SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
ก



                            คําชี้แจงการใชหลักสูตรและคูมือ
        1. กิจกรรมลูกเสือสามัญ ( ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ) ใหความหมายรวมถึงเนตรนารี
สามัญ ซึ่งใชหลักสูตร และพิธีการเดียวกับลูกเสือ โดยกําหนดใหเปนกิจกรรมบังคับและวิชาพิเศษ
ใชในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดย
       2. ใหทําการสอนกิจกรมลูกเสือ เนตรนารีและลูกเสือโทในชั้นประถมศึกษาปที่ 5 และ
สอนกิจกรรมลูกเสือเอกในชั้นประถมศึกษาปที่ 6
          3. การแตงกาย ในการฝกภาคปฏิบัติหรือการอยูคายพักแรม ใหลูกเสือใชเครื่องแบบลําลอง
( เครื่องแบบนักเรียนและผาผูกคอตามที่ไดกําหนดไวในกฎกระทรวง )
         4. รายละเอียดในคูมือฉบับนี้เปนเพียงแนวปฏิบัติใหผูกากับลูกเสือไดใชประกอบการเรียน
                                                               ํ
การสอนในการรวมกิจกรรมลูกเสือ โดยเนนการปฏิบัติเพื่อใหเกิดลักษณะทีดี ผูกํากับอาจ
                                                                          ่
เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสมของทองถิ่น ทั้งนี้ใหยึดหลักสูตรและวิธีการตามขบวนการ
ลูกเสือเปนหลัก
       5. ควรจัดใหมีการเปดประชุมกองทุกครั้งกอนที่จะมีการปฏิบัติกจกรรม เพื่อเปนการฝก
                                                                   ิ
ความมีระเบียบและการมีวินยในตนเอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้
                         ั
           5.1 พิธีเปด (ชักธงขึ้น สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก)
          5.2 เกมหรือเพลง ทําใหเกิดความสนุกสนานเปนการอบอุนรางกายกอนปฏิบัติการจัด
กิจกรรมการเรียนรู อื่น อาจใชอยางหนึ่งอยางใดหรือทั้งสองอยาง ซึ่งบางครั้งไมจําเปนตอง
สอดคลองกับสาระการเรียนรูตลอดไป
           5.3 การปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูการเรียนการ
สอนที่หลากหลายโดยเนนการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนฐาน โดยใชระบบหมูเพื่อ
สะดวกตอการเรียนการสอนและการควบคุม กํากับดูแล
          5.4 การเลาเรื่องสั้นที่เปนประโยชน ควรเปนเรื่องงายๆและควรใหลูกเสือรวมกันสรุป
ถึงคุณและโทษอยางไร เชน ความสามัคคี ความซื่อสัตยสุจริต ความเสียสละ ความกลาหาญ
อดทน ฯลฯ
          5.5 พิธีปด (นัดหมาย ตรวจ ชักธงลง เลิก)
ข



        6. สําหรับวิชาพิเศษใหลูกเสือปฏิบัติดังนี้
             6.1 ทําการสอบวิชาพิเศษโดยใชเวลานอกเหนือจากที่ลูกเสือเขารวมกิจกรรมตามปกติ
หรือในขณะอยูคายพักแรม นอกจากนี้ลูกเสืออาจใชเวลาวางของตนเองทําการฝกฝนทักษะตาง ๆ
ของวิชาพิเศษ แลวขอทําการสอบหรือสงรายงานผลการปฏิบัติงานของรายวิชานั้นแกผูกํากับลูกเสือ
เพื่อขอประดับเครื่องหมายวิชาพิเศษ การสอบจะจัดใหมีขึ้นปละกี่ครั้งก็ได โดยเนนการปฏิบัติจริง
เมื่อสอบผานแลวใหผูกากับลงนามรับรองในสมุดประจําตัวลูกเสือ
                       ํ
            6.2 วิชาพิเศษลูกเสือใดมีเนื้อหาสัมพันธกับกิจกรรมที่ลูกเสือเขารวมตามปกติก็ใหนาไป
                                                                                            ํ
บูรณาการ รวมทั้งทําการสอบภาคปฏิบัติของวิชาพิเศษนั้น ๆ และใหถือวาลูกเสือที่ผานการสอบแลว
มีสทธิประดับเครื่องหมายวิชาพิเศษนั้นดวย
     ิ
           6.3 ใหโรงเรียนเปนผูดําเนินการขอซื้อเครื่องหมายวิชาพิเศษตามจํานวนที่ลูกเสือไดรับ
จากองคการคาคุรุสภา
           6.4 สําหรับวิชาพิเศษลูกเสือใหใชขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติ วาดวยการปกครอง
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ ( ฉบับที่ ๑๓ ) พ.ศ. ๒๕๒๕
ค



                                 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
                    เรื่อง การกําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรูแกนกลาง
                    ตามหลักสูตรการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
                                                ้
                                  --------------------------------

            ตามที่กระทรวงศึกษาธิการไดมคําสั่งใหใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544
                                            ี
ซึ่ ง เป น หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ตามมาตราที่ 27 วรรคแรก แห ง
พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แลวนั้น เพื่อใหการกําหนดสาระการเรียนรูของแตละ
กลุ ม สาระการเรี ย นรู แ ละกิ จ กรรมพั ฒ นาผู เ รี ย น มี ค วามชั ด เจนและบรรลุ ม าตรฐานการเรี ย นรู
กระทรวงศึกษาธิการจึงไดกําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรูแกนกลางขึ้น ซึ่งจะเปนประโยชนใน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตอไป
            ให ส ถานศึ ก ษานํ า รายละเอี ย ดสาระการเรี ย นรู แ กนกลาง เป น แนวในการเที ย บเคี ย ง
ตรวจสอบ หรือปรับใช เปนสาระการเรียนรายป หรือรายภาคของสถานศึกษาในสัดสวนประมาณ
ร อ ยละ 70 โดยยื ด หยุ น ตามธรรมชาติ ของแต ล ะกลุ ม สาระการเรี ย นรู หรื อ ช ว งชั้ น และให
สถานศึกษากําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู ประมาณรอยละ 30 ในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหา
ในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว
ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรา 27 วรรคสอง ทั้งนี้อาจกําหนดเปนสาระการเรียนรูรายปหรือ
รายภาค กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู สื่อการเรียนรู ฯลฯ



                                 ประกาศ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2546



                                           ปองพล อดิเรกสาร
                                       ( นายปองพล อดิเรกสาร )
                                      รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
ง



             หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ระดับประถมศึกษา
                                         จุดประสงค

          เพื่อใหผูเรียนมีพัฒนาทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มี
ความรับผิดชอบ ชวยสรางสรรคสังคม ใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุข และความมั่นคง
ของประเทศชาติ จึงตองปลูกฝง ใหมีคุณลักษณะดังตอไปนี้
        1. มีความรู ความเขาใจและสามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ
สํารอง / สามัญ
        2.มีทักษะการสังเกต จดจํา การใชมือ เครื่องมือ การแกปญหา และทักษะในการทํางาน
รวมกับผูอื่น
        3. มีความซื่ อสั ตย สุ จริต มีระเบีย บวินัย มีความสามัคคี เห็น อกเห็นใจผูอื่น มีค วาม
เสียสละ บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณะประโยชน
        4. มีการพัฒนาตนเองอยูเสมอ สรางสรรคงานฝมือ สนใจและพัฒนาเรืองของประเทศชาติ
                                                                           ่


                  การวัดผลประเมินผลกิจกรรม ลูกเสือ – เนตรนารี

การวัดผลประเมินผล ลูกเสือ – เนตรนารี มี 2 กิจกรรม คือ
       1. กิจกรรมบังคับ เปนการวัดผลและประเมินผล เพื่อใหลูกเสือ – เนตรนารี ผานชวงชั้น
หรือจบหลักสูตร โดยการเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและผานการประเมินผล ตามเกณฑที่
สถานศึกษากําหนดและมีการวัดผลตลอดภาคเรียน โดยการ
            1.1 สังเกต
               - ความสนใจ
               - การเขารวมกิจกรรม
           1.2 การซักถาม
           1.3 การทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
       2. วิชาพิเศษ เปนการวัดและประเมินผลในแตละวิชา โดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและ
       ภาคปฏิบัติและใชเกณฑประเมินดังนี้
               2.1 ผาน ( ผ )
               2.2 ไมผาน ( มผ. )
จ



                                         คําชี้แจง

         การจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารีใหประสบความสําเร็จนั้น จะตองมีวิธีการและวิสยทัศนใน
                                                                                       ั
การดําเนินงานที่ชัดเจน จึงสามารถสรางเสริมใหลูกเสือ เนตรนารี ใหมประสิทธิภาพ และดํารงชีวิต
                                                                      ี
อยางมีความสุข
         การจัดทําแผนการเรียนรูกจกรรมลูกเสือ เนตรนารีสามัญ (ลูกเสือโท ) ชันประถมศึกษา
                                   ิ                                                ้
ปที่ 5 เกิดจากความมุงมันของขาพเจา ที่ตองการพัฒนาการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ใหมี
                              ่
คุณภาพ จึงจําเปนอยางยิ่งทีจะตองมีแผนจัดการเรียนรู กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ที่ชดเจน
                            ่                                                     ั
         การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ฉบับนี้ ไดดาเนินการตามขั้นตอน
                                                                           ํ
ของการเขียนแผนการจัดการเรียนรูทุกประการคือ
         1. วิเคราะหคําอธิบายรายวิชาและหนวยการเรียนรู
         2. วิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
         3. วิเคราะหสาระที่เรียนรูจากผลการเรียนรู
         4. วิเคราะหกระบวนการจัดการเรียนรู
         5. วิเคราะหกระบวนการประเมินผล
         6. วิเคราะหแหลงเรียนรู
         7. เขียนกําหนดการสอน
         8. เขียนแผนจัดการเรียนรู
          การดําเนินงานเขียนแผนจัดการเรียนรูกจกรรมลูกเสือ เนตรนารีสามัญ (ลูกเสือโท ) ได
                                                 ิ
ลุลวงเปนแผนการจัดการเรียนรูที่เรียบรอยแลวทุกประการ ขาพเจาหวังวา คงใหประโยชนแกผที่
                                                                                           ู
สนใจที่จะนําไปใชเปนแบบอยางหรือประยุกตใชใหเหมาะสมกับทองถิ่นตอไป



                                                                             วรรดี พูลสวัสดิ์
ฉ
ช
ซ
ฌ
ญ
ฎ
ฏ



                                คําอธิบายรายวิชา
           การจัดกิจกรรมการเรียนรูลูกเสือ-เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
                                 ……………………………..

คําอธิบาย
           เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตาม
                                                                  
คําปฏิญาณ กฎและคติพจนของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา มีความราเริงแจมใส มี
ระเบียบวินย ประหยัด ซื่อสัตยสุจริต อดทน เสียสละ ชวยเหลือตนเองและผูอื่น เปนผูนาและผู
               ั                                                                    ํ
ตามที่ดี สามารถทํางานและอยูรวมกับผูอนได ื่
           เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการลูกเสือและจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดย
ใหศึกษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนฐานการเรียนรูและใชกระบวนการ
เรียนรูที่หลากหลาย โดยเนนระบบหมู สรุปผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู ปดประชุม
กองในเรื่อง
           การรูจักตนเอง
                 - การบรรจุสิ่งของลงเครื่องหลังสําหรับการอยูคายพักแรม
                 - การเตรียมเครื่องปจจุบันพยาบาลสําหรับการเดินทางไกล
                 - การกอกองไฟ
                 - การปรุงอาหาร เครื่องดื่ม
                 - การกางเต็นท
           การชวยเหลือผูอื่น
                 - การปฐมพยาบาลบาดแผลเล็กนอย
                 - การบอกชื่อ การชี้แนะ การนําทาง สถานที่สําคัญในทองถิ่น
           การเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ    
                 - การเรียนรูเ รื่องทิศ
                 - การใชแผนที่ เข็มทิศ
           ทักษะในทางวิชาลูกเสือ
                 - การใช การรักษามีดและขวาน
                 - การผูกเงื่อน
                 - การเรียนรูฤดูกาล ลม ลักษณะอากาศ
ฐ



        งานอดิเรกและเรื่องที่นาสนใจ
            - การเลือกทํางานอดิเรกที่สนใจ
        คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ
            - บอกและปฏิบติตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ
                           ั
        ระเบียบแถว
            - ระเบียบแถวทามือเปลา ทาถือไมพลอง
            - การใชสัญญาณมือ สัญญาณนกหวีด
            - การตั้งแถวและการเรียกแถว

        เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูการเรียนรูแลว และผานการทดสอบ จะไดรับ
                                                                  
เครื่องหมายลูกเสือโท
        สําหรับวิชาพิเศษ ใหใชขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครองและวิชาพิเศษ
                                                                
ลูกเสือสามัญ ( ฉบับที่ 13 ) พ.ศ. 2525
กิจกรรม
        - การแสดงออกทางทักษะและความคิดสรางสรรค
        - การอยูคายพักแรมและการเดินทางไกล
        - การฝมือ
        - การประดิษฐสิ่งของ การแกะสลัก การปน
        - การทําสวนครัว
        - การปลูกตนไม
        - การเลี้ยงสัตว
        - การบําเพ็ญประโยชน

Contenu connexe

Tendances

ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5Lahu001710
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558pakpoom khangtomnium
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557somdetpittayakom school
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูkruthai40
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูkrutang2151
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003charinruarn
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553Kobwit Piriyawat
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนาLaila Sama-ae
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพEkachai Seeyangnok
 

Tendances (16)

ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5ครูผู้ซวย 5
ครูผู้ซวย 5
 
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
ยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงาน ปี 2558
 
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 25573โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
3โครงการหลัก9กลยุทธ์ สมเด็จพิทยาคม 2557
 
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือการปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครูคู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
คู่มือปฏิบัติงานข้าราชการครู
 
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
คู่มือดำเนินการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน 2003
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
Sar 2556
Sar 2556Sar 2556
Sar 2556
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
แผนการพัฒนาตนเอง นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ ปีการศึกษา 2553
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
แผนพัฒนา
แผนพัฒนาแผนพัฒนา
แผนพัฒนา
 
คู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพคู่มือครูมืออาชีพ
คู่มือครูมืออาชีพ
 

Similaire à กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์tassanee chaicharoen
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333Chirinee Deeraksa
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 

Similaire à กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (20)

ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
05chap3
05chap305chap3
05chap3
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
งานนำเสนอ อ อ ญญปารย 333
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 

Plus de watdang

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1watdang
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติwatdang
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1watdang
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2watdang
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญwatdang
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]watdang
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหารwatdang
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญwatdang
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองwatdang
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494watdang
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัยwatdang
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาwatdang
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือwatdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11watdang
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยwatdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10watdang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9watdang
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1watdang
 
กิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือกิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือwatdang
 

Plus de watdang (20)

แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบทดสอบวิชาลูกเสือ   ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบทดสอบวิชาลูกเสือ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
ข้อบังคับคณะลูกเสือแห่งชาติ
 
009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
ประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญประชุมกอง สามัญ
ประชุมกอง สามัญ
 
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
การทำแกรนด์ฮาวล์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหารบทเรียนสำเร็จรูป  การปรุงอาหาร
บทเรียนสำเร็จรูป การปรุงอาหาร
 
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญหลักสูตรลูกเสือสามัญ
หลักสูตรลูกเสือสามัญ
 
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรองหลักสูตรลูกเสื อสำรอง
หลักสูตรลูกเสื อสำรอง
 
Microsoft word 301005 494
Microsoft word   301005 494Microsoft word   301005 494
Microsoft word 301005 494
 
การให้อภัย
การให้อภัยการให้อภัย
การให้อภัย
 
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษาการดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
การดำเนินงาน ลส.3 d ในสถานศึกษา
 
พรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือพรบ.ลูกเสือ
พรบ.ลูกเสือ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
 
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตยโครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
โครงสร้างหลักสูตรลูกเสือประชาธิปไตย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
 
แผนปฐมนิเทศ 1
แผนปฐมนิเทศ  1แผนปฐมนิเทศ  1
แผนปฐมนิเทศ 1
 
กิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือกิจกรรมลูกเสือ
กิจกรรมลูกเสือ
 

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

  • 1. คําชี้แจงการใชหลักสูตรและคูมือ 1. กิจกรรมลูกเสือสามัญ ( ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 – 6 ) ใหความหมายรวมถึงเนตรนารี สามัญ ซึ่งใชหลักสูตร และพิธีการเดียวกับลูกเสือ โดยกําหนดใหเปนกิจกรรมบังคับและวิชาพิเศษ ใชในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนโดย 2. ใหทําการสอนกิจกรมลูกเสือ เนตรนารีและลูกเสือโทในชั้นประถมศึกษาปที่ 5 และ สอนกิจกรรมลูกเสือเอกในชั้นประถมศึกษาปที่ 6 3. การแตงกาย ในการฝกภาคปฏิบัติหรือการอยูคายพักแรม ใหลูกเสือใชเครื่องแบบลําลอง ( เครื่องแบบนักเรียนและผาผูกคอตามที่ไดกําหนดไวในกฎกระทรวง ) 4. รายละเอียดในคูมือฉบับนี้เปนเพียงแนวปฏิบัติใหผูกากับลูกเสือไดใชประกอบการเรียน ํ การสอนในการรวมกิจกรรมลูกเสือ โดยเนนการปฏิบัติเพื่อใหเกิดลักษณะทีดี ผูกํากับอาจ ่ เปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสมของทองถิ่น ทั้งนี้ใหยึดหลักสูตรและวิธีการตามขบวนการ ลูกเสือเปนหลัก 5. ควรจัดใหมีการเปดประชุมกองทุกครั้งกอนที่จะมีการปฏิบัติกจกรรม เพื่อเปนการฝก ิ ความมีระเบียบและการมีวินยในตนเอง โดยปฏิบัติตามขั้นตอนดังนี้ ั 5.1 พิธีเปด (ชักธงขึ้น สวดมนต สงบนิ่ง ตรวจ แยก) 5.2 เกมหรือเพลง ทําใหเกิดความสนุกสนานเปนการอบอุนรางกายกอนปฏิบัติการจัด กิจกรรมการเรียนรู อื่น อาจใชอยางหนึ่งอยางใดหรือทั้งสองอยาง ซึ่งบางครั้งไมจําเปนตอง สอดคลองกับสาระการเรียนรูตลอดไป 5.3 การปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู ใชการจัดกิจกรรมการเรียนรูการเรียนการ สอนที่หลากหลายโดยเนนการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนฐาน โดยใชระบบหมูเพื่อ สะดวกตอการเรียนการสอนและการควบคุม กํากับดูแล 5.4 การเลาเรื่องสั้นที่เปนประโยชน ควรเปนเรื่องงายๆและควรใหลูกเสือรวมกันสรุป ถึงคุณและโทษอยางไร เชน ความสามัคคี ความซื่อสัตยสุจริต ความเสียสละ ความกลาหาญ อดทน ฯลฯ 5.5 พิธีปด (นัดหมาย ตรวจ ชักธงลง เลิก)
  • 2. 6. สําหรับวิชาพิเศษใหลูกเสือปฏิบัติดังนี้ 6.1 ทําการสอบวิชาพิเศษโดยใชเวลานอกเหนือจากที่ลูกเสือเขารวมกิจกรรมตามปกติ หรือในขณะอยูคายพักแรม นอกจากนี้ลูกเสืออาจใชเวลาวางของตนเองทําการฝกฝนทักษะตาง ๆ ของวิชาพิเศษ แลวขอทําการสอบหรือสงรายงานผลการปฏิบัติงานของรายวิชานั้นแกผูกํากับลูกเสือ เพื่อขอประดับเครื่องหมายวิชาพิเศษ การสอบจะจัดใหมีขึ้นปละกี่ครั้งก็ได โดยเนนการปฏิบัติจริง เมื่อสอบผานแลวใหผูกากับลงนามรับรองในสมุดประจําตัวลูกเสือ ํ 6.2 วิชาพิเศษลูกเสือใดมีเนื้อหาสัมพันธกับกิจกรรมที่ลูกเสือเขารวมตามปกติก็ใหนาไป ํ บูรณาการ รวมทั้งทําการสอบภาคปฏิบัติของวิชาพิเศษนั้น ๆ และใหถือวาลูกเสือที่ผานการสอบแลว มีสทธิประดับเครื่องหมายวิชาพิเศษนั้นดวย ิ 6.3 ใหโรงเรียนเปนผูดําเนินการขอซื้อเครื่องหมายวิชาพิเศษตามจํานวนที่ลูกเสือไดรับ จากองคการคาคุรุสภา 6.4 สําหรับวิชาพิเศษลูกเสือใหใชขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติ วาดวยการปกครอง หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือสามัญ ( ฉบับที่ ๑๓ ) พ.ศ. ๒๕๒๕
  • 3. ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การกําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรูแกนกลาง ตามหลักสูตรการศึกษาขันพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ้ -------------------------------- ตามที่กระทรวงศึกษาธิการไดมคําสั่งใหใชหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ี ซึ่ ง เป น หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ตามมาตราที่ 27 วรรคแรก แห ง พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แลวนั้น เพื่อใหการกําหนดสาระการเรียนรูของแตละ กลุ ม สาระการเรี ย นรู แ ละกิ จ กรรมพั ฒ นาผู เ รี ย น มี ค วามชั ด เจนและบรรลุ ม าตรฐานการเรี ย นรู กระทรวงศึกษาธิการจึงไดกําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรูแกนกลางขึ้น ซึ่งจะเปนประโยชนใน การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาตอไป ให ส ถานศึ ก ษานํ า รายละเอี ย ดสาระการเรี ย นรู แ กนกลาง เป น แนวในการเที ย บเคี ย ง ตรวจสอบ หรือปรับใช เปนสาระการเรียนรายป หรือรายภาคของสถานศึกษาในสัดสวนประมาณ ร อ ยละ 70 โดยยื ด หยุ น ตามธรรมชาติ ของแต ล ะกลุ ม สาระการเรี ย นรู หรื อ ช ว งชั้ น และให สถานศึกษากําหนดรายละเอียดสาระการเรียนรู ประมาณรอยละ 30 ในสวนที่เกี่ยวกับสภาพปญหา ในชุมชนและสังคม ภูมิปญญาทองถิ่น คุณลักษณะอันพึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มาตรา 27 วรรคสอง ทั้งนี้อาจกําหนดเปนสาระการเรียนรูรายปหรือ รายภาค กิจกรรมการเรียนรู แหลงเรียนรู สื่อการเรียนรู ฯลฯ ประกาศ ณ วันที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2546 ปองพล อดิเรกสาร ( นายปองพล อดิเรกสาร ) รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ
  • 4. หลักสูตรกิจกรรมลูกเสือ – เนตรนารี ระดับประถมศึกษา จุดประสงค เพื่อใหผูเรียนมีพัฒนาทางกาย สติปญญา จิตใจ และศีลธรรม ใหเปนพลเมืองดี มี ความรับผิดชอบ ชวยสรางสรรคสังคม ใหมีความเจริญกาวหนา ความสงบสุข และความมั่นคง ของประเทศชาติ จึงตองปลูกฝง ใหมีคุณลักษณะดังตอไปนี้ 1. มีความรู ความเขาใจและสามารถปฏิบัติตามคําปฏิญาณ กฎ และคติพจนของลูกเสือ สํารอง / สามัญ 2.มีทักษะการสังเกต จดจํา การใชมือ เครื่องมือ การแกปญหา และทักษะในการทํางาน รวมกับผูอื่น 3. มีความซื่ อสั ตย สุ จริต มีระเบีย บวินัย มีความสามัคคี เห็น อกเห็นใจผูอื่น มีค วาม เสียสละ บําเพ็ญตนเพื่อสาธารณะประโยชน 4. มีการพัฒนาตนเองอยูเสมอ สรางสรรคงานฝมือ สนใจและพัฒนาเรืองของประเทศชาติ ่ การวัดผลประเมินผลกิจกรรม ลูกเสือ – เนตรนารี การวัดผลประเมินผล ลูกเสือ – เนตรนารี มี 2 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมบังคับ เปนการวัดผลและประเมินผล เพื่อใหลูกเสือ – เนตรนารี ผานชวงชั้น หรือจบหลักสูตร โดยการเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียนและผานการประเมินผล ตามเกณฑที่ สถานศึกษากําหนดและมีการวัดผลตลอดภาคเรียน โดยการ 1.1 สังเกต - ความสนใจ - การเขารวมกิจกรรม 1.2 การซักถาม 1.3 การทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ 2. วิชาพิเศษ เปนการวัดและประเมินผลในแตละวิชา โดยการทดสอบทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบัติและใชเกณฑประเมินดังนี้ 2.1 ผาน ( ผ ) 2.2 ไมผาน ( มผ. )
  • 5. คําชี้แจง การจัดกิจกรรมลูกเสือเนตรนารีใหประสบความสําเร็จนั้น จะตองมีวิธีการและวิสยทัศนใน ั การดําเนินงานที่ชัดเจน จึงสามารถสรางเสริมใหลูกเสือ เนตรนารี ใหมประสิทธิภาพ และดํารงชีวิต ี อยางมีความสุข การจัดทําแผนการเรียนรูกจกรรมลูกเสือ เนตรนารีสามัญ (ลูกเสือโท ) ชันประถมศึกษา ิ ้ ปที่ 5 เกิดจากความมุงมันของขาพเจา ที่ตองการพัฒนาการจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ใหมี ่ คุณภาพ จึงจําเปนอยางยิ่งทีจะตองมีแผนจัดการเรียนรู กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ที่ชดเจน ่ ั การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ฉบับนี้ ไดดาเนินการตามขั้นตอน ํ ของการเขียนแผนการจัดการเรียนรูทุกประการคือ 1. วิเคราะหคําอธิบายรายวิชาและหนวยการเรียนรู 2. วิเคราะหผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 3. วิเคราะหสาระที่เรียนรูจากผลการเรียนรู 4. วิเคราะหกระบวนการจัดการเรียนรู 5. วิเคราะหกระบวนการประเมินผล 6. วิเคราะหแหลงเรียนรู 7. เขียนกําหนดการสอน 8. เขียนแผนจัดการเรียนรู การดําเนินงานเขียนแผนจัดการเรียนรูกจกรรมลูกเสือ เนตรนารีสามัญ (ลูกเสือโท ) ได ิ ลุลวงเปนแผนการจัดการเรียนรูที่เรียบรอยแลวทุกประการ ขาพเจาหวังวา คงใหประโยชนแกผที่ ู สนใจที่จะนําไปใชเปนแบบอยางหรือประยุกตใชใหเหมาะสมกับทองถิ่นตอไป วรรดี พูลสวัสดิ์
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. คําอธิบายรายวิชา การจัดกิจกรรมการเรียนรูลูกเสือ-เนตรนารี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 …………………………….. คําอธิบาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในการจัดกิจกรรมการเรียนรูลูกเสือสามัญ สามารถปฏิบัติตาม  คําปฏิญาณ กฎและคติพจนของลูกเสือสามัญ มีนิสัยในการสังเกต จดจํา มีความราเริงแจมใส มี ระเบียบวินย ประหยัด ซื่อสัตยสุจริต อดทน เสียสละ ชวยเหลือตนเองและผูอื่น เปนผูนาและผู ั ํ ตามที่ดี สามารถทํางานและอยูรวมกับผูอนได ื่ เปดประชุมกอง ดําเนินการตามกระบวนการลูกเสือและจัดการจัดกิจกรรมการเรียนรูโดย ใหศึกษาวิเคราะหวางแผน ปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูเปนฐานการเรียนรูและใชกระบวนการ เรียนรูที่หลากหลาย โดยเนนระบบหมู สรุปผลการปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรู ปดประชุม กองในเรื่อง การรูจักตนเอง - การบรรจุสิ่งของลงเครื่องหลังสําหรับการอยูคายพักแรม - การเตรียมเครื่องปจจุบันพยาบาลสําหรับการเดินทางไกล - การกอกองไฟ - การปรุงอาหาร เครื่องดื่ม - การกางเต็นท การชวยเหลือผูอื่น - การปฐมพยาบาลบาดแผลเล็กนอย - การบอกชื่อ การชี้แนะ การนําทาง สถานที่สําคัญในทองถิ่น การเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ  - การเรียนรูเ รื่องทิศ - การใชแผนที่ เข็มทิศ ทักษะในทางวิชาลูกเสือ - การใช การรักษามีดและขวาน - การผูกเงื่อน - การเรียนรูฤดูกาล ลม ลักษณะอากาศ
  • 13. งานอดิเรกและเรื่องที่นาสนใจ - การเลือกทํางานอดิเรกที่สนใจ คําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ - บอกและปฏิบติตามคําปฏิญาณและกฎของลูกเสือสามัญ ั ระเบียบแถว - ระเบียบแถวทามือเปลา ทาถือไมพลอง - การใชสัญญาณมือ สัญญาณนกหวีด - การตั้งแถวและการเรียกแถว เมื่อผูเรียนไดปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนรูการเรียนรูแลว และผานการทดสอบ จะไดรับ  เครื่องหมายลูกเสือโท สําหรับวิชาพิเศษ ใหใชขอบังคับคณะลูกเสือแหงชาติวาดวยการปกครองและวิชาพิเศษ  ลูกเสือสามัญ ( ฉบับที่ 13 ) พ.ศ. 2525 กิจกรรม - การแสดงออกทางทักษะและความคิดสรางสรรค - การอยูคายพักแรมและการเดินทางไกล - การฝมือ - การประดิษฐสิ่งของ การแกะสลัก การปน - การทําสวนครัว - การปลูกตนไม - การเลี้ยงสัตว - การบําเพ็ญประโยชน