SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
หนาที่ 1




                                       สวัสดีเด็กๆ ทุกคน วันนี้ผมไดรบเชิญพิเศษ มาบรรยายให
                                                                        ั
                                       ทุกคนเขาใจถึงการทําโครงงานวิทยาศาสตร ตอนนี้เปน
                                       อยางไรกันบาง ไดขาววากําลังทําโครงกันอยางขยันขันแข็ง
                                                           
                                       ผมจะสรุปเกียวกับโครงงานวิทยาศาสตรใหทุกคนฟง เผือจะ
                                                  ่                                          ่
                                       มีประโยชนในการทําโครงงานของทุกคน



                       รูหรือเปลาวาโครงงานวิทยาศาสตรความหมายวา
                       อยางไร และคุณคาของโครงงานวิทยาศาสตรอยู
                       ตรงไหน?


ความหมายและคุณคาของโครงงานวิทยาศาสตร
         โครงงานวิทยาศาสตร หมายถึงการศึกษาเรื่องราวดานวิทยาศาสตรรวมทั้งดานคณิตศาสตร ในหัวขอ
ใดหัวขอหนึ่งที่นักเรียนสนใจ โดยมีการวางแผน ที่จะศึกษาภายในขอบเขตของระดับความรู ระยะเวลา และ
อุปกรณที่มีอยู ในโครงงานวิทยาศาสตร จะตองใชวธีการทางวิทยาศาสตร เปนแนวทางในการแกปญหา
                                                      ิ
เพื่อใหไดผลงานที่มีความสมบูรณในตัวเอง จุดมุงหมายสําคัญของการทําโครงงานไมไดอยูที่การสงประกวดเพื่อ
รางวัล แตเปนการฝกใหนกเรียนไดมประสบการตรงในการใชวธีการทางวิทยาศาสตร ในการแกปญหาประดิษฐ
                          ั        ี                       ิ
คิดคนหรือคนควาความรูตางๆ อยางไรก็ตามหารทําโครงงานวิทยาศาสตร จะสมบูรณไดก็ตอเมื่อนักเรียนได
แสดงผลงานของตนเอง


            ยังจําวิธีการทางวิทยาศาสตรหลักๆ 5 ขั้นตอนไดหรือเปลา?
            ขั้นที่ 1 ตั้งปญหาหรือตั้งขอสังเกต
            ขั้นที่ 2 ตั้งสมมติฐานหลังจากศึกษาขอมูล
            ขั้นที่ 3 วางแผนเพื่อศึกษาหรือทดลองเพื่อพิสูจนสมมติฐาน
            ขั้นที่ 4 ทําการรวบรวมขอมูลจากผลการศึกษา
                       หรือผลการทดลอง
            ขั้นที่ 5 สรุปผลการศึกษาหรือสรุปผลการทดลอง นําผลสรุป
                       มาอภิปรายผลในแงมุม ประเด็นตางๆ ที่นาสนใจ
                                                            
หนาที่ 2


        เมื่อพิจารณาลักษณะที่รวมกันบางประการ อาจแบง
        โครงงานไดเปน 4 ประเภท คือ
                 โครงงานประเภทการทดลอง
                 โครงงานประเภทสํารวจราบรวมขอมูล
                 โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ
                 โครงงานประเภททฤษฎี


ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานประเภทการทดลอง
        เปนโครงงานที่มีการออกแบบการทดลอง เพื่อศึกษาผลของตัวแปรหนึ่งที่มีตออีกตัวแปรหนึง โดย  ่
ควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่อาจมีผลตอตัวแปรที่ตองการศึกษา โครงงานประเภทนี้ตองเปนโครงงานที่มีการจัด
กระทํากับตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ) มีการวัดตัวแปรตาม และควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่ไมตองการศึกษา
ตัวอยางเชน โครงงานเรื่อง “การศึกษาผลของความเขนขนของฮอรโมน NAA ที่มีผลตอการงอกของรากกิ่งชํา
กุหลาบ” ซึ่งในโครงงานนี้ตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ) คือ ความเขนขนของฮอรโมน NAA ตัวแปรตาม คือ
ปริมาณของรากกิ่งชํา ตัวแปรที่ตองความคุม คือ ลักษณะการตัดกิงชํา ขนาดและความสมบูรณของกิ่ง พันธุ
                                                              ่
กุหลาบ ปริมาณน้ํา ปริมาณปุย วัสดุที่ใชในการปกชํา และสิ่งแวดลอมอื่น เชน อุณหภูมิ แสงสวาง ฯลฯ




โครงงานประเภทสํารวจราบรวมขอมูล
        โครงงานประเภทนี้แตกตางจากโครงงานประเภทแรกตรงที่ไมมีการจัด         หรือกําหนดตัวแปรอิสระที่
ตองการศึกษาเหมือนโครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทสํารวจราบรวมขอมูล ผูทําโครงงานเพียง
ตองการสําราจและรวบรวมขอมูลแลวนําขอมูลเหลานันมาจําแนกเปนหมวดหมูใหเปนระบบระเบียบและสื่อ
                                                 ้
ความหมาย และนําเสนอขอมูลในรูปแบบตางๆ เชน ตาราง กราฟ แผนภูมิ และคําอธิบายประกอบ เพื่อใหเห็น
ลักษณะหรือความสําพันธในเรื่องที่ตองการศึกษาไดชดเจนยิ่งขึ้น
                                                   ั          การสํารวจรวบรวมขอมูลอาจทําไดหลาย
รูปแบบ เชน การออกไปเก็บรวบรวมขอมูลในภาคสนาม ตัวอยางโครงงานประเภทนี้ เชน การสํารวจ
ประชากรและชนิดของสิ่งตางๆ เชน พืช สัตว หิน แร ฯลฯ ในทองถิ่นหรือบริเวณทีตองการศึกษา การ
                                                                                 ่
สํารวจพฤติกรรมตางๆ ของสัตวในธรรมชาติ การสํารวจปริมาณความเขนขนของแสงอาทิตยเฉลี่ยตอเดือนใน
แตละทองถิ่น การศึกษาสเปกตัมของกาซชนิดหนึ่ง การศึกษาสภาพนําความรอนของวัตถุชนิดหนึ่ง การ
สํารวจมลพิษของอากาศในแหลงตางๆ การศึกษาวงจรชีวตของไหมที่เลี้ยงในหองปฏิบัติการ
                                                      ิ                                   การศึกษา
พฤติกรรมของสัตวบางชนิดที่เลี้ยงในหองปฏิบัติการ ฯลฯ
หนาที่ 3
โครงงานประเภทสิงประดิษฐ
                   ่
        โครงงานประเภทนี้เปนโครงงานที่เกี่ยวกับการประยุกตทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตรมา
ประดิษฐเครื่องมือ เครื่องใช หรืออุปกรณเพื่อประโยชนใชสอยตางๆ ซึ่งอาจเปนการคิดประดิษฐของใหมๆ
หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยูแลวใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได โครงงานปประเภทนี้รวมไปถึงการ
สรางแบบจําลอง เพื่ออธิบายความคิดตางๆ ตัวอยาง เชน โครงงานเรื่องกระสวยอัดอากาศ ลิฟทพลังงาน
โนมถวง เครื่องจักรกลพลังงานแมเหล็ก เครื่องอบมันสําปะหลัง แบบจะลองบานพลังงานแสงอาทิตย
หุนยนตใชงานในบาน ฯลฯ

โครงงานประเภททฤษฎี
         เปนโครงงานที่ผูทําโครงงานไดเสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหมๆ ซึ่งอาจอยูในรูปของ
สูตร สมการ หรือคําอธิบายก็ได โดยผูเสนอไดตั้งกติกาหรือขอตกลงขึ้นมาเองแลวเสนอทฤษฎี หลัการ
แนวคิด หรือจินตนาการของตนเองตามกติกาหรือขอตกลงนั้น หรืออาจใชกติกาหรือของตกลงเดิมมาอธิบาย
สิ่งหรือปรากฎการณตางๆ ในแนวใหม ทฤษฎี หลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการที่เสนอขึ้นอาจจะใหม
ยังไมมีใครคิอมากอน หรืออาจขัดแยงกับทฤษฎีเดิม หรือเปนการขยายทฤษฎี หรือแนวความคิดเดิมก็ได
ตัวอยางโครงงาน เชน โครงงานเรื่องการอธิบายอวการศแนวใหม โครงงานเรื่องทฤษฎีของจํานวนเฉพาะ



                                                ไมวานักเรียนจะเลือกทํา
                                                โครงงานประเภทไหน จะมีลาดับ  ํ
                                                ขั้นตอนที่คลายกัน ซึ่งพอจะ
                                                แบงเปนขั้นตอนที่สําคัญ ดังนี้




ลําดับขั้นตอนของการทําโครงงาน
การทําโครงงานวิทยาศาสตรมีขั้นตอนทีสําคัญดังตอไปนี้
                                           ่
ขั้นที่ 1 การคิดและเลือกชื่อเรื่องหรือปญหาที่จะศึกษา
          ขั้นตอนนี้เปนขั้นที่สําคัญทีสุดและยากทีสุด ตามหลักการแลวนักเรียนควรจะเปนผูคิดและเลือกหัวขอ
                                       ่          ่
เรื่องที่จะศึกษาดวยตนเอง แตครูอาจมีบทบาทหรือมีสวนชวยเหลือใหนักเรียนสามารถคิดหัวขอเรื่องไดดวย
ตนเอง ดังจะไดกลาวตอไป
หนาที่ 4
ขั้นที่ 2 การวางแผนในการทําโครงงาน
          ไดแก การวางแผนวิธีดําเนินงานในการศึกษาคนควาทังหมด เชน วัสดุอุปกรณ ที่จําเปนตองใชในการ
                                                           ้
ออกแบบการทดลอง และควบคุมตัวแปร วิธีดําเนินการรวบรวมขอมูล การวางแผนปฏิบัติงานอยางคราว ๆ วา
จะดําเนินการอยางไรบางเปนขั้นตอน แลวนําเสนออาจารยที่ปรึกษา เพื่อขอคําแนะนําเพิ่มเติม และขอความ
เห็นชอบ

ขั้นที่ 3 การลงมือทําโครงงาน
          ไดแก การลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่ไดวางไวลวงหนาแลวในขั้นที่สองนั่นเอง ประกอบดวยการเก็บ
                                                      
รวบรวมขอมูล การสรางหรือการประดิษฐ การปฏิบตการทดลอง ซึ่งสุดแลวแตจะเปนโครงงานประเภทใดและ
                                                 ั ิ
การคนควาจากเอกสารตาง ๆ แลวดําเนินการวิเคราะหขอมูล แบงความหมายของขอมูล และสรุปผลของ
การศึกษาคนควา

ขั้นที่ 4 การเขียนรายงาน
          เปนการเสนอผลของการศึกษาคนควาเปนลายลักษณอักษรหรือเปนเอกสาร เพื่ออธิบายใหผูอื่นทราบ
รายละเอียดทังหมดของการทําโครงงาน ซึ่งจะประกอบดวยปญหาที่ทําการศึกษาวัตถุประสงคของการศึกษา
               ้
วิธีดําเนินการศึกษาคนควา อุปกรณหรือเครื่องมือที่ใช ขอมูลตาง ๆ ที่รวบรวมได ผลที่ไดจากการศึกษาคนควา
ตลอดจนประโยชนและขอเสนอแนะตางๆ ที่ไดจากการทําโครงงานนั้นๆ วิธีเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร
ก็มีลักษณะและแนวทางในการเขียน เชนเดียวกับการเขียนรายงานผลการวิจัยทางวิทยาศาสตรของ
นักวิทยาศาสตรนั่นเอง

ขั้นที่ 5 การแสดงผลงาน
          เปนการเสนอผลงานที่ไดศกษาคนควาสําเร็จลงแลวใหผูอื่นไดรับรูและเขาใจ
                                 ึ                                                      ซึ่งอาจกระทําไดหลาย
รูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ การสาธิตแสดงประกอบการรายงานปากเปลา ฯลฯ



                                                        มาถึงตอนนี้ นักเรียนคงเขาใจความหมายของ
                                                        โครงงาน และขั้นตอนการทํามากขึ้น คุณครู
                                                        เลาใหผมฟงวา พวกเธอไดหวขอเรื่องที่จะทํา
                                                                                     
                                                        โครงงานแลว รวมทั้งไดวางแผนในการทํา
                                                        โครงงานและสงเคาโครงใหอาจารยที่ปรึกษา
                                                        เรียบรอยแลว และในระหวางนี้ พวกเธอก็
                                                        กําลังทําการทดลองตามแผนที่วางไว ถาเปน
                                                        ไปตามแผน งานก็จะเหลือแคการเขียนรายงาน
                                                        และการแสดงผลงานในการเขาคายครั้งตอไป
                                                        ผมก็จะเนน 2 เรื่องที่เหลือละกัน
หนาที่ 5
การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร
         การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร      เปนการเสนอผลงานการดําเนินการเปนเอกสารจัดวาเปน
ขั้นตอนสําคัญอีกประการหนึ่งของโครงงาน เมื่อนักเรียนดําเนินการทําโครงงานจนครบขั้นตอนไดขอมูล ทํา
การวิเคราะหขอมูล พรอมทั้งแปรผล และสรุปผลแลว งานขั้นตอไปที่ตองทําคือการเขียนรายงาน
          การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร เปนวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งเพื่อใหคนอื่นๆ
ไดเขาใจแนวความคิด วิธีดําเนินงานศึกษาคนควาขอมูล ผลที่ไดตลอดจนขอสรุปและขอเสนอแนะตางๆ
เกี่ยวกับโครงงานนั้น
       การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร ประกอบดวยหัวขอตาง ๆ ดังนี้
         1. ชื่อโครงงาน
         2. ชื่อผูจัดทําโครงงาน
         3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน
         4. บทคัดยอ
         5. กิตติกรรมประกาศ (คําขอบคุณ)
         6. ทีมาและความสําคัญของโครงงาน
               ่
         7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน
         8. สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี)
         9. ขอบเขตของการทําโครงงาน
         10. วิธีดําเนินการ
         11. ผลการศึกษาคนควา
         12. สรุปผลและขอเสนอแนะ
         13. เอกสารอางอิง



1. ชื่อโครงงาน
         ชื่อโครงงานเปนสิ่งสําคัญประการแรก เพราะชื่อโครงการจะชวยโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงคของการ
ทําโครงงานวิทยาศาสตร และควรกําหนดชื่อโครงการใหสอดคลองกับวัตถุประสงคหลักดวย
         การตั้งชื่อโครงงานของนักเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นิยมตังชื่อใหมีความกะทัดรัด
                                                                                   ้
และดึงดูดความสนใจจากผูอาน ผูฟง แตสิ่งที่ควรคํานึงถึง คือ ผูทําโครงงานวิทยาศาสตร ตองเขาใจปญหาที่
สนใจศึกษาอยางแทจริง อันจะนําไปสูการเขาใจวัตถุประสงคของการศึกษาอยางแทจริงดวย เชน
         โครงงานวิทยาศาสตร ชื่อ “ถุงพลาสติกพิชิตแมลงวันตัวนอย” ซึ่งปญหาเรื่องที่สนใจศึกษาคือถุงน้ํา
พลาสติกสามารถไลแมลงวันที่มาตอมอาหารไดจริงหรือ จากเรื่องดังกลาวผูทําโครงงานวิทยาศาสตร บางคน
หรือบางคณะอาจสนใจตั้งชื่อโครงงานวิทยาศาสตร วา “การศึกษาการไลแมลงวันดวยถุงน้ําพลาสติก” หรือ “ผล
การใชถุงน้ําพลาสติกตอการไลแมลงวัน” ก็เปนได
         อยางไรก็ตามจะตั้งชื่อโครงการในแบบใด ๆ นั้น ตองคํานึงถึงความสามารถที่จะสื่อความหมายถึง
วัตถุประสงคที่ตองการศึกษาไดชัดเจน
หนาที่ 6
2. ชื่อผูจัดทําโครงงาน
          การเขียนชื่อผูรับผิดชอบโครงงานวิทยาศาสตร
                                                        เปนสิ่งดีเพื่อจะไดทราบวาโครงงานนั้นอยูในความ
รับผิดชอบของใครและสามารถติดตามไดที่ใด

3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน
         การเขียนชื่อผูใหคําปรึกษาควรใหเกียรติยกยองและเผยแพร รวมทั้งขอบคุณที่ไดใหคําแนะนําการทํา
                       
โครงงานวิทยาศาสตรจนบรรลุเปาหมาย

4. บทคัดยอ
        อธิบายถึงที่มาและความสําคัญของโครงงาน วัตถุประสงค วิธีดําเนินการ และผลทีได ตลอดจนขอสรุป
                                                                                 ่
ตาง ๆ อยางยอประมาณ 300-350 คํา

5. กิตติกรรมประกาศ (คําขอบคุณ)
        สวนใหญโครงงานวิทยาศาสตรมักจะเปนกิจกรรมที่ไดรับความรวมมือจากหลายฝายดังนั้นเพื่อเปนการ
เสริมสรางบรรยากาศของความรวมมือ จึงควรไดกลาวขอบคุณบุคลากรหรือหนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนชวยให
โครงงานนี้สําเร็จดวย

6. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
         ในการเขียนทีมาและความสําคัญของโครงงานวิทยาศาสตร ผูทําโครงงานจําเปนตองศึกษา หลักการ
                        ่
ทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจจะศึกษา หรือพูดเขาใจงาย ๆ วาเรื่องที่สนใจจะศึกษานั้นตองมีทฤษฎีแนวคิด
สนับสนุน เพราะความรูเหลานี้จะเปนแนวทางสําคัญในเรื่องตอไปนี้
         - แนวทางตั้งสมมติฐานของเรื่องที่ศึกษา
         - แนวทางในการออกแบบการทดลองหรือการรวบรวมขอมูล
         - ใชประกอบการอภิปรายผลการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะเพื่อนําความรูและ             สิ่งประดิษฐใหมที่
คนพบไปใชประโยชนตอไป
         การเขียนที่มาและความสําคัญของโครงงาน คือ การอธิบายใหกระจางชัดวาทําไม ตองทํา ทําแลวได
อะไร หากไมทําจะเกิดผลเสียอยางไร ซึ่งมีหลักการเขียนคลายการเขียนเรียงความ ทั่ว ๆ ไป คือ มีคํานํา เนื้อ
เรื่อง และสรุป
         สวนที่ 1 คํานํา :
         เปนการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปญหาที่มีสวนสนับสนุนใหริเริ่มทําโครงงาน
วิทยาศาสตร

      สวนที่ 2 เนื้อเรื่อง :
      อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงใหเห็นประโยชนของการทําโครงงานวิทยาศาสตร              โดยมี หลักการ
ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยายผลกระทบ ถาไมทําโครงงานเรื่องนี้
หนาที่ 7
        สวนที่ 3 สรุป :
        สรุปถึงความจําเปนที่ตองดําเนินการตามสวนที่ 2 เพือแกไขปญหา คนขอความรูใหม คนสิ่งประดิษฐ
                                                           ่                       
ใหมใหเปนไปตามเหตุผลสวนที่ 1

7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน
        วัตถุประสงค คือ กําหนดจุดมุงหมายปลายทางทีตองการใหเกิดจากการทําโครงงานวิทยาศาสตร ใน
                                                      ่ 
การเขียนวัตถุประสงค ตองเขียนใหชัดเจน อานเขาใจงายสอดคลองกับชื่อโครงงาน หากมีวัตถุประสงคหลาย
ประเด็น ใหระบุเปนขอ ๆ การเขียนวัตถุประสงคมีความสําคัญตอแนวทาง การศึกษา ตลอดจนขอความรูที่
คนพบหรือสิ่งประดิษฐที่คนพบนั้นจะมีความสมบูรณครบถวน คือ ตองสอดคลองกับวัตถุประสงคทุก ๆ ขอ

8. สมมติฐานของการศึกษา
          สมมติฐานของการศึกษา เปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรทผูทําโครงงาน ตองใหความสําคัญ
                                                               ี่
เพราะจะทําใหเปนการกําหนดแนวทางในการออกแบบการทดลองไดชัดเจนและรอบคอบ ซึ่งสมมติฐานก็คอ       ื
การคาดคะเนคําตอบของปญหาอยางมีหลักและเหตุผล ตามหลักการ ทฤษฎี รวมทั้งผลการศึกษาของโครงงาน
ที่ไดทํามาแลว

9. ขอบเขตของการทําโครงงาน
         ผูทําโครงงานวิทยาศาสตร ตองใหความสําคัญตอการกําหนดขอบเขตการทําโครงงาน เพื่อใหไดผล
การศึกษาที่นาเชื่อถือ ซึ่งไดแก การกําหนดประชากร กลุมตัวอยาง ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา
                
         1. การกําหนดประชากร และกลุมตัวอยางที่ศึกษา คือ การกําหนดประชากรที่ศึกษาอาจเปนคนหรือ
สัตวหรือพืช ชื่อใด กลุมใด ประเภทใด อยูที่ไหน เมื่อเวลาใด รวมทั้งกําหนด         กลุมตัวอยางที่มีขนาด
เหมาะสมเปนตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษา
         2. ตัวแปรทีศกษา การศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร สวนมากมักเปนการศึกษาความสัมพันธเชิงเหตุ
                     ่ ึ
และผล หรือความสัมพันธระหวางตัวแปรตั้งแต 2 ตัวแปรขึ้นไป การบอกชนิดของ ตัวแปรอยางถูกตองและ
ชัดเจน รวมทั้งการควบคุมตัวแปรทีไมสนใจศึกษา เปนทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรที่ผูทําโครงงาน
                                    ่
ตองเขาใจ ตัวแปรใดที่ศึกษาเปนตัวแปรตน ตัวแปรใดที่ศึกษาเปน ตัวแปรตาม และตัวแปรใดบางเปนตัวแปร
ที่ตองควบคุมเพื่อเปนแนวทางการออกแบบการทดลอง              ตลอดจนมีผลตอการเขียนรายงานการทําโครงงาน
วิทยาศาสตรที่ถูกตอง สื่อความหมายใหผูฟงและ ผูอานใหเขาใจตรงกัน

10. วิธีดําเนินการ
         วิธีดําเนินการ หมายถึง วิธการที่ชวยใหงานบรรลุตามวัตถุประสงคของการทํา
                                    ี                                                  โครงงาน ตั้งแตเริ่ม
เสนอโครงการกระทั่งสิ้นสุดโครงการ ซึ่งประกอบดวย
         1. การกําหนดประชากร กลุมตัวอยางทีศึกษา
                                               ่
         2. การสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล
         3. การเก็บรวบรวมขอมูล
         4. การวิเคราะหขอมูล
หนาที่ 8
       ในการเขียนวิธีดําเนินการใหระบุกิจกรรมที่ตองทําใหชัดเจนวาจะทําอะไรบาง เรียงลําดับกิจกรรมกอน
และหลังใหชัดเจน เพื่อสามารถนําโครงการไปปฏิบติอยางตอเนื่องและถูกตอง
                                              ั

11. ผลการศึกษาคนควา
        นําเสนอขอมูลหรือผลการทดลองตาง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะหขอมูลที่
วิเคราะหไดดวย
             

12. สรุปผลและขอเสนอแนะ
        อธิบายผลสรุปที่ไดจากการทําโครงงาน ถามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุดวยวาขอมูล ที่ไดสนับสนุนหรือ
คัดคานสมติฐานที่ตั้งไว หรือยังสรุปไมได     อกจากนี้ยังควรกลาวถึงการนําผลการทดลองไปใชประโยชน
อุปสรรคของการทําโครงงานหรือขอสังเกตที่สําคัญหรือขอผิดพลาดบางประการทีเกิดขึ้นจากการทําโครงงานนี้
                                                                            ่
รวมทั้งขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไข หากมีผูศึกษาคนควาในเรื่องที่ทํานองนี้ตอไปในอนาคตดวย

13. เอกสารอางอิง
       เอกสารอางอิง คือ รายชื่อเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อประกอบการทําโครงงานวิทยาศาสตร ตลอดจน
การเขียนรายงานการทําโครงงานวิทยาศาสตร ควรเขียนตามหลักการที่นิยมกัน



                                           เมื่อทําโครงงานเสร็จแลว ก็ตองนําเสนอ จะมี
                                           กระบวนการและขั้นตอนอยางไรในการนําเสนอ พวกเธอ
                                           อยาลืมประเด็นตางๆ ที่ตองนะเสนอนะ ผมจะรอดู
                                           และรอฟงการนําเสนอ เปนกําลังใจใหทุกๆ คน



การนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร
           การนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร อาจทําไดในแบบตางๆ กัน เชน การแสดงในรูปนิทรรศการ
ซึ่งมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายดวยคําพูด         หรือในรูปแบบของการรายงานปากเปลาไมวาการนําเสนอ
ผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรครอบคลุประเด็นสําคัญคือ มีความชัดเจน เขาใจงายและมีความถูกตองในเนือหา        ้
           การแสดงผลงานจัดไดวาเปนขั้นตอนสําคัญอีกประการหนึ่งของการทําโครงงาน เรียกไดวาเปนงานขั้น
สุดทายของการทําโครงงานวิทยาศาสตร เปนการแสดงผลิตผลของงาน ความคิด และความพยายามทั้งหมดที่
ผูทําโครงงานไดทุมเทลงไป และเปนวิธการที่จะทําใหผูอื่นไดรับรูและเขาใจถึงผลงานนั้น ๆ มีผูกลาววาการ
                                        ี
วางแผนออกแบบเพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสําคัญเทา ๆ กับการทําโครงงานนั่นเอง ผลงานที่ทําขึนจะดี        ้
ยอดเยี่ยมเพียงใด แตถาการจัดแสดงผลงานทําไดไมดีก็เทากับไมไดแสดงความดียอดเยี่ยมของผลงานนั่นเอง
หนาที่ 9
ประเด็นสําคัญที่ควรจัดใหครอบคลุม
       การแสดงผลงานนั้นอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัดแสดงและ
การอธิบายดวยคําพูด         หรือในรูปแบบของการจัดแสดงโดยไมมีการอธิบายประกอบหรือในรูปแบบของการ
รายงานปากเปลา ไมวาการแสดงผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรจัดทําใหครอบคลุมประเด็นสําคัญดังตอไปนี้
       1. ชื่อโครงงาน
       2. ชื่อผูทําโครงงาน
       3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน
       4. ความเปนมาและความสําคัญของโครงงาน
       5. วิธีดําเนินการ
       6. การสาธิตหรือแสดงผลที่ไดจากการทดลอง
       7. ผลการสังเกตและขอมูลเดน ๆ ที่ไดจากการทําโครงงาน

 ขอคํานึงถึงในการจัดนิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร ควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้
         1. ความปลอดภัยของการจัดแสดง
         2. ความเหมาะสมกับเนื้อที่ที่จัดแสดง
         3. คําอธิบายที่เขียนแสดง ควรเนนเฉพาะประเด็นสําคัญและสิ่งที่นาสนใจเทานั้น โดยใชขอความ
กะทัดรัด ชัดเจน และเขาใจงาย
         4. ดึงดูดความสนใจของผูเขาชม โดยใชรูปแบบการแสดงที่นาสนใจ ใชสีทสดใสเนนจุดสําคัญหรือใช
                                                                                    ี่
วัสดุตาง ๆ ในการจัดแสดง
         5. ใชตาราง และรูปภาพประกอบ โดยจัดวางอยางเหมาะสม
         6. สิ่งที่แสดงทุกอยางและการเขียนขอความตองถูกตอง ไมมีการสะกดผิด หรืออธิบายหลักการที่ผิด
         7. ในกรณีที่เปนสิ่งประดิษฐ สิ่งนั้นควรอยูในสภาพที่ทํางานไดอยางสมบูรณ

 ขอคํานึงถึงในการอธิบายหรือรายงานปากเปลา ควรคํานึงถึงสิงตาง ๆ ตอไปนี้
                                                              ่
        1. ตองทําความเขาใจกับเรืองที่จะอธิบายเปนอยางดี
                                  ่
        2. คํานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใชกับระดับผูฟง ควรใหชัดเจนและเขาใจงาย
                                                           
        3. ควรรายงานอยางตรงไปตรงมา ไมออมคอม
        4. พยายามหลีกเลี่ยงการอานรายงาน แตอาจจดหัวขอสําคัญ ๆ ไวเพื่อชวยใหการรายงานเปนไปตาม
ขั้นตอน
        5. อยาทองจํารายงาน เพราะทําใหดูไมเปนธรรมชาติ
        6. ขณะที่รายงาน ควรมองตรงไปยังผูฟง   
        7. เตรียมตัวตอบคําถามทีเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
                                ่
        8. ตอบคําถามอยางตรงไปตรงมา ไมจําเปนตองกลาวถึงสิ่งที่ไมไดถาม
        9. หากติดขัดในการอธิบาย ควรยอมรับโดยดี อยากลบเกลื่อนหรือหาทางเลี่ยงเปนอยางอื่น
        10. ควรรายงานใหเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด
        11. ควรใชสอประเภทโสตทัศนูปกรณประกอบการรายงานดวย เชน แผนโปรงใส หรือสไลด เปนตน
                     ื่
หนาที่ 10


                                       มาถึงตอนนี้ ทุกคนคงพอจะเขาใจการเขียน
                                       รายงาน และการนําเสนอผลงานกันมา
                                       พอสมควรแลว ตอนนี้ผมอยากใหทกคน   ุ
                                       ลองเขียนรายงานโครงานของตัวเองออกมา
                                       เปนรูปแบบที่ถกตองตามหัวขอนี้นะครับ
                                                     ู




งานที่จะตองเตรียมมาในคายตอไป
  1. ทําการทดลองตามที่ออกแบบการทดลองไว
  2. เขียนรายงาน ผลการทดลอง ของโครงงานของเพื่อนๆเอง โดยแบงออกมาเปน
         1. ชื่อโครงงาน
         2. ชื่อผูจัดทําโครงงาน
         3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน
         4. บทคัดยอ
         5. กิตติกรรมประกาศ (คําขอบคุณ)
         6. ทีมาและความสําคัญของโครงงาน
               ่
         7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน
         8. สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี)
         9. ขอบเขตของการทําโครงงาน
         10. วิธีดําเนินการ
         11. ผลการศึกษาคนควา
         12. สรุปผลและขอเสนอแนะ
         13. เอกสารอางอิง
  3. ออกแบบสไลด นําเสนองานปากเปลา และแบบนิทรรศการหรือโปสเตอร
  4. เตรียมตัวกันมาใหเต็มที่เลยนะครับ เรามีรางวัลสําหรับคนที่นําเสนอไดดีที่สุดดวยนะ

More Related Content

What's hot

01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงานPhanuwat Somvongs
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1dnavaroj
 

What's hot (20)

01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน01แบบฝึกแรงและงาน
01แบบฝึกแรงและงาน
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
บทที่7แรงเสียดทาน1 (2)
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5  ภาคเรียน 1
แบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ 5 ภาคเรียน 1
 

Viewers also liked

โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์Aphinya Tantikhom
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (10)

เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
 
Topic 1
Topic 1Topic 1
Topic 1
 
ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์
ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์
ลักษณะนิสัยของนักวิทยาศาสตร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
Science
ScienceScience
Science
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์

การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์korakate
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8Narut Keatnima
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีkorakate
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611Tanawan Janrasa
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----Alatreon Deathqz
 

Similar to เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์ (20)

การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Com 1
Com 1Com 1
Com 1
 
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
เรียนรู้วิธีทำโครงงานวิทยาศาสตร์
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
จะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดีจะทำโครงงานอะไรดี
จะทำโครงงานอะไรดี
 
ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611ใบงานที่ 2 03 12 611
ใบงานที่ 2 03 12 611
 
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
แบบเสนอโครงร่างคอม  -----แบบเสนอโครงร่างคอม  -----
แบบเสนอโครงร่างคอม -----
 

More from สนุกคิด กับวิทยาศาสตร์ (8)

เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
เอกสารประกอบการสอนชุดที่ 1
 
แบบฝึกหัดเรื่องสาร
แบบฝึกหัดเรื่องสารแบบฝึกหัดเรื่องสาร
แบบฝึกหัดเรื่องสาร
 
หลักการเขียนแผนภูมิความคิด
หลักการเขียนแผนภูมิความคิดหลักการเขียนแผนภูมิความคิด
หลักการเขียนแผนภูมิความคิด
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
Form of eis lesson procedure
Form of eis  lesson procedureForm of eis  lesson procedure
Form of eis lesson procedure
 
Science scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelemScience scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelem
 
Classroom english of eis training
Classroom english of eis trainingClassroom english of eis training
Classroom english of eis training
 
Science scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelemScience scientificmethod upperelem
Science scientificmethod upperelem
 

เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์

  • 1. หนาที่ 1 สวัสดีเด็กๆ ทุกคน วันนี้ผมไดรบเชิญพิเศษ มาบรรยายให ั ทุกคนเขาใจถึงการทําโครงงานวิทยาศาสตร ตอนนี้เปน อยางไรกันบาง ไดขาววากําลังทําโครงกันอยางขยันขันแข็ง  ผมจะสรุปเกียวกับโครงงานวิทยาศาสตรใหทุกคนฟง เผือจะ ่ ่ มีประโยชนในการทําโครงงานของทุกคน รูหรือเปลาวาโครงงานวิทยาศาสตรความหมายวา อยางไร และคุณคาของโครงงานวิทยาศาสตรอยู ตรงไหน? ความหมายและคุณคาของโครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร หมายถึงการศึกษาเรื่องราวดานวิทยาศาสตรรวมทั้งดานคณิตศาสตร ในหัวขอ ใดหัวขอหนึ่งที่นักเรียนสนใจ โดยมีการวางแผน ที่จะศึกษาภายในขอบเขตของระดับความรู ระยะเวลา และ อุปกรณที่มีอยู ในโครงงานวิทยาศาสตร จะตองใชวธีการทางวิทยาศาสตร เปนแนวทางในการแกปญหา ิ เพื่อใหไดผลงานที่มีความสมบูรณในตัวเอง จุดมุงหมายสําคัญของการทําโครงงานไมไดอยูที่การสงประกวดเพื่อ รางวัล แตเปนการฝกใหนกเรียนไดมประสบการตรงในการใชวธีการทางวิทยาศาสตร ในการแกปญหาประดิษฐ ั ี ิ คิดคนหรือคนควาความรูตางๆ อยางไรก็ตามหารทําโครงงานวิทยาศาสตร จะสมบูรณไดก็ตอเมื่อนักเรียนได แสดงผลงานของตนเอง ยังจําวิธีการทางวิทยาศาสตรหลักๆ 5 ขั้นตอนไดหรือเปลา? ขั้นที่ 1 ตั้งปญหาหรือตั้งขอสังเกต ขั้นที่ 2 ตั้งสมมติฐานหลังจากศึกษาขอมูล ขั้นที่ 3 วางแผนเพื่อศึกษาหรือทดลองเพื่อพิสูจนสมมติฐาน ขั้นที่ 4 ทําการรวบรวมขอมูลจากผลการศึกษา หรือผลการทดลอง ขั้นที่ 5 สรุปผลการศึกษาหรือสรุปผลการทดลอง นําผลสรุป มาอภิปรายผลในแงมุม ประเด็นตางๆ ที่นาสนใจ 
  • 2. หนาที่ 2 เมื่อพิจารณาลักษณะที่รวมกันบางประการ อาจแบง โครงงานไดเปน 4 ประเภท คือ โครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทสํารวจราบรวมขอมูล โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ โครงงานประเภททฤษฎี ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร โครงงานประเภทการทดลอง เปนโครงงานที่มีการออกแบบการทดลอง เพื่อศึกษาผลของตัวแปรหนึ่งที่มีตออีกตัวแปรหนึง โดย ่ ควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่อาจมีผลตอตัวแปรที่ตองการศึกษา โครงงานประเภทนี้ตองเปนโครงงานที่มีการจัด กระทํากับตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ) มีการวัดตัวแปรตาม และควบคุมตัวแปรอื่นๆ ที่ไมตองการศึกษา ตัวอยางเชน โครงงานเรื่อง “การศึกษาผลของความเขนขนของฮอรโมน NAA ที่มีผลตอการงอกของรากกิ่งชํา กุหลาบ” ซึ่งในโครงงานนี้ตัวแปรตน (ตัวแปรอิสระ) คือ ความเขนขนของฮอรโมน NAA ตัวแปรตาม คือ ปริมาณของรากกิ่งชํา ตัวแปรที่ตองความคุม คือ ลักษณะการตัดกิงชํา ขนาดและความสมบูรณของกิ่ง พันธุ ่ กุหลาบ ปริมาณน้ํา ปริมาณปุย วัสดุที่ใชในการปกชํา และสิ่งแวดลอมอื่น เชน อุณหภูมิ แสงสวาง ฯลฯ โครงงานประเภทสํารวจราบรวมขอมูล โครงงานประเภทนี้แตกตางจากโครงงานประเภทแรกตรงที่ไมมีการจัด หรือกําหนดตัวแปรอิสระที่ ตองการศึกษาเหมือนโครงงานประเภทการทดลอง โครงงานประเภทสํารวจราบรวมขอมูล ผูทําโครงงานเพียง ตองการสําราจและรวบรวมขอมูลแลวนําขอมูลเหลานันมาจําแนกเปนหมวดหมูใหเปนระบบระเบียบและสื่อ ้ ความหมาย และนําเสนอขอมูลในรูปแบบตางๆ เชน ตาราง กราฟ แผนภูมิ และคําอธิบายประกอบ เพื่อใหเห็น ลักษณะหรือความสําพันธในเรื่องที่ตองการศึกษาไดชดเจนยิ่งขึ้น ั การสํารวจรวบรวมขอมูลอาจทําไดหลาย รูปแบบ เชน การออกไปเก็บรวบรวมขอมูลในภาคสนาม ตัวอยางโครงงานประเภทนี้ เชน การสํารวจ ประชากรและชนิดของสิ่งตางๆ เชน พืช สัตว หิน แร ฯลฯ ในทองถิ่นหรือบริเวณทีตองการศึกษา การ ่ สํารวจพฤติกรรมตางๆ ของสัตวในธรรมชาติ การสํารวจปริมาณความเขนขนของแสงอาทิตยเฉลี่ยตอเดือนใน แตละทองถิ่น การศึกษาสเปกตัมของกาซชนิดหนึ่ง การศึกษาสภาพนําความรอนของวัตถุชนิดหนึ่ง การ สํารวจมลพิษของอากาศในแหลงตางๆ การศึกษาวงจรชีวตของไหมที่เลี้ยงในหองปฏิบัติการ ิ การศึกษา พฤติกรรมของสัตวบางชนิดที่เลี้ยงในหองปฏิบัติการ ฯลฯ
  • 3. หนาที่ 3 โครงงานประเภทสิงประดิษฐ ่ โครงงานประเภทนี้เปนโครงงานที่เกี่ยวกับการประยุกตทฤษฎีหรือหลักการทางวิทยาศาสตรมา ประดิษฐเครื่องมือ เครื่องใช หรืออุปกรณเพื่อประโยชนใชสอยตางๆ ซึ่งอาจเปนการคิดประดิษฐของใหมๆ หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยูแลวใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นก็ได โครงงานปประเภทนี้รวมไปถึงการ สรางแบบจําลอง เพื่ออธิบายความคิดตางๆ ตัวอยาง เชน โครงงานเรื่องกระสวยอัดอากาศ ลิฟทพลังงาน โนมถวง เครื่องจักรกลพลังงานแมเหล็ก เครื่องอบมันสําปะหลัง แบบจะลองบานพลังงานแสงอาทิตย หุนยนตใชงานในบาน ฯลฯ โครงงานประเภททฤษฎี เปนโครงงานที่ผูทําโครงงานไดเสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหมๆ ซึ่งอาจอยูในรูปของ สูตร สมการ หรือคําอธิบายก็ได โดยผูเสนอไดตั้งกติกาหรือขอตกลงขึ้นมาเองแลวเสนอทฤษฎี หลัการ แนวคิด หรือจินตนาการของตนเองตามกติกาหรือขอตกลงนั้น หรืออาจใชกติกาหรือของตกลงเดิมมาอธิบาย สิ่งหรือปรากฎการณตางๆ ในแนวใหม ทฤษฎี หลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการที่เสนอขึ้นอาจจะใหม ยังไมมีใครคิอมากอน หรืออาจขัดแยงกับทฤษฎีเดิม หรือเปนการขยายทฤษฎี หรือแนวความคิดเดิมก็ได ตัวอยางโครงงาน เชน โครงงานเรื่องการอธิบายอวการศแนวใหม โครงงานเรื่องทฤษฎีของจํานวนเฉพาะ ไมวานักเรียนจะเลือกทํา โครงงานประเภทไหน จะมีลาดับ ํ ขั้นตอนที่คลายกัน ซึ่งพอจะ แบงเปนขั้นตอนที่สําคัญ ดังนี้ ลําดับขั้นตอนของการทําโครงงาน การทําโครงงานวิทยาศาสตรมีขั้นตอนทีสําคัญดังตอไปนี้ ่ ขั้นที่ 1 การคิดและเลือกชื่อเรื่องหรือปญหาที่จะศึกษา ขั้นตอนนี้เปนขั้นที่สําคัญทีสุดและยากทีสุด ตามหลักการแลวนักเรียนควรจะเปนผูคิดและเลือกหัวขอ ่ ่ เรื่องที่จะศึกษาดวยตนเอง แตครูอาจมีบทบาทหรือมีสวนชวยเหลือใหนักเรียนสามารถคิดหัวขอเรื่องไดดวย ตนเอง ดังจะไดกลาวตอไป
  • 4. หนาที่ 4 ขั้นที่ 2 การวางแผนในการทําโครงงาน ไดแก การวางแผนวิธีดําเนินงานในการศึกษาคนควาทังหมด เชน วัสดุอุปกรณ ที่จําเปนตองใชในการ ้ ออกแบบการทดลอง และควบคุมตัวแปร วิธีดําเนินการรวบรวมขอมูล การวางแผนปฏิบัติงานอยางคราว ๆ วา จะดําเนินการอยางไรบางเปนขั้นตอน แลวนําเสนออาจารยที่ปรึกษา เพื่อขอคําแนะนําเพิ่มเติม และขอความ เห็นชอบ ขั้นที่ 3 การลงมือทําโครงงาน ไดแก การลงมือปฏิบัติตามแผนงานที่ไดวางไวลวงหนาแลวในขั้นที่สองนั่นเอง ประกอบดวยการเก็บ  รวบรวมขอมูล การสรางหรือการประดิษฐ การปฏิบตการทดลอง ซึ่งสุดแลวแตจะเปนโครงงานประเภทใดและ ั ิ การคนควาจากเอกสารตาง ๆ แลวดําเนินการวิเคราะหขอมูล แบงความหมายของขอมูล และสรุปผลของ การศึกษาคนควา ขั้นที่ 4 การเขียนรายงาน เปนการเสนอผลของการศึกษาคนควาเปนลายลักษณอักษรหรือเปนเอกสาร เพื่ออธิบายใหผูอื่นทราบ รายละเอียดทังหมดของการทําโครงงาน ซึ่งจะประกอบดวยปญหาที่ทําการศึกษาวัตถุประสงคของการศึกษา ้ วิธีดําเนินการศึกษาคนควา อุปกรณหรือเครื่องมือที่ใช ขอมูลตาง ๆ ที่รวบรวมได ผลที่ไดจากการศึกษาคนควา ตลอดจนประโยชนและขอเสนอแนะตางๆ ที่ไดจากการทําโครงงานนั้นๆ วิธีเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร ก็มีลักษณะและแนวทางในการเขียน เชนเดียวกับการเขียนรายงานผลการวิจัยทางวิทยาศาสตรของ นักวิทยาศาสตรนั่นเอง ขั้นที่ 5 การแสดงผลงาน เปนการเสนอผลงานที่ไดศกษาคนควาสําเร็จลงแลวใหผูอื่นไดรับรูและเขาใจ ึ ซึ่งอาจกระทําไดหลาย รูปแบบ เชน การจัดนิทรรศการ การสาธิตแสดงประกอบการรายงานปากเปลา ฯลฯ มาถึงตอนนี้ นักเรียนคงเขาใจความหมายของ โครงงาน และขั้นตอนการทํามากขึ้น คุณครู เลาใหผมฟงวา พวกเธอไดหวขอเรื่องที่จะทํา  โครงงานแลว รวมทั้งไดวางแผนในการทํา โครงงานและสงเคาโครงใหอาจารยที่ปรึกษา เรียบรอยแลว และในระหวางนี้ พวกเธอก็ กําลังทําการทดลองตามแผนที่วางไว ถาเปน ไปตามแผน งานก็จะเหลือแคการเขียนรายงาน และการแสดงผลงานในการเขาคายครั้งตอไป ผมก็จะเนน 2 เรื่องที่เหลือละกัน
  • 5. หนาที่ 5 การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร เปนการเสนอผลงานการดําเนินการเปนเอกสารจัดวาเปน ขั้นตอนสําคัญอีกประการหนึ่งของโครงงาน เมื่อนักเรียนดําเนินการทําโครงงานจนครบขั้นตอนไดขอมูล ทํา การวิเคราะหขอมูล พรอมทั้งแปรผล และสรุปผลแลว งานขั้นตอไปที่ตองทําคือการเขียนรายงาน การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร เปนวิธีสื่อความหมายที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งเพื่อใหคนอื่นๆ ไดเขาใจแนวความคิด วิธีดําเนินงานศึกษาคนควาขอมูล ผลที่ไดตลอดจนขอสรุปและขอเสนอแนะตางๆ เกี่ยวกับโครงงานนั้น การเขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร ประกอบดวยหัวขอตาง ๆ ดังนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูจัดทําโครงงาน 3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน 4. บทคัดยอ 5. กิตติกรรมประกาศ (คําขอบคุณ) 6. ทีมาและความสําคัญของโครงงาน ่ 7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน 8. สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี) 9. ขอบเขตของการทําโครงงาน 10. วิธีดําเนินการ 11. ผลการศึกษาคนควา 12. สรุปผลและขอเสนอแนะ 13. เอกสารอางอิง 1. ชื่อโครงงาน ชื่อโครงงานเปนสิ่งสําคัญประการแรก เพราะชื่อโครงการจะชวยโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงคของการ ทําโครงงานวิทยาศาสตร และควรกําหนดชื่อโครงการใหสอดคลองกับวัตถุประสงคหลักดวย การตั้งชื่อโครงงานของนักเรียนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา นิยมตังชื่อใหมีความกะทัดรัด ้ และดึงดูดความสนใจจากผูอาน ผูฟง แตสิ่งที่ควรคํานึงถึง คือ ผูทําโครงงานวิทยาศาสตร ตองเขาใจปญหาที่ สนใจศึกษาอยางแทจริง อันจะนําไปสูการเขาใจวัตถุประสงคของการศึกษาอยางแทจริงดวย เชน โครงงานวิทยาศาสตร ชื่อ “ถุงพลาสติกพิชิตแมลงวันตัวนอย” ซึ่งปญหาเรื่องที่สนใจศึกษาคือถุงน้ํา พลาสติกสามารถไลแมลงวันที่มาตอมอาหารไดจริงหรือ จากเรื่องดังกลาวผูทําโครงงานวิทยาศาสตร บางคน หรือบางคณะอาจสนใจตั้งชื่อโครงงานวิทยาศาสตร วา “การศึกษาการไลแมลงวันดวยถุงน้ําพลาสติก” หรือ “ผล การใชถุงน้ําพลาสติกตอการไลแมลงวัน” ก็เปนได อยางไรก็ตามจะตั้งชื่อโครงการในแบบใด ๆ นั้น ตองคํานึงถึงความสามารถที่จะสื่อความหมายถึง วัตถุประสงคที่ตองการศึกษาไดชัดเจน
  • 6. หนาที่ 6 2. ชื่อผูจัดทําโครงงาน การเขียนชื่อผูรับผิดชอบโครงงานวิทยาศาสตร  เปนสิ่งดีเพื่อจะไดทราบวาโครงงานนั้นอยูในความ รับผิดชอบของใครและสามารถติดตามไดที่ใด 3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน การเขียนชื่อผูใหคําปรึกษาควรใหเกียรติยกยองและเผยแพร รวมทั้งขอบคุณที่ไดใหคําแนะนําการทํา  โครงงานวิทยาศาสตรจนบรรลุเปาหมาย 4. บทคัดยอ อธิบายถึงที่มาและความสําคัญของโครงงาน วัตถุประสงค วิธีดําเนินการ และผลทีได ตลอดจนขอสรุป ่ ตาง ๆ อยางยอประมาณ 300-350 คํา 5. กิตติกรรมประกาศ (คําขอบคุณ) สวนใหญโครงงานวิทยาศาสตรมักจะเปนกิจกรรมที่ไดรับความรวมมือจากหลายฝายดังนั้นเพื่อเปนการ เสริมสรางบรรยากาศของความรวมมือ จึงควรไดกลาวขอบคุณบุคลากรหรือหนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนชวยให โครงงานนี้สําเร็จดวย 6. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน ในการเขียนทีมาและความสําคัญของโครงงานวิทยาศาสตร ผูทําโครงงานจําเปนตองศึกษา หลักการ ่ ทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจจะศึกษา หรือพูดเขาใจงาย ๆ วาเรื่องที่สนใจจะศึกษานั้นตองมีทฤษฎีแนวคิด สนับสนุน เพราะความรูเหลานี้จะเปนแนวทางสําคัญในเรื่องตอไปนี้ - แนวทางตั้งสมมติฐานของเรื่องที่ศึกษา - แนวทางในการออกแบบการทดลองหรือการรวบรวมขอมูล - ใชประกอบการอภิปรายผลการศึกษา ตลอดจนเสนอแนะเพื่อนําความรูและ สิ่งประดิษฐใหมที่ คนพบไปใชประโยชนตอไป การเขียนที่มาและความสําคัญของโครงงาน คือ การอธิบายใหกระจางชัดวาทําไม ตองทํา ทําแลวได อะไร หากไมทําจะเกิดผลเสียอยางไร ซึ่งมีหลักการเขียนคลายการเขียนเรียงความ ทั่ว ๆ ไป คือ มีคํานํา เนื้อ เรื่อง และสรุป สวนที่ 1 คํานํา : เปนการบรรยายถึงนโยบาย เกณฑ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปญหาที่มีสวนสนับสนุนใหริเริ่มทําโครงงาน วิทยาศาสตร สวนที่ 2 เนื้อเรื่อง : อธิบายถึงรายละเอียดเชื่อมโยงใหเห็นประโยชนของการทําโครงงานวิทยาศาสตร โดยมี หลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยายผลกระทบ ถาไมทําโครงงานเรื่องนี้
  • 7. หนาที่ 7 สวนที่ 3 สรุป : สรุปถึงความจําเปนที่ตองดําเนินการตามสวนที่ 2 เพือแกไขปญหา คนขอความรูใหม คนสิ่งประดิษฐ ่  ใหมใหเปนไปตามเหตุผลสวนที่ 1 7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน วัตถุประสงค คือ กําหนดจุดมุงหมายปลายทางทีตองการใหเกิดจากการทําโครงงานวิทยาศาสตร ใน ่  การเขียนวัตถุประสงค ตองเขียนใหชัดเจน อานเขาใจงายสอดคลองกับชื่อโครงงาน หากมีวัตถุประสงคหลาย ประเด็น ใหระบุเปนขอ ๆ การเขียนวัตถุประสงคมีความสําคัญตอแนวทาง การศึกษา ตลอดจนขอความรูที่ คนพบหรือสิ่งประดิษฐที่คนพบนั้นจะมีความสมบูรณครบถวน คือ ตองสอดคลองกับวัตถุประสงคทุก ๆ ขอ 8. สมมติฐานของการศึกษา สมมติฐานของการศึกษา เปนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรทผูทําโครงงาน ตองใหความสําคัญ ี่ เพราะจะทําใหเปนการกําหนดแนวทางในการออกแบบการทดลองไดชัดเจนและรอบคอบ ซึ่งสมมติฐานก็คอ ื การคาดคะเนคําตอบของปญหาอยางมีหลักและเหตุผล ตามหลักการ ทฤษฎี รวมทั้งผลการศึกษาของโครงงาน ที่ไดทํามาแลว 9. ขอบเขตของการทําโครงงาน ผูทําโครงงานวิทยาศาสตร ตองใหความสําคัญตอการกําหนดขอบเขตการทําโครงงาน เพื่อใหไดผล การศึกษาที่นาเชื่อถือ ซึ่งไดแก การกําหนดประชากร กลุมตัวอยาง ตลอดจนตัวแปรที่ศึกษา  1. การกําหนดประชากร และกลุมตัวอยางที่ศึกษา คือ การกําหนดประชากรที่ศึกษาอาจเปนคนหรือ สัตวหรือพืช ชื่อใด กลุมใด ประเภทใด อยูที่ไหน เมื่อเวลาใด รวมทั้งกําหนด กลุมตัวอยางที่มีขนาด เหมาะสมเปนตัวแทนของประชากรที่สนใจศึกษา 2. ตัวแปรทีศกษา การศึกษาโครงงานวิทยาศาสตร สวนมากมักเปนการศึกษาความสัมพันธเชิงเหตุ ่ ึ และผล หรือความสัมพันธระหวางตัวแปรตั้งแต 2 ตัวแปรขึ้นไป การบอกชนิดของ ตัวแปรอยางถูกตองและ ชัดเจน รวมทั้งการควบคุมตัวแปรทีไมสนใจศึกษา เปนทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตรที่ผูทําโครงงาน ่ ตองเขาใจ ตัวแปรใดที่ศึกษาเปนตัวแปรตน ตัวแปรใดที่ศึกษาเปน ตัวแปรตาม และตัวแปรใดบางเปนตัวแปร ที่ตองควบคุมเพื่อเปนแนวทางการออกแบบการทดลอง ตลอดจนมีผลตอการเขียนรายงานการทําโครงงาน วิทยาศาสตรที่ถูกตอง สื่อความหมายใหผูฟงและ ผูอานใหเขาใจตรงกัน 10. วิธีดําเนินการ วิธีดําเนินการ หมายถึง วิธการที่ชวยใหงานบรรลุตามวัตถุประสงคของการทํา ี โครงงาน ตั้งแตเริ่ม เสนอโครงการกระทั่งสิ้นสุดโครงการ ซึ่งประกอบดวย 1. การกําหนดประชากร กลุมตัวอยางทีศึกษา ่ 2. การสรางเครื่องมือเก็บรวบรวมขอมูล 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การวิเคราะหขอมูล
  • 8. หนาที่ 8 ในการเขียนวิธีดําเนินการใหระบุกิจกรรมที่ตองทําใหชัดเจนวาจะทําอะไรบาง เรียงลําดับกิจกรรมกอน และหลังใหชัดเจน เพื่อสามารถนําโครงการไปปฏิบติอยางตอเนื่องและถูกตอง ั 11. ผลการศึกษาคนควา นําเสนอขอมูลหรือผลการทดลองตาง ๆ ที่สังเกตรวบรวมได รวมทั้งเสนอผลการวิเคราะหขอมูลที่ วิเคราะหไดดวย  12. สรุปผลและขอเสนอแนะ อธิบายผลสรุปที่ไดจากการทําโครงงาน ถามีการตั้งสมมติฐาน ควรระบุดวยวาขอมูล ที่ไดสนับสนุนหรือ คัดคานสมติฐานที่ตั้งไว หรือยังสรุปไมได อกจากนี้ยังควรกลาวถึงการนําผลการทดลองไปใชประโยชน อุปสรรคของการทําโครงงานหรือขอสังเกตที่สําคัญหรือขอผิดพลาดบางประการทีเกิดขึ้นจากการทําโครงงานนี้ ่ รวมทั้งขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไข หากมีผูศึกษาคนควาในเรื่องที่ทํานองนี้ตอไปในอนาคตดวย 13. เอกสารอางอิง เอกสารอางอิง คือ รายชื่อเอกสารที่นํามาอางอิงเพื่อประกอบการทําโครงงานวิทยาศาสตร ตลอดจน การเขียนรายงานการทําโครงงานวิทยาศาสตร ควรเขียนตามหลักการที่นิยมกัน เมื่อทําโครงงานเสร็จแลว ก็ตองนําเสนอ จะมี กระบวนการและขั้นตอนอยางไรในการนําเสนอ พวกเธอ อยาลืมประเด็นตางๆ ที่ตองนะเสนอนะ ผมจะรอดู และรอฟงการนําเสนอ เปนกําลังใจใหทุกๆ คน การนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร การนําเสนอผลงานโครงงานวิทยาศาสตร อาจทําไดในแบบตางๆ กัน เชน การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัดแสดงและการอธิบายดวยคําพูด หรือในรูปแบบของการรายงานปากเปลาไมวาการนําเสนอ ผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรครอบคลุประเด็นสําคัญคือ มีความชัดเจน เขาใจงายและมีความถูกตองในเนือหา ้ การแสดงผลงานจัดไดวาเปนขั้นตอนสําคัญอีกประการหนึ่งของการทําโครงงาน เรียกไดวาเปนงานขั้น สุดทายของการทําโครงงานวิทยาศาสตร เปนการแสดงผลิตผลของงาน ความคิด และความพยายามทั้งหมดที่ ผูทําโครงงานไดทุมเทลงไป และเปนวิธการที่จะทําใหผูอื่นไดรับรูและเขาใจถึงผลงานนั้น ๆ มีผูกลาววาการ ี วางแผนออกแบบเพื่อจัดแสดงผลงานนั้นมีความสําคัญเทา ๆ กับการทําโครงงานนั่นเอง ผลงานที่ทําขึนจะดี ้ ยอดเยี่ยมเพียงใด แตถาการจัดแสดงผลงานทําไดไมดีก็เทากับไมไดแสดงความดียอดเยี่ยมของผลงานนั่นเอง
  • 9. หนาที่ 9 ประเด็นสําคัญที่ควรจัดใหครอบคลุม การแสดงผลงานนั้นอาจทําไดหลายรูปแบบ เชน การแสดงในรูปนิทรรศการ ซึ่งมีทั้งการจัดแสดงและ การอธิบายดวยคําพูด หรือในรูปแบบของการจัดแสดงโดยไมมีการอธิบายประกอบหรือในรูปแบบของการ รายงานปากเปลา ไมวาการแสดงผลงานจะอยูในรูปแบบใด ควรจัดทําใหครอบคลุมประเด็นสําคัญดังตอไปนี้ 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูทําโครงงาน 3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน 4. ความเปนมาและความสําคัญของโครงงาน 5. วิธีดําเนินการ 6. การสาธิตหรือแสดงผลที่ไดจากการทดลอง 7. ผลการสังเกตและขอมูลเดน ๆ ที่ไดจากการทําโครงงาน ขอคํานึงถึงในการจัดนิทรรศการโครงงานวิทยาศาสตร ควรคํานึงถึงสิ่งตาง ๆ ตอไปนี้ 1. ความปลอดภัยของการจัดแสดง 2. ความเหมาะสมกับเนื้อที่ที่จัดแสดง 3. คําอธิบายที่เขียนแสดง ควรเนนเฉพาะประเด็นสําคัญและสิ่งที่นาสนใจเทานั้น โดยใชขอความ กะทัดรัด ชัดเจน และเขาใจงาย 4. ดึงดูดความสนใจของผูเขาชม โดยใชรูปแบบการแสดงที่นาสนใจ ใชสีทสดใสเนนจุดสําคัญหรือใช ี่ วัสดุตาง ๆ ในการจัดแสดง 5. ใชตาราง และรูปภาพประกอบ โดยจัดวางอยางเหมาะสม 6. สิ่งที่แสดงทุกอยางและการเขียนขอความตองถูกตอง ไมมีการสะกดผิด หรืออธิบายหลักการที่ผิด 7. ในกรณีที่เปนสิ่งประดิษฐ สิ่งนั้นควรอยูในสภาพที่ทํางานไดอยางสมบูรณ ขอคํานึงถึงในการอธิบายหรือรายงานปากเปลา ควรคํานึงถึงสิงตาง ๆ ตอไปนี้ ่ 1. ตองทําความเขาใจกับเรืองที่จะอธิบายเปนอยางดี ่ 2. คํานึงถึงความเหมาะสมของภาษาที่ใชกับระดับผูฟง ควรใหชัดเจนและเขาใจงาย  3. ควรรายงานอยางตรงไปตรงมา ไมออมคอม 4. พยายามหลีกเลี่ยงการอานรายงาน แตอาจจดหัวขอสําคัญ ๆ ไวเพื่อชวยใหการรายงานเปนไปตาม ขั้นตอน 5. อยาทองจํารายงาน เพราะทําใหดูไมเปนธรรมชาติ 6. ขณะที่รายงาน ควรมองตรงไปยังผูฟง  7. เตรียมตัวตอบคําถามทีเกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ ่ 8. ตอบคําถามอยางตรงไปตรงมา ไมจําเปนตองกลาวถึงสิ่งที่ไมไดถาม 9. หากติดขัดในการอธิบาย ควรยอมรับโดยดี อยากลบเกลื่อนหรือหาทางเลี่ยงเปนอยางอื่น 10. ควรรายงานใหเสร็จภายในระยะเวลาที่กําหนด 11. ควรใชสอประเภทโสตทัศนูปกรณประกอบการรายงานดวย เชน แผนโปรงใส หรือสไลด เปนตน ื่
  • 10. หนาที่ 10 มาถึงตอนนี้ ทุกคนคงพอจะเขาใจการเขียน รายงาน และการนําเสนอผลงานกันมา พอสมควรแลว ตอนนี้ผมอยากใหทกคน ุ ลองเขียนรายงานโครงานของตัวเองออกมา เปนรูปแบบที่ถกตองตามหัวขอนี้นะครับ ู งานที่จะตองเตรียมมาในคายตอไป 1. ทําการทดลองตามที่ออกแบบการทดลองไว 2. เขียนรายงาน ผลการทดลอง ของโครงงานของเพื่อนๆเอง โดยแบงออกมาเปน 1. ชื่อโครงงาน 2. ชื่อผูจัดทําโครงงาน 3. ชื่ออาจารยที่ปรึกษาโครงงาน 4. บทคัดยอ 5. กิตติกรรมประกาศ (คําขอบคุณ) 6. ทีมาและความสําคัญของโครงงาน ่ 7. วัตถุประสงคของการทําโครงงาน 8. สมมติฐานของการศึกษาคนควา (ถามี) 9. ขอบเขตของการทําโครงงาน 10. วิธีดําเนินการ 11. ผลการศึกษาคนควา 12. สรุปผลและขอเสนอแนะ 13. เอกสารอางอิง 3. ออกแบบสไลด นําเสนองานปากเปลา และแบบนิทรรศการหรือโปสเตอร 4. เตรียมตัวกันมาใหเต็มที่เลยนะครับ เรามีรางวัลสําหรับคนที่นําเสนอไดดีที่สุดดวยนะ