SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน   ( Translation ) การสะท้อน   ( Reflection ) การหมุน  (Rotation)
การแปลงทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต  คือ   การเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิต โดยการเลื่อนขนาน  การสะท้อน  และการหมุนของรูปหนึ่ง ๆ  (  เราเรียกรูปนั้นว่า  รูปต้นแบบ   และเรียกรูปที่เกิดจากการแปลงว่า  ภาพ   ) กำหนดรูป  A  เป็นรูปต้นแบบ  และรูป  B  เป็นภาพที่เกิดจากการแปลงรูป  A ................................... P P’ จากรูป  ถ้า  P  เป็นจุดจุดหนึ่งบนรูป  A  จุด  (  อ่านว่า  พีไพร์ม  )  เป็นภาพที่ได้จากการแปลงจุด  P  เรากล่าวว่า  จุด  P  และจุด เป็นจุดที่สมนัยกัน รูป  A   รูป  B พิจารณารูปต่อไปนี้ กำหนดให้  เป็นภาพที่ได้จากการแปลง  ABC       A     B   C โดยจุด  A  และ จุด  เป็นจุดที่สมนัยกัน จุด  B  และ จุด  เป็นจุดที่สมนัยกัน และจุด  C   และ จุด  เป็นจุดที่สมนัยกัน   เรากล่าวว่า  กับ  เป็นด้านที่สมนัยกัน   กับ  เป็นด้านที่สมนัยกัน   กับ  เป็นด้านที่สมนัยกัน
การเลื่อนขนาน   (Translation) การเลื่อนขนานต้องมีรูปต้นแบบ ทิศทางและระยะทางที่ต้องการเลื่อนรูป การ เลื่อนขนานเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการเลื่อนรูปต้นแบบไปในทางทิศทางใดทิศทางหนึ่งด้วยระยะทางที่กำหนด จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานระยะห่างจากจุดที่สมนัยกันบนรูปต้นแบบเป็นระยะทางเท่ากัน การเลื่อนในลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สไลด์  (slide)”  ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง  1   กำหนดให้  PQR  เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน PQR   ในทิศทางและระยะทาง  ตามที่กำหนดดังรูป  เป็นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน       P     S     Q     R จากการวาดจะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด  P  ไปที่จุด  เลื่อนจุด  Q  ไปที่จุด  และเลื่อนจุด  R  ไปที่จุด  ทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่ากัน จะได้ว่า  , , และ  ขนานกันและยาวเท่ากัน ในการบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนาน จะใช้ เวกเตอร์เป็นตัวกำหนด
จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์  AB  เพื่อบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนานดังรูป     P     S     Q     R   B   A เวกเตอร์  AB  อาจเขียนแทนด้วย  ซึ่ง  AB  จะมีทิศทางจาก จุดเริ่มต้น  A  ไปยัง จุดสิ้นสุด  B  และขนานเท่ากับความยาวของ  จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้น จะได้ว่า  , , และ  จะขนานกันกับ  = = =  =  ข้อสังเกตของการเลื่อนขนาน 1.  รูปต้นแบบจะเท่ากันทุกประการกับภาพที่ได้จากการแปลง   2.  จุดที่สมนัยกันบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบจะมีระยะห่างเท่ากัน   3.  ภายใต้การเลื่อนขนานจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดของรูปต้นแบบ
ตัวอย่างการเลื่อนขนาน
 
การสะท้อน   (Reflection) การสะท้อนต้องมีรูปต้นแบบที่ต้องการสะท้อนและเส้นสะท้อน  (reflection line  หรือ  Mirror line)  การสะท้อนรูปข้ามเส้นสะท้อนเสมือนกับการพลิกรูปข้ามเส้นสะท้อนหรือการดูเงา สะท้อนบนกระจกเงาที่วางบนเส้นสะท้อน การสะท้อนเป็นการแปลงที่มีการจับคู่กันระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อน โดยที่  1.  รูปที่เกิดจากการสะท้อนมีขนาดและรูปร่างเช่นเดิม หรือกล่าวว่ารูปที่เกิดจากการสะท้อนเท่ากันทุกประการกับรูปเดิม  2.  เส้นสะท้อนจะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อนที่สมนัยกัน นั่นคือระยะระหว่างจุดต้นแบบและเส้นสะท้อนเท่ากับระยะระหว่างจุดสะท้อนและเส้นสะท้อน  ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง  L  เป็นเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่  1  ทุกจุดบนรูปต้นแบบไม่อยู่บนเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่  2   หลักการสะท้อน กำหนด  ABC   เป็นรูปต้นแบบ  เมื่อสะท้อน  ABC   บนเส้นสะท้อน  PQ   และได้  เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน
  P A   O     B    C   วิธีสร้าง  1.  ที่จุด  A  ลากเส้นตั้งฉากกับ  PQ  ที่จุด  O 2.  ใช้  O  เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเท่ากับ  OA   เขียน  บน   AO   จะได้  AO =  และ  เป็นภาพที่เกิดจากการสะท้อน  A  ที่มีเส้น  PQ  เป็นเส้นสะท้อน  3.  ทำซ้ำขั้นตอนที่  1,2  จะได้ภาพของจุด  B  และ  C  เป็น  และ 4.  ลากเส้น  และ  จะได้ภาพ  ABC   ที่สะท้อนข้ามเส้นตรง  PQ  คือ  เราสามารถสรุปสมบัติของการสะท้อนได้ดังนี้ 1.  รูปที่เกิดจากการสะท้อนจะมีขนาดและรูปร่างเท่ากับรูปต้นแบบหรือเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ 2.  รูปที่เกิดจากการสะท้อนกับรูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อนเท่ากัน 3.  จุดบนเส้นสะท้อนเป็นจุดคงที่ไม่มีการสะท้อน
  P   Q       ตัวอย่างที่  1 การสะท้อนของส่วนของเส้นตรง กำหนดให้ ส่วนของเส้นตรง  PQ ,  เป็นเส้นสะท้อน จะพบว่า จุด และ  เป็นภาพสะท้อนของ  P  และจุด  Q  ส่วนของเส้นตรง  เป็นภาพสะท้อนของส่วนของเส้นตรง  PQ  ใช้วงเวียนหรือสันตรงหรือไม้บรรทัดวัดความยาว จะได้ว่า  1)  ระยะจากจุด  P  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจาก  จุด  ถึงเส้น  สะท้อน ระยะจากจุด  Q  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน  2)  ความยาวของส่วนของเส้นตรง  PQ  เท่ากับความยาวของ  ส่วนของเส้นตรง  นั่นคือ  PQ  =  3)  เส้นสะท้อน  แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ  P  และ  Q
ตัวอย่างที่  2 การสะท้อนของรูปเรขาคณิต เช่น  รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยมและอื่น ๆ A ………………………..   B…………….  C     ………………………………………………… ...   กำหนดให้ ABC  เป็นรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง ,  เป็นเส้น  สะท้อน จะพบว่า 1)  จุด  จุด  และจุด  เป็นภาพสะท้อน  ของจุด  A  จุด  B  และจุด  C  ใช้วงเวียนหรือไม้บรรทัดวัดความยาวจะได้ว่า  2)  ระยะจากจุด  A  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน    ระยะจากจุด  B  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน    ระยะจากจุด  C  ถึงเส้นสะท้อน  เท่ากับระยะจากจุด  ถึงเส้นสะท้อน  3)  ความยาวของส่วนของเส้นตรงเท่ากัน  นั่นคือ  AB  =  BC  =  CA  =  4)     ABC 5)  เส้นสะท้อน  แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ  A  ,  B  และ C
ตัวอย่างการสะท้อนของรูปต่าง ๆ   1) B B 2) 3) 4)
การหมุน  (Rotation) การหมุนจะต้องมีรูปต้นแบบ จุดหมุนและขนาดของมุมที่ต้องการในรูปนั้น การมุมเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการหมุน โดยที่จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนด จุดหมุนจะอยู่นอกรูปหรือบนรูปก็ได้ การหมุนจะหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ โดยทั่วไปเมื่อไม่ระบุไว้การหมุนรูปจะเป็นการหมุนทวนเข็มนาฬิกา บางครั้งถ้าเป็นมุมที่เกิดจากการหมุนตามเข็มนาฬิกา การหมุนเป็นการสะท้อนต่อกันสองครั้ง  ผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นที่ตัดกัน ตัวอย่าง  การหมุน ให้   O  เป็นจุดหมุน จุด  A  หมุนไปที่จุด  เป็นมุม  ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ จุด  A  หมุนไปที่จุด  เป็นมุม  ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ
หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ  ขนาดของมุมที่หมุน  30    ( จากการวัด ) หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ  ขนาดของมุมที่หมุน  160    ( จากการวัด ) สมบัติของการหมุน 1.  สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่เกิดจากการหมุนได้สนิทโดยไม่ต้องพลิกรูปหรือกล่าวว่ารูปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนเท่ากันทุกประการ 2.  จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบจะเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนดให้ทุกจุด 3.  จุดหมุนเป็นจุดคงที่
ตัวอย่างการหมุน การหมุนเป็นการสะท้อนต่อกันสองครั้ง  ผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นที่ตัดกัน

Contenu connexe

Tendances

เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
Aon Narinchoti
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 

Tendances (20)

รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
อัตราส่วน
อัตราส่วนอัตราส่วน
อัตราส่วน
 
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยมแผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
แผนที่ 1 ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
G6 Maths Circle
G6 Maths CircleG6 Maths Circle
G6 Maths Circle
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 2 ชุดที่ 2
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 

Similaire à การแปลงทางเรขาคณิต

Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
Te'tee Pudcha
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
krookay2012
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
ทับทิม เจริญตา
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
Laongphan Phan
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
nutchaporn
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
kroojaja
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
Pannathat Champakul
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
Krudodo Banjetjet
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
guest00db6d99
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
guest00db6d99
 

Similaire à การแปลงทางเรขาคณิต (20)

Math2
Math2Math2
Math2
 
111
111111
111
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
 
สามเหลี่ยม
สามเหลี่ยมสามเหลี่ยม
สามเหลี่ยม
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2งานโลหะแผ่น6 2
งานโลหะแผ่น6 2
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
46497232 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเรขาคณิตวิเคราะห์
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 
ภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวยภาคตัดกรวย
ภาคตัดกรวย
 

การแปลงทางเรขาคณิต

  • 1. การแปลงทางเรขาคณิต การเลื่อนขนาน ( Translation ) การสะท้อน ( Reflection ) การหมุน (Rotation)
  • 2. การแปลงทางเรขาคณิต การแปลงทางเรขาคณิต คือ การเคลื่อนไหวของรูปเรขาคณิต โดยการเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุนของรูปหนึ่ง ๆ ( เราเรียกรูปนั้นว่า รูปต้นแบบ และเรียกรูปที่เกิดจากการแปลงว่า ภาพ ) กำหนดรูป A เป็นรูปต้นแบบ และรูป B เป็นภาพที่เกิดจากการแปลงรูป A ................................... P P’ จากรูป ถ้า P เป็นจุดจุดหนึ่งบนรูป A จุด ( อ่านว่า พีไพร์ม ) เป็นภาพที่ได้จากการแปลงจุด P เรากล่าวว่า จุด P และจุด เป็นจุดที่สมนัยกัน รูป A รูป B พิจารณารูปต่อไปนี้ กำหนดให้ เป็นภาพที่ได้จากการแปลง ABC A B C โดยจุด A และ จุด เป็นจุดที่สมนัยกัน จุด B และ จุด เป็นจุดที่สมนัยกัน และจุด C และ จุด เป็นจุดที่สมนัยกัน เรากล่าวว่า กับ เป็นด้านที่สมนัยกัน กับ เป็นด้านที่สมนัยกัน กับ เป็นด้านที่สมนัยกัน
  • 3. การเลื่อนขนาน (Translation) การเลื่อนขนานต้องมีรูปต้นแบบ ทิศทางและระยะทางที่ต้องการเลื่อนรูป การ เลื่อนขนานเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการเลื่อนรูปต้นแบบไปในทางทิศทางใดทิศทางหนึ่งด้วยระยะทางที่กำหนด จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานระยะห่างจากจุดที่สมนัยกันบนรูปต้นแบบเป็นระยะทางเท่ากัน การเลื่อนในลักษณะนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “สไลด์ (slide)” ดังตัวอย่าง ตัวอย่าง 1 กำหนดให้ PQR เป็นรูปต้นแบบ เมื่อเลื่อนขนาน PQR ในทิศทางและระยะทาง ตามที่กำหนดดังรูป เป็นภาพที่ได้จากการเลื่อนขนาน P S Q R จากการวาดจะเห็นว่า มีการเลื่อนจุด P ไปที่จุด เลื่อนจุด Q ไปที่จุด และเลื่อนจุด R ไปที่จุด ทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่ากัน จะได้ว่า , , และ ขนานกันและยาวเท่ากัน ในการบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนาน จะใช้ เวกเตอร์เป็นตัวกำหนด
  • 4. จากตัวอย่างข้างต้นอาจใช้เวกเตอร์ AB เพื่อบอกทิศทางและระยะทางของการเลื่อนขนานดังรูป P S Q R B A เวกเตอร์ AB อาจเขียนแทนด้วย ซึ่ง AB จะมีทิศทางจาก จุดเริ่มต้น A ไปยัง จุดสิ้นสุด B และขนานเท่ากับความยาวของ จากตัวอย่างการเลื่อนขนานข้างต้น จะได้ว่า , , และ จะขนานกันกับ = = = = ข้อสังเกตของการเลื่อนขนาน 1. รูปต้นแบบจะเท่ากันทุกประการกับภาพที่ได้จากการแปลง 2. จุดที่สมนัยกันบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบจะมีระยะห่างเท่ากัน 3. ภายใต้การเลื่อนขนานจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดของรูปต้นแบบ
  • 6.  
  • 7. การสะท้อน (Reflection) การสะท้อนต้องมีรูปต้นแบบที่ต้องการสะท้อนและเส้นสะท้อน (reflection line หรือ Mirror line) การสะท้อนรูปข้ามเส้นสะท้อนเสมือนกับการพลิกรูปข้ามเส้นสะท้อนหรือการดูเงา สะท้อนบนกระจกเงาที่วางบนเส้นสะท้อน การสะท้อนเป็นการแปลงที่มีการจับคู่กันระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อน โดยที่ 1. รูปที่เกิดจากการสะท้อนมีขนาดและรูปร่างเช่นเดิม หรือกล่าวว่ารูปที่เกิดจากการสะท้อนเท่ากันทุกประการกับรูปเดิม 2. เส้นสะท้อนจะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อนที่สมนัยกัน นั่นคือระยะระหว่างจุดต้นแบบและเส้นสะท้อนเท่ากับระยะระหว่างจุดสะท้อนและเส้นสะท้อน ตัวอย่างการสะท้อนที่มีเส้นตรง L เป็นเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่ 1 ทุกจุดบนรูปต้นแบบไม่อยู่บนเส้นสะท้อน ตัวอย่างที่ 2 หลักการสะท้อน กำหนด ABC เป็นรูปต้นแบบ เมื่อสะท้อน ABC บนเส้นสะท้อน PQ และได้ เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อน
  • 8. P A O B C วิธีสร้าง 1. ที่จุด A ลากเส้นตั้งฉากกับ PQ ที่จุด O 2. ใช้ O เป็นจุดศูนย์กลางรัศมีเท่ากับ OA เขียน บน AO จะได้ AO = และ เป็นภาพที่เกิดจากการสะท้อน A ที่มีเส้น PQ เป็นเส้นสะท้อน 3. ทำซ้ำขั้นตอนที่ 1,2 จะได้ภาพของจุด B และ C เป็น และ 4. ลากเส้น และ จะได้ภาพ ABC ที่สะท้อนข้ามเส้นตรง PQ คือ เราสามารถสรุปสมบัติของการสะท้อนได้ดังนี้ 1. รูปที่เกิดจากการสะท้อนจะมีขนาดและรูปร่างเท่ากับรูปต้นแบบหรือเท่ากันทุกประการกับรูปต้นแบบ 2. รูปที่เกิดจากการสะท้อนกับรูปต้นแบบห่างจากเส้นสะท้อนเท่ากัน 3. จุดบนเส้นสะท้อนเป็นจุดคงที่ไม่มีการสะท้อน
  • 9. P Q ตัวอย่างที่ 1 การสะท้อนของส่วนของเส้นตรง กำหนดให้ ส่วนของเส้นตรง PQ , เป็นเส้นสะท้อน จะพบว่า จุด และ เป็นภาพสะท้อนของ P และจุด Q ส่วนของเส้นตรง เป็นภาพสะท้อนของส่วนของเส้นตรง PQ ใช้วงเวียนหรือสันตรงหรือไม้บรรทัดวัดความยาว จะได้ว่า 1) ระยะจากจุด P ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจาก จุด ถึงเส้น สะท้อน ระยะจากจุด Q ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน 2) ความยาวของส่วนของเส้นตรง PQ เท่ากับความยาวของ ส่วนของเส้นตรง นั่นคือ PQ = 3) เส้นสะท้อน แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ P และ Q
  • 10. ตัวอย่างที่ 2 การสะท้อนของรูปเรขาคณิต เช่น รูปสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยม รูปห้าเหลี่ยมและอื่น ๆ A ……………………….. B……………. C ………………………………………………… ... กำหนดให้ ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง , เป็นเส้น สะท้อน จะพบว่า 1) จุด จุด และจุด เป็นภาพสะท้อน ของจุด A จุด B และจุด C ใช้วงเวียนหรือไม้บรรทัดวัดความยาวจะได้ว่า 2) ระยะจากจุด A ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน ระยะจากจุด B ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน ระยะจากจุด C ถึงเส้นสะท้อน เท่ากับระยะจากจุด ถึงเส้นสะท้อน 3) ความยาวของส่วนของเส้นตรงเท่ากัน นั่นคือ AB = BC = CA = 4)  ABC 5) เส้นสะท้อน แบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ A , B และ C
  • 12. การหมุน (Rotation) การหมุนจะต้องมีรูปต้นแบบ จุดหมุนและขนาดของมุมที่ต้องการในรูปนั้น การมุมเป็นการแปลงที่จับคู่จุดแต่ละจุดของรูปที่ได้จากการหมุน โดยที่จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนด จุดหมุนจะอยู่นอกรูปหรือบนรูปก็ได้ การหมุนจะหมุนตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกาก็ได้ โดยทั่วไปเมื่อไม่ระบุไว้การหมุนรูปจะเป็นการหมุนทวนเข็มนาฬิกา บางครั้งถ้าเป็นมุมที่เกิดจากการหมุนตามเข็มนาฬิกา การหมุนเป็นการสะท้อนต่อกันสองครั้ง ผ่านเส้นสะท้อนสองเส้นที่ตัดกัน ตัวอย่าง การหมุน ให้ O เป็นจุดหมุน จุด A หมุนไปที่จุด เป็นมุม ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ จุด A หมุนไปที่จุด เป็นมุม ขนาดของมุมที่หมุนไปคือ
  • 13. หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ ขนาดของมุมที่หมุน 30  ( จากการวัด ) หมุนตามเข็มนาฬิกา มุมที่หมุนไปคือ ขนาดของมุมที่หมุน 160  ( จากการวัด ) สมบัติของการหมุน 1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่เกิดจากการหมุนได้สนิทโดยไม่ต้องพลิกรูปหรือกล่าวว่ารูปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนเท่ากันทุกประการ 2. จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบจะเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กำหนดให้ทุกจุด 3. จุดหมุนเป็นจุดคงที่