 36 หารแบบเอาเศษด้วย 10 ได้ 6 ตัวอย่าง 4 2 + 7 * 4 % 10 = 10 ลาดับการประมวลผล 7 * 4 = 28 แล้วหารแบบเอาเศษด้วย 10 ได้ 8 บวกกับ 2 เป็น 10 ตัวอย่าง 5 10 + 2 * 8 / 4 * 3 – 5 = 17 ลาดับการประมวลผล 1. 2 * 8 = 16 2. 16 / 4 = 4 3. 4 * 3 = 12 4. 12 + 10 = 22 5. 22 – 5 = 17 รวบรวมโดย ครู เทวัญ ภูพานทอง ครู คศ. 1 โรงเรี ยนนามนพิทยาคม สพม. 24 (กาฬสิ นธุ์) http://comkrutae.wordpress.com