SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  78
Télécharger pour lire hors ligne
  1
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
คํานํา 
การพัฒนาในปจจุบันมักเปนเรื่องของการแยกสวน และประชาชนมิไดมีสวนรวมอยางแทจริง
นําไปสูการเกิดความขัดแยงในที่สุด
สังคมจะพัฒนาและมีความยั่งยืนยาวนานได ไมใชแคมีทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางเศรษฐกิจ
หรือแนวคิดในเชิงการเมืองที่ดีเทานั้น แตยังหมายถึงการมีตนทุนทางสังคมที่สงเสริมใหชุมชนหรือ
สังคม สามารถนําทรัพยากรตางๆ มาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ
แนวคิดทุนทางสังคมกลายเปนแนวคิดที่ไดรับความนิยมและเปนปจจัยที่สําคัญในการสราง
ความแข็งแกรงใหกับประชาธิปไตย โดยรูปแบบบางประการของทุนทางสังคมนั้นกอใหเกิดผลดี
ตอประชาธิปไตยและความเขมแข็งของสังคม
ดังนั้นเพื่อเสริมสรางกระบวนการมีสวนรวมใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม สถาบันพระปกเกลา
ซึ่งเปนสถาบันวิชาการในกํากับของประธานรัฐสภาที่มีพันธกิจหลักในการพัฒนาประชาธิปไตยจึงได
ออกแบบรูปแบบการมีสวนรวมโดยใหมีกลุมประชาชนที่อาสาสมัครมารวมทํางาน ชวยคนหาทุนทาง
สังคม ซึ่งเปนสิ่งที่ดีๆ ในสังคมนั้นๆ รวมกับนักวิจัย และใชเปนขอมูลประกอบการจัดทําแผนพัฒนา
ชุมชนอยางมีสวนรวม เพื่อนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน อันเปนการเสริมสรางประชาธิปไตยแบบ
มีสวนรวมนั่นเอง
เอกสารนี้จัดทําขึ้น เพื่อเปนเอกสารประกอบการเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลง
ชุมชน หรือนวัตกรสังคม ซึ่งถือวาเปนผูที่เสียสละเพื่อสังคมที่ดี และเปนแบบอยางในการพัฒนาชุมชน
และสังคมของชาติสืบไป
อนึ่ง เอกสารนี้สําเร็จไดดวยความชวยเหลือของคุณทวิติยา สินธุพงศ และคุณกันธรัตน
นาคศรี ซึ่งผูจัดทําขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ สําหรับขอบกพรองที่อาจมี ผูจัดทําขอนอมรับเพื่อการ
ปรับปรุงตอไป
ดร.ถวิลวดี บุรีกุล
ทพ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล
รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ
นางสาวสุธิดา แสงเพชร
 2
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
  3
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
สารบัญ
หนา
สวนที่ 1 5
บทที่ 1 ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม 7
1.1 ประชาธิปไตยในบริบทสากล กําเนิดคุณคาและหลักการ 8
1.2 รูปแบบตางๆ ของประชาธิปไตย 11
1.3 ความสําคัญของระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม
หลักการ รูปแบบและกระบวนการ 14
1.4 แนวคิด กระบวนการ และระดับขั้นของการมีสวนรวม 15
บทที่ 2 การใชเทคโนโลยีของการมีสวนรวมในการคนหาทุนทางสังคม 25
2.1 การประชุมปฏิบัติการอยางมีสวนรวม 25
2.2 การสนทนาแบบมีสวนรวม 27
2.3 สุนทรียปรัศนี 27
2.4 แผนที่เดินดิน 35
สวนที่ 2 39
บทที่ 3 ทุนทางสังคม : ความหมายและองคประกอบ 41
3.1 ทุนทางสังคมคืออะไร 41
3.2 ทุนทางสังคมประกอบไปดวยอะไรบาง 43
3.3 ทุนทางสังคมมีประโยชนอยางไร 44
3.4 จะคนหาทุนทางสังคมไดอยางไร 45
3.5 ใครคือผูบอกวามีทุนทางสังคมเทาไร อยูที่ไหน 45
3.6 ไดทุนทางสังคมแลวจะเอาไปทําอะไร 47
 4
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
สารบัญ (ตอ)
หนา
สวนที่ 3 49
บทที่ 4 การคนหาขุมพลังชุมชนและสินทรัพยชุมชน 51
4.1 ขุมพลังชุมชนคืออะไร 51
4.2 การทําแผนที่สินทรัพยชุมชน 51
4.3 จะจัดทําทําเนียบสินทรัพยชุมชนไดอยางไร 51
สวนที่ 4 63
บทที่ 5 นวัตกรสังคมกับชุมชนยั่งยืน 65
5.1 ความหมาย 65
5.2 องคประกอบของชุมชนยั่งยืน 66
5.3 บทบาทสําคัญของนวัตกรสังคมเพื่อการสรางเสริม “ชุมชนยั่งยืน” 66
บทที่ 6 การวางแผนปฏิบัติการโดยใชทุนทางสังคมเปนฐาน 69
6.1 การนําขอมูลทุนทางสังคมไปใช 69
บทที่ 7 การประเมินผลและถอดบทเรียน 73
7.1 การประเมินผลโครงการ 73
7.2 การถอดบทเรียนจากผลการประเมิน 75
7.3 การถอดบทเรียนดวย AAR 76
บรรณานุกรม 77
  5
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
สวนที่ 1
 6
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
  7
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
บทที่ 1
ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม
บทนํา 1
ถึงแมประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตยมากวา 70 ปแลว
แตตลอดระยะเวลาของการเปนประชาธิปไตยที่ผานมานั้น ไดมีการเบียดแทรกของการเปนเผด็จการ
เปนระยะๆ และบางครั้งดํารงอยูตอเนื่องเปนเวลานาน มีการปฏิวัติรัฐประหารหลายครั้งโดยกลุมบุคคล
ตางๆ โดยอางความเดือดรอนของประชาชนและการไมเปนประชาธิปไตย ทําใหในอดีตประชาชน
ชาวไทยแทบมิไดเขาไปมีบทบาทหรือมีสวนรวมในทางการเมืองแตอยางใด อํานาจสวนใหญตกอยูใน
กํามือของกลุมบุคคลบางกลุม อยูที่ฝายบริหารและขาราชการชั้นผูใหญ อํานาจทางการเมืองที่
ประชาชนไดรับเปนเพียงการมีสิทธิเลือกตั้งเทานั้น และบางครั้งการเลือกตั้งดังกลาวก็ยังมีขอสงสัย
ในความบริสุทธิ์ยุติธรรมอีกดวย
ในที่สุด กระแสการเปนประชาธิปไตยของโลกไดเขาสูประเทศไทยทําใหประชาชนรูถึงการที่ตน
ควรมีสิทธิ เสรีภาพและมีสวนรวมในทางการเมืองมากขึ้น เพื่อผลักดันใหเกิดความเปนประชาธิปไตย
เต็มใบเสียที โดยประชาชนเชื่อวาเปนระบอบการปกครองที่จะนําพวกเขาไปสูการมีชีวิตความเปนอยูที่
สันติสุขตลอดไป กลุมประชาชนจึงเรียกรองเพื่อการไดมาซึ่งประชาธิปไตยเต็มใบหลายครั้ง อาทิ
เหตุการณตุลาคม พ.ศ.2514, ตุลาคม พ.ศ.2516 และพฤษภาคม พ.ศ.2535 แตในที่สุดการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสําคัญเมื่อพฤษภาคม 2535 นั้น นํามาสูการปฏิรูประบบการเมือง
ของไทยอยางเห็นไดชัด โดยการเรียกรองของประชาชนที่จะเขามามีสวนรวมในทางการเมือง
กระบวนการตางๆ ของการกําหนดนโยบายของรัฐ และอื่นๆ ไดรับการคํานึงถึงจนในที่สุดไดนํามาสู
การที่ประเทศไทยไดมีระบบการเมืองการปกครองที่จัดวาเปนประชาธิปไตยมากขึ้น และเปน
“ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม” เนื่องจากมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540
ที่มีเจตนารมณอยางชัดเจนในการคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และสงเสริมการ
มีสวนรวมของประชาชน ตลอดจนสรางระบบการตรวจสอบอํานาจรัฐ และกอใหเกิดเสถียรภาพทาง
การเมืองเพื่อความยั่งยืนของประชาธิปไตย ซึ่งดวยสิทธิเสรีภาพและการเขาใจถึงสิทธิของการ
มีสวนรวมของตนเอง ประชาชนจึงสามารถตรวจสอบ และเรียกรองใหผูมีอํานาจปฏิบัติตามนโยบาย
                                                            
1
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรีกุล. ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. หนา 1-15.
 8
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ตางๆ ได ซึ่งแตกตางจากอดีตกาลอยางชัดเจนโดยหลายมาตราในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไดมีการนําไป
ปฏิบัติแลว แตหลายมาตราก็ยังมิไดนําไปปฏิบัติ
อยางไรก็ดี ประชาธิปไตยของไทยก็ถูกเบียดแทรกดวยการปฏิวัติอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่
19 กันยายน 2549 และมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมจนนํามาสูการลงประชามติรับรางรัฐธรรมนูญ
เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยมีประชาชนรอยละ 57.81 เห็นชอบกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ประเทศ
ไทยจึงมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ที่บังคับใชเมื่อ 24 สิงหาคม 2550
(ซึ่งกอนหนานั้นมีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549) ออกมาใชกอน
และกําหนดใหมีสภารางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ก็ไดมีสาระสําคัญ คือ
คุมครอง สงเสริม ขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอยางเต็มที่ ลดการผูกขาดอํานาจรัฐ และเพิ่ม
อํานาจใหกับประชาชน ทําการเมืองใหมีความโปรงใส มีคุณภาพและจริยธรรม ตลอดจนทําใหองคกร
ตรวจสอบมีความอิสระ เขมแข็ง และทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ไมตกอยูใตอํานาจฝายการเมือง
ดังนั้น รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังขยายสิทธิของประชาชนในหลายดานและคงความสําคัญของการ
มีสวนรวมของประชาชนจนกําหนดไวในสวนที่ 10 แนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน
เปนการเฉพาะ
1.1 ประชาธิปไตยในบริบทสากล กําเนิดคุณคา และหลักการ
1.1.1 ความหมายของประชาธิปไตย
คําวา ”ประชาธิปไตย” นั้นไมมีความหมายที่แนนอนและเปนสากล คําจํากัดความของ
ประชาธิปไตยมักเนนที่คุณภาพ กระบวนการ และสถาบันประชาธิปไตย ประชาธิปไตยมีหลาย
ประเภทแตกตางกันไปตามแนวทางการปฏิบัติ ผลที่ไดรับ ความเขาใจ ประสบการณ ความเชื่อของ
ผูศึกษาเรื่องประชาธิปไตยและประวัติศาสตรของแตละประเทศ ซึ่งสิ่งเหลานี้มักถูกนํามาบูรณาการเพื่อ
สรางคําจํากัดความของคําวา ประชาธิปไตยที่มีคุณคาและเหมาะตอการนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
ประชาธิปไตยไมไดเปนเรื่องของสถาบันหนึ่งๆ หรือเปนการรวมสถาบันตางๆ แตประชาธิปไตย
ในประเทศหนึ่งๆ เปนการรวมเรื่องของการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพลอยาง
มากตอประชาธิปไตย คือ ประวิติศาสตร วัฒนธรรม และ ประเพณี
ดังนั้น การเริ่มศึกษาเรื่องของประชาธิปไตยจึงควรเริ่มจากความหมายที่มีนักวิชาการกลาวถึงไว
กอนเพื่อความเขาใจของผูอาน
  9
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ประชาธิปไตย มาจากภาษากรีก คําวา demos หมายถึง ประชาชน และ kratos หมายถึง
อํานาจหรือพลัง ประชาธิปไตยเปนเรื่องของการจัดการรัฐหรือประเทศดวยตนเอง ตรงขามกับคํา
ตางๆ ดังนี้
1) การปกครองโดยคนคนเดียว (monarchy) ซึ่ง mono คือ บุคคลคนเดียว เชน กษัตริย
หรือผูมีอํานาจ
2) การปกครองโดยกลุมคน หรือคนสวนนอย
3) การปกครองโดยคนรวย หรือขุนนาง
คําวา “ประชาธิปไตย” อาจตีความไปหลายทาง บางคนอาจเนนไปที่ประชาธิปไตยทาง
การเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ หรือประชาธิปไตยทางสังคม
ประชาธิปไตยในแนวคิดของ Joseph Schumpeter เปนระบบการเมืองที่มีการเลือกตั้งอยางเสรี
ซึ่งไดสรางระบบการตรวจสอบได ผูปกครองมาจากการลงคะแนนของมวลชน ในปจจุบันบริบท
ที่เราสนใจมักอยูที่ประชาธิปไตยทางการเมืองซึ่งเปนที่ยอมรับรวมกัน เปนการคงอยูของสิทธิทาง
การเมืองและเสรีภาพของพลเมือง รวมถึงการแขงขันระหวางกลุมตางๆ
ดังกลาวแลวคําวาประชาธิปไตยเริ่มจากประเทศกรีก ซึ่งเปนรูปแบบของการปกครองในเอเธนส
ผูใหญที่เปนชายทุกคนมารวมตัวกันเพื่อรวมกันอภิปรายประเด็นตางๆ และจะมีการลงคะแนนโดยการ
ยกมือ ทาสและผูหญิงมิไดมีสิทธิในการออกเสียง รูปแบบของการปกครองในลักษณะนี้ใชเวลามาก
และไมสามารถใชไดกับประชาชนจํานวนมากที่ตองมีสวนรวมในการตัดสินใจทุกครั้ง รูปแบบที่กลาว
แลว คือ ประชาธิปไตยทางตรง (ประชาชนออกเสียงลงคะแนนโดยตรงในประเด็นตางๆ) และไดมี
การแปรเปลี่ยนมาเปน ประชาธิปไตยแบบตัวแทน โดยเฉพาะในประเทศหรือสังคมที่มีประชาชน
จํานวนมาก โดยวิธีนี้ประชาชนจะออกเสียงลงคะแนนเลือกผูแทนของตน หรือเลือกนักการเมืองที่จะ
มาทําหนาที่ตัดสินใจแทนพวกเขา
ประชาธิปไตยในทรรศนะของโรเบิรต เอ ดาล คือ ระบอบการเมืองระบอบหนึ่งที่ทางรัฐบาลตอง
ตอบสนองความชอบของประชาชน ที่ถือวาเปนความเทาเทียมของการเมืองซึ่งเปนสิ่งสําคัญของ
ประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ ประชาชนตองมีโอกาสในการกําหนดความพอใจของเขา นั่นคือ
ตองประกันวาประชาชนมีเสรีภาพที่จะรวมตัวกัน มีเสรีภาพในการแสดงออก สิทธิในการลงคะแนน
มีแหลงทางเลือกของขอมูล มีเสรีภาพ มีการเลือกตั้งที่ยุติธรรม ผูนําทางการเมืองมีสิทธิในการแขงขัน
เพื่อการเลือกตั้ง และมีสถาบันในการดําเนินการตามนโยบายที่มาจากการเลือกตั้งและการแสดงออก
 10
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ของประชาชน ดังนั้น ในความคิดของดาล ประชาธิปไตยเปนเครื่องมือเพื่อการมีอิสรภาพ ซึ่งมีหลาย
มิติ กลาวคือ เปนเรื่องของ
1) การแขงขัน ซึ่งเปนการแขงขันระหวางบุคคลและระหวางกลุม (โดยเฉพาะพรรค
การเมือง)
2) การมีสวนรวมทางการเมืองในการเลือกผูนําและนักการเมือง อยางนอยโดยการ
เลือกตั้งที่ยุติธรรมที่ไมมีการละเวนกลุมใดกลุมหนึ่ง
3) เสรีภาพของประชาชนและเสรีภาพของการเมืองเปนเสรีภาพในการแสดงออก
ประชาสัมพันธทางสื่อ รวมตัวเปนกลุม เมื่อแนใจวามีการแขงขันและมีการมีสวนรวมที่ตรงไปตรงมา
ความหมายของประชาธิปไตย อาจสรุปไดโดยคําจํากัดความของเอ็ดซิโอนี ฮาลวี ที่ได
บูรณาการคําจํากัดความของนักคิดหลายคนและใหความหมายของประชาธิปไตยวาเปนระบอบการ
ปกครองที่อํานาจในการปกครองของรัฐบาลมาจากการยินยอมของประชาชนสวนใหญ การยินยอมนี้
แสดงออกโดยการดําเนินการใหประชาชนไดรับและใชอํานาจโดยสม่ําเสมอ เสรี มีการเลือกตั้งที่เปน
การแขงขันโดยผูที่เปนผูใหญทุกคนที่มีสิทธิเทาเทียมกันในการเลือกตั้ง หลักการพื้นฐานของ
ประชาธิปไตย คือ เสรีภาพของประชาชนที่รวมเสรีภาพในการพูด ไดรับขอมูล สมาคม และมีสวนรวม
ในการแขงขันทางการเมือง
อยางไรก็ตามคําวาประชาธิปไตยคอนขางเปนพลวัต เพราะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา
และตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม และยังมีการอภิปรายกันถึงความหมายที่แทจริงอยูอยาง
กวางขวาง แตมิติที่สําคัญของประชาธิปไตย ก็คือ การแขงขัน การมีสวนรวม และเสรีภาพในทาง
การเมือง เมื่อเราจะศึกษาสถานะของประชาธิปไตยของประเทศใดประเทศหนึ่ง สิ่งแรกที่ควร
พิจารณามิติ 3 ประการ ที่กลาวนี้ จึงมักมีการจัดทําตัวชี้วัดประชาธิปไตยที่รวม 3 ประเด็นนี้เสมอ
  11
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
การใชกระบวนการประชาธิปไตยเพื่อผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย การบริหาร
และทางสังคม ตลอดจนการมีความเปนธรรมมากขึ้นจัดเปนเรื่องยาก แตก็เปนที่เขาใจกันวา การเมือง
แบบประชาธิปไตยทําใหเกิดนิติธรรม เปนการสงเสริมเสรีภาพทางการเมืองและเสรีภาพของประชาชน
เกิดการเลือกตั้งไดผูจะทําหนาที่ในกระบวนการนิติบัญญัติไดอยางเสรีและเปนธรรม
การปฏิบัติที่เปนประชาธิปไตย เปนวิถีในการสงเสริมความเปนธรรมเปนการเรียกรองเพื่อใหเพิ่ม
หรือขยายประชาธิปไตย นอกเหนือจากที่เปนอยูซึ่งสังคมหลายแหงยอมรับและอาศัยขั้นตอนของ
กฎหมายเพื่อสนับสนุนแนวทางปฏิบัติเพื่อแสวงหาประชาธิปไตย และความชอบธรรมทางกฎหมายตอ
การตัดสินใจทางประชาธิปไตย
1.2 รูปแบบตางๆ ของประชาธิปไตย
1.2.1 ประชาธิปไตยทางตรง
ประชาธิปไตยทางตรง เปนระบบที่ใหประชาชนเจาของอํานาจอธิปไตยเปนผูใชอํานาจ
อธิปไตยดวยตนเองหรือรวมใชอํานาจอธิปไตย โดยมีองคประกอบสําคัญ 2 ประการ คือ
(1) ประชาชนเปนผูริเริ่ม โดยการริเริ่มนั้นตองมีสภาพบังคับใหมีการเริ่มตนกระบวนการ (2) ประชาชน
เปนผูตัดสินใจขั้นสุดทาย การขาดองคประกอบใดองคประกอบหนึ่งยอมทําใหรูปแบบการมีสวนรวม
ทางการเมืองนั้นๆ ไมอาจเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณได การตัดสินใจในขั้นสุดทายโดยประชาชน
ประชาธิปไตยมีขอดี คือ เปนวิธีสงเสริมการมีสวนรวมของบุคคลกลุม
ตางๆ เพื่อหาแนวทางแกไขความขัดแยงแทนการใชความรุนแรง
กระบวนการเปนประชาธิปไตยนํามาสูการสงเสริมสันติวิธีในชาติและระหวาง
ชาติได ประชาธิปไตยเปดโอกาสใหเกิดการมีสวนรวมอยางมีประสิทธิผล
มีการลงคะแนนเสียงโดยเทาเทียมกัน มีการสรางความเขาใจรวมกัน มีการ
ควบคุมทางนโยบาย ประชาธิปไตยนํามาสูการหลีกเลี่ยงทรราช การมีสิทธิ
เสรีภาพ มีการแสดงความคิดของตนเอง มีความอิสระทางความคิด มีการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย ปกปองความสนใจสวนบุคคล มีความเทาเทียมกัน
ทางการเมือง และประชาธิปไตยแนวใหมนํามาสูการแสวงหาเสรีภาพและ
ความเจริญ ที่สําคัญกระบวนการประชาธิปไตยนํามาสูการพัฒนาทรัพยากร
มนุษยเปนการสรางการเจริญเติบโตในดานการสรางความรับผิดชอบและ
สรางปญญา ขณะเดียวกันก็นํามาซึ่งแนวทางที่สําคัญที่สุดสําหรับประชาชน
ในการปกปองและนําเสนอความสนใจของพวกเขา
 12
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ถือเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดของประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิปไตยโดยตรงจึงเปนรูปแบบ
ที่สมบูรณที่สุดของการเมืองของพลเมือง เพราะพลเมืองเปนผูมีสวนรวมโดยตรงในการเมืองดวยการ
ลงมติตัดสินชะตาของตนเองดวยตนเองและเพื่อตนเองทุกเรื่อง โดยไมตองมีผูแทนราษฎร ปจจุบัน
มีการใชประชาธิปไตยทางตรงในเรื่องของการลงประชามติ การเสนอรางกฎหมายโดยประชาชน
การถอดถอนผูแทนรายบุคคลหรือทั้งสภา อยางไรก็ดี ดังกลาวแลวถึงแมประชาธิปไตยทางตรงจะมี
ลักษณะคอนขางสมบูรณแบบ แตในทางปฏิบัติเปนเรื่องที่เปนไปไมไดสําหรับรัฐสมัยใหมที่มี
ขนาดใหญ มีประชากรจํานวนมาก และมีโครงสรางสังคมที่สลับซับซอนที่จะใหประชาชนทุกคน
ปกครองประเทศดวยตนเอง และเปนไปไมไดในความเปนจริงที่ประชาชนทุกคนจะสามารถใชอํานาจ
อธิปไตยทั้งนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการดวยตนเองโดยตรง ดวยมีขอจํากัดในเรื่องที่ประชุมและ
เวลาในการประชุม
ดวยเหตุนี้ ประเทศสวนใหญในโลกที่ตองการใหพลเมืองมีสวนรวมในการเมืองจึงหันมา
นิยมระบอบประชาธิปไตยแบบมีผูแทนราษฎรดวย การใหราษฎรเลือกผูแทนราษฎรเขาไปทําหนาที่
ตัดสินใจบริหารบานเมืองแทนตนเอง
1.2.2 ประชาธิปไตยแบบผูแทน
ประชาธิปไตยแบบผูแทน เปนระบบที่ใหประชาชนเลือกผูแทนไปใชอํานาจอธิปไตยแทน
ตนเองถาเปนระบบรัฐสภา ประชาชนจะเลือกตั้งเฉพาะสมาชิกรัฐสภาซึ่งเปนฝายนิติบัญญัติและ
สมาชิกรัฐสภาจะไปแตงตั้งฝายบริหารเอง ถาเปนระบบประธานาธิบดี ประชาชนจะเลือกตั้งทั้งฝาย
นิติบัญญัติ และฝายบริหารดวยตนเอง ประชาธิปไตยแบบผูแทนอาจกลาวไดวาเปน ประชาธิปไตย
ทางออม อยางไรก็ดีประชาธิปไตยแบบผูแทนยังมีปญหาอยูที่วา ผูแทนที่ประชาชนเลือกเขาไปนั้น
จะทําหนาที่สมกับการเปนผูแทนของปวงชนหรือไม เพราะมักพบวาเมื่อผูแทนไดรับอํานาจ ก็จะมี
บางคนที่ใชอํานาจไปในทางที่ไมถูกตองเหมาะสมและเปนธรรม และบางครั้งเปนไปเพื่อตนเอง
หรือกลุมของตน และมีการตัดสินใจที่ประชาชนไมไดรับทราบ ทําใหรูปแบบของประชาธิปไตยอื่นๆ
มีการนํามาใชในเวลาตอๆ มา
1.2.3 ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม
ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เปนการเรียกระบอบประชาธิปไตยแบบผูแทนที่เปดโอกาส
ใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองการปกครองและในการตัดสินใจระดับตางๆ มากขึ้น มิใชวา
ประชาชนจะสามารถทําไดเพียงเลือกตั้งอยางเดียว แตยังเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมใน
กระบวนการตัดสินใจเรื่องตางๆ เชน การเปดชองทางใหประชาชนมีสวนรวมรับรูขอมูลขาวสาร
ความเคลื่อนไหว และความคืบหนาของการบริหารจัดการประเทศโดยผูที่ทําหนาที่แทนประชาชน หรือ
  13
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
การเปดโอกาสใหประชาชนรวมแสดงความคิดเห็นและใหขอมูลแกผูที่ทําหนาที่แทนตนเพื่อใช
ประกอบการตัดสินใจในเรื่องตางๆ รวมทั้ง การที่ประชาชนเขาไปมีสวนรวมในการตรวจสอบและ
ถอดถอนผูที่ทําหนาที่แทนประชาชนซึ่งขาดประสิทธิภาพ บกพรองตอหนาที่หรือไมสุจริตแลวแตกรณี
ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เกี่ยวของกับวิธีการกระจายอํานาจและทรัพยากรตางๆ ที่
ไมเทาเทียมกันอันมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน และวิธีการที่ประชาชนเหลานั้น
มีอิทธิพลตอการตัดสินใจที่มีผลกระทบตอตน ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม จึงหมายถึงการที่อํานาจ
ในการตัดสินใจไมควรเปนของกลุมคนจํานวนนอย แตอํานาจควรไดรับการจัดสรรในระหวางประชาชน
เพื่อทุกๆ คนไดมีโอกาสที่จะมีอิทธิพลตอกิจกรรมสวนรวม
หลักการหรือองคประกอบสําคัญของคําวาประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม คือ 2
1) การใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองและการบริหาร
2) เนนการกระจายอํานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตางๆ ใน
ระหวางประชาชนใหเทาเทียมกัน
3) อํานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตางๆ นั้น จะสงผลกระทบตอ
ชีวิตความเปนอยูของประชาชน
4) เพิ่มการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
5) มีความยืดหยุนได กลาวคือ มีโครงสรางการทํางานที่สามารถตรวจสอบได
มีความโปรงใส และคํานึงถึงความตองการทรัพยากรของผูมีสวนรวม
6) การมีสวนรวมของประชาชนมีทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ
7) ประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสาร กระบวนการทางนโยบายและกระบวนการ
ยุติธรรม
1.2.4 ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ
โดยทั่วไปประชาธิปไตยมักเปนไปตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดของ
ประเทศเพื่อเปนแนวทางสําหรับนักกฎหมายและการออกกฎหมายอื่นๆ รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณ
อักษรจึงเปนเครื่องประกันตอประชาชนวารัฐบาลจะปฏิบัติในแนวทางที่แนนอนและถูกตอง จุดแข็ง
ของการเปนประชาธิปไตยอยางแทจริงขึ้นกับสิทธิพื้นฐานที่แนนอนและเสรีภาพ สิทธิและเสรีภาพนี้
                                                            
2
คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. แนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา-
จักรไทย พ.ศ.2540 : ปญหา อุปสรรค และทางออก. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. 2545. หนา 15
 14
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ตองไดรับการปกปองเพื่อใหแนใจไดวาประชาธิปไตยจะประสบความสําเร็จ ในหลายประเทศ สิทธิ
เหลานั้นระบุไวในรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญยังระบุโครงสรางและหนาที่ของรัฐบาลไวดวย และให
แนวทางสําหรับการออกกฎหมายอื่นๆ
1.3 ความสําคัญของระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม หลักการ รูปแบบ และกระบวนการ
ปจจุบันมีการใหความสําคัญกับประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม และมีการเรียกรองเพื่อมีสวนรวม
ในทุกๆ ระดับของกระบวนการทางนโยบาย ทั้งนี้เพราะประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เปนการกระจาย
อํานาจ และทรัพยากรตางๆ และเปนการที่คนทุกกลุมมีอํานาจในการตัดสินใจโดยอํานาจควรไดรับ
การจัดสรรในระหวางประชาชนเพื่อทุกๆ คนไดมีโอกาสที่จะมีอิทธิพลตอกิจกรรมสวนรวม
จึงกลาวไดวาประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมจัดเปนการกระจายอํานาจ และเปนการมี
ประชาธิปไตยอยางกวางขวางของกระบวนการทางการเมืองทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ
จากคํากลาวขางตน อาจสรุปหลักการหรือองคประกอบสําคัญของคําวาประชาธิปไตยแบบ
มีสวนรวม ไดดังนี้ คือ การใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองและการบริหารมีการกระจายอํานาจใน
การตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตางๆ ในระหวางประชาชนใหเทาเทียมกัน อํานาจในการ
ตัดสินใจ และการจัดสรรทรัพยากรตางๆ นั้น จะสงผลกระทบตอชีวิต ความเปนอยูของประชาชนมีการ
เพิ่มการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน มีความยืดหยุนได กลาวคือ มีโครงสรางการทํางาน
ที่สามารถตรวจสอบไดมีความโปรงใส และคํานึงถึงความตองการทรัพยากรของผูมีสวนรวม และการ
มีสวนรวมของประชาชนมีทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ
เนื่องจากประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมใหความสําคัญอยางยิ่งตอการมีสวนรวมของประชาชน
โดยที่การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวนไดสวนเสียไดมีโอกาส
แสดงทัศนะและเขารวมในกิจกรรมตางๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน รวมทั้ง
มีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย และการตัดสินใจของรัฐ
การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ เปนการสื่อสารสองทาง
ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซึ่งประกอบไปดวย การแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมี
สวนไดสวนเสียและเปนการเสริมสรางความสามัคคีในสังคม ทั้งนี้ เพราะการมีสวนรวมของประชาชน
เปนการเพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ การลดคาใชจาย และการสูญเสียเวลา เปนการสรางฉันทามติ
และทําใหงายตอการนําไปปฏิบัติ อีกทั้ง ชวยหลีกเลี่ยงการเผชิญหนาใน “กรณีที่รายแรงที่สุด”
  15
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ชวยใหเกิดความนาเชื่อถือ ความชอบธรรม ชวยใหทราบความหวงกังวลของประชาชน และคานิยม
ของสาธารณชน รวมทั้ง เปนการพัฒนาความเชี่ยวชาญ และความคิดสรางสรรคของสาธารณชน 3
การมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญในการสรางประชาธิปไตยอยางยั่งยืน และสงเสริม
ธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีสวนรวมของประชาชน มากขึ้นเพียงใดก็จะชวยให
มีการตรวจสอบการทํางานของผูบริหาร และทําใหผูบริหาร มีความรับผิดชอบตอสังคมมากยิ่งขึ้น
อีกทั้งยังเปนการปองกันนักการเมืองจากการ กําหนดนโยบายที่ไมเหมาะสมกับสังคมนั้นๆ นอกจากนี้
การมีสวนรวมของประชาชนยังเปนการสรางความมั่นใจวาเสียงของประชาชนจะมีคนรับฟง อีกทั้ง
ความตองการหรือความปรารถนาของประชาชนก็จะไดรับการตอบสนอง
1.4 แนวคิด กระบวนการ และระดับขั้นของการมีสวนรวม
1.4.1 เงื่อนไขพื้นฐานของการมีสวนรวมของประชาชน 4
เงื่อนไขพื้นฐานของการมีสวนรวมของประชาชนมี 3 ประการ คือ
1) ตองมีอิสรภาพ หมายถึง ประชาชนมีอิสระที่จะเขารวมหรือไมก็ได การเขารวมตอง
เปนไปดวยความสมัครใจ การถูกบังคับใหรวมไมวาจะในรูปแบบใดไมถือวาเปนการมีสวนรวม
                                                            
3
เจมส แอล เครตัน. คูมือการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. แปลโดย ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท.
กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. 2543 หนา 25-28
4
ถวิลวดี บุรีกุล. การมีสวนรวม : แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการ. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. 2548. หนา 3-9
กลาวโดยสรุป ระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เปนการเปดโอกาสให
ประชาชนไดแสดงทัศนะและมีสวนในการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ที่จะมีผล
ตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนเอง นอกจากจะชวยใหการตัดสินใจของ
ผูเสนอโครงการหรือรัฐบาลมีความรอบคอบ และสอดรับกับปญหาและ
ความตองการของประชาชนมากยิ่งขึ้นแลว ยังเปนการควบคุมการ
บริหาร งานของรัฐบาลใหมีความโปรงใส ตอบสนองตอปญหา และความ
ตองการของประชาชนและมีความรับผิดชอบหรือสามารถตอบคําถามของ
ประชาชนไดอีกดวย ซึ่งเทากับเปนการสงเสริมการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยใหสมบูรณมากยิ่งขึ้นอีกดวย  
 16
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
2) ตองมีความเสมอภาค ประชาชนที่เขารวมในกิจกรรมใดจะตองมีสิทธิเทาเทียมกับ
ผูเขารวมคนอื่นๆ
3) ตองมีความสามารถ ประชาชนหรือกลุมเปาหมายจะตองมีความสามารถพอที่จะ
เขารวมในกิจกรรมนั้นๆ หมายความวา ในบางกิจกรรมแมจะกําหนดวาผูเขารวมมีเสรีภาพและเสมอภาค
แตกิจกรรมที่กําหนดไวมีความซับซอนเกินความสามารถของกลุมเปาหมาย การมีสวนรวมยอมเกิดขึ้น
ไมได มิเชนนั่น ตองเสริมสรางความสามารถของประชาชนใหมีความสามารถเขารวมได
1.4.2 องคประกอบของการมีสวนรวม
สวนองคประกอบของการมีสวนรวมมี 3 ดาน คือ
1) ตองมีวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายชัดเจน การใหประชาชนเขารวมในกิจกรรมหนึ่งๆ
จะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายที่ชัดเจนวาเปนไปเพื่ออะไร ผูเขารวมจะไดตัดสินใจถูกวาควรเขา
รวมหรือไม
2) ตองมีกิจกรรมเปาหมาย การใหประชาชนเขามีสวนรวมตองระบุลักษณะของกิจกรรม
วามีรูปแบบและลักษณะอยางไร เพื่อที่ประชาชนจะไดตัดสินใจวาควรเขารวมหรือไม
3) ตองมีบุคคลหรือกลุมเปาหมาย การใหประชาชนเขามีสวนรวมจะตองระบุกลุม
เปาหมาย อยางไรก็ตามโดยทั่วไปกลุมบุคคลเปาหมายมักถูกจํากัดโดยกิจกรรมและวัตถุประสงคของ
การมีสวนรวมอยูแลวโดยพื้นฐาน
ทั้งนี้ มักพิจารณาผูเขารวมจากกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งเปนกลุมผูอาจไดรับผลกระทบ
ทั้งทางบวก และลบ เปนผูที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ตลอดจน ผูสนใจอีกดวย
โดยแทจริงนั้นกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอาจจะไมสามารถกระทําไดในทุกๆ
ประเด็น ดังนั้น จึงมีแนวทางทั่วๆ ไปบางประการเกี่ยวกับประเด็นที่ควรใชกระบวนการมีสวนรวม
ของประชาชน ประเด็นตางๆ ที่ตองการกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ไดแก
1) การตัดสินใจและผลกระทบที่สําคัญ
2) การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอบางคนมากกวาคนอื่น
3) การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอผลประโยชนของบางคนหรือกลุมคนที่มีอยูเดิม
4) การตัดสินใจที่เกี่ยวของกับเรื่องที่มีความขัดแยงอยูกอนแลว
5) ความจําเปนเพื่อใหมีการสนับสนุนตอผลการตัดสินใจ
  17
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ดังนั้น การมีสวนรวมของประชาชนจึงมีอยูในเกือบทุกกิจกรรมของสังคมขึ้นอยูกับความ
สนใจและประเด็นในการพิจารณา แตมีเงื่อนไขพื้นฐานในการมีสวนรวมวาประชาชนตองมีอิสรภาพ
ความเสมอภาพ และความสามารถในการเขารวมกิจกรรม นอกจากนี้ การมีสวนรวมตองมี
วัตถุประสงคหรือจุดมุงหมาย ตองมีกิจกรรมเปาหมาย และตองมีกลุมเปาหมาย ทั้งนี้เพื่อให
กระบวนการมีสวนรวมของประชาชนดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด
การมีสวนรวมของประชาชน จึงเปนการกระจายโอกาสใหประชาชน
มีสวนรวมทางการเมือง และการบริหารเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องตางๆ
รวมทั้ง การจัดสรรทรัพยากรของชุมชนและของชาติ ซึ่งจะสงผลกระทบตอวิถี
ชีวิตและความเปนอยูของประชาชน โดยการใหขอมูล แสดงความคิดเห็น ให
คําแนะนําปรึกษา รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวมตลอดจนการควบคุมโดยตรง
จากประชาชน
การมีสวนรวมของประชาชนจึงเปนกระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวน
ไดสวนเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะ และเขารวมในกิจกรรมตางๆ ที่มีผลตอชีวิต
ความเปนอยูของประชาชน รวมทั้งมีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการ
พิจารณากําหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ
การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ
เปนการสื่อสารสองทาง ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซึ่งประกอบ
ไปดวยการแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียและเปนการ
เสริมสรางความสามัคคีในสังคม ทั้งนี้ เพราะการมีสวนรวมของประชาชน
เปนการเพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ การลดคาใชจาย และการสูญเสียเวลา
เปนการสรางฉันทามติ และทําใหงายตอการนําไปปฏิบัติ อีกทั้งชวยหลีกเลี่ยง
การเผชิญหนาใน ”กรณีที่รายแรงที่สุด” ชวยใหเกิดความนาเชื่อถือและ
ความชอบธรรม และชวยใหทราบความหวงกังวลของประชาชนและคานิยมของ
สาธารณชน รวมทั้งเปนการพัฒนาความเชี่ยวชาญและความคิดสรางสรรค
ของสาธารณชน
 18
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
การมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญในการสรางประชาธิปไตยอยางยั่งยืนและ
สงเสริมธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้นเพียงใดก็จะ
ชวยใหมีการตรวจสอบการทํางานของผูบริหาร และทําใหผูบริหารมีความรับผิดชอบตอสังคมมาก
ยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเปนการปองกันนักการเมืองจากการกําหนดนโยบายที่ไมเหมาะสมกับสังคมนั้นๆ
นอกจากนี้การมีสวนรวมของประชาชนยังเปนการสรางความมั่นใจวาเสียงของประชาชนจะมีคนรับฟง
อีกทั้งความตองการหรือความปรารถนาของประชาชนก็จะไดรับการตอบสนอง
วิธีการแบงระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชนอาจแบงไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับ
วัตถุประสงคและความละเอียดของการแบงเปนสําคัญ การแบงระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชน
อาจแบงไดจากระดับต่ําสุดไปหาระดับสูงสุด ออกเปน 7 ระดับ และจํานวนประชาชนที่เขามีสวนรวม
ในแตละระดับจะเปนปฏิภาคกับระดับของการมีสวนรวม กลาวคือ ถาระดับการมีสวนรวมต่ํา จํานวน
ประชาชนที่เขามีสวนรวมจะมาก และยิ่งระดับการมีสวนรวมสูงขึ้นเพียงใด จํานวนประชาชนที่เขา
มีสวนรวมก็จะลดลงตามลําดับ ระดับการมีสวนรวมของประชาชนเรียงตามลําดับจากต่ําสุดไปหา
สูงสุด ไดแก (1) ระดับการใหขอมูล (2) ระดับการเปดรับความคิดเห็นของประชาชน (3) ระดับการ
ปรึกษาหารือ (4) ระดับการวางแผนรวมกันและตัดสินใจรวมกัน (5) ระดับการรวมปฏิบัติ (6) รวม
ติดตามตรวจสอบ และ (7) ระดับการควบคุมโดยประชาชน
1) ระดับการใหขอมูล เปนระดับต่ําสุดและเปนวิธีการที่งายที่สุดของการติดตอสื่อสาร
ระหวางผูกําหนดนโยบายหรือผูวางแผนโครงการกับประชาชน เพื่อใหขอมูลแกประชาชนเกี่ยวกับการ
ตัดสินใจของผูกําหนดนโยบายหรือผูวางแผนโครงการ แตไมเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็นหรือ
เขามาเกี่ยวของใดๆ วิธีการใหขอมูลอาจกระทําไดหลายวิธี เชน การแถลงขาว การแจกขาว การ
แสดงนิทรรศการ และการทําหนังสือพิมพใหขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆ ตลอดจนการใชสื่ออื่นๆ เชน
โทรทัศน วิทยุ สื่อบุคคล และหอกระจายขาว เปนตน
อยางไรก็ดี เพื่อปองกันมิใหรัฐบาลหรือเจาหนาที่ของรัฐใชอํานาจดุลพินิจในการใหหรือ
ไมใหขอมูลดังกลาวแกประชาชน จึงควรมีขอกําหนดใหรัฐบาลหรือเจาหนาที่ของรัฐตองกระทําและ
กระทําอยางทั่วถึงดวย ยกเวนขอมูลบางประเภท เชน เรื่องเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ เปนตน
นอกจากนี้ การใหขอมูลแกประชาชนจะตองใหอยางทั่วถึง ถูกตอง เที่ยงตรง ทันการณ
เขาใจไดงายและไมมีคาใชจายมาเปนอุปสรรค ในการไดรับขอมูลนั้นๆ
2) ระดับการเปดรับความคิดเห็นจากประชาชน เปนระดับขั้นที่สูงกวาระดับแรก กลาวคือ
ผูกําหนดนโยบายหรือผูวางแผนโครงการเชิญชวนใหประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอมูลมาก
  19
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ขึ้น และประเด็นในการประเมินขอดีขอเสียชัดเจนยิ่งขึ้น เชน การสํารวจความคิดเห็นของประชาชน
เกี่ยวกับการริเริ่มโครงการตางๆ และการบรรยายใหประชาชนฟงเกี่ยวกับโครงการตางๆ แลวขอความ
คิดเห็นจากผูฟง เปนตน
อนึ่ง การรับฟงความคิดเห็นนี้ จะกระทําไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก็ตอเมื่อ
ประชาชน ผูมีสวนได สวนเสีย ไดมีขอมูลที่ถูกตองและพอเพียง
3) ระดับการปรึกษาหารือ เปนระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชนที่สูงกวาการเปดรับ
ความคิดเห็นจากประชาชน เปนการเจรจากันอยางเปนทางการระหวางผูกําหนดโยบายและผูวางแผน
โครงการและประชาชน เพื่อประเมินความกาวหนาหรือระบุประเด็นหรือขอสงสัยตางๆ เชน การจัด
ประชุม การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตลอดจนการเปดกวางรับฟงความคิดเห็น โดยใชรูปแบบตางๆ
อาทิ การสนทนากลุม และประชาเสวนา เปนตน
4) ระดับการวางแผนและตัดสินใจรวมกัน เปนระดับขั้นที่สูงกวาการปรึกษาหารือ
กลาวคือ เปนเรื่องการมีสวนรวมที่มีขอบเขตกวางมากขึ้น มีความรับผิดชอบรวมกันในการวางแผน
เตรียมโครงการ และผลที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ เหมาะสมที่จะใชสําหรับการพิจารณา
ประเด็นที่มีความยุงยากซับซอนและมีขอโตแยงมาก เชน การใชกลุมที่ปรึกษาซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิ
ในสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของ การใชอนุญาโตตุลาการเพื่อแกปญหาขอขัดแยง และการเจรจาเพื่อหาทาง
ประนีประนอมกัน การประชุมวางแผนแบบมีสวนรวม เปนอาทิ
5) ระดับการรวมปฏิบัติ เปนระดับขั้นที่สูงถัดไปจากระดับการวางแผนรวมกัน คือ เปน
ระดับที่ผูรับผิดชอบนโยบายหรือโครงการกับประชาชนรวมกันดําเนินการตามนโยบายหรือโครงการ
เปนขั้นการนํานโยบายไปปฏิบัติรวมกันดําเนินตามหรือโครงการวมกันเพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค
ที่วางไว
6) รวมติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล เปนระดับการมีสวนรวมที่มีผูเขารวมนอย แตมี
ประโยชนที่ผูที่เกี่ยวของหรือไดรับผลกระทบสามารถมาคอยติดตามการดําเนินกิจกรรมนั้นๆ ได
รูปแบบของการติดตามตรวจสอบหรือประเมินผล อาจอยูในรูปแบบของการจัดตั้งคณะกรรมการ
ติดตาม ประเมินผลที่มาจากหลายฝาย การสอบถามประชาชน โดยการทําการสํารวจเพื่อใหประชาชน
ประเมิน การประเมินผลนี้ มีความสําคัญมาก เพราะจะมีผลตอการพิจารณาจัดสรรประโยชน การยุติ
หรือคงไว ตลอดจนปรับปรุงนโยบายหรือโครงการ
7) ระดับการควบคุมโดยประชาชน เปนระดับสูงสุดของการมีสวนรวมโดยประชาชนเพื่อ
แกปญหาขอขัดแยงที่มีอยูทั้งหมด เชน การลงประชามติ เปนตน ขอสังเกตเกี่ยวกับการลงประชามติ
 20
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
มี 2 ประการ คือ ประการแรก การลงประชามติจะสะทอนถึงความตองการของประชาชนไดดี
เพียงใด อยางนอยขึ้นอยูกับความชัดเจนของประเด็นที่จะลงประชามติและการกระจายขาวสาร
เกี่ยวกับขอดีขอเสียของประเด็นดังกลาวใหประชาชนเขาใจอยางสมบูรณและทั่วถึง และประการที่สอง
ในประเทศที่มีการพัฒนาทางการเมืองแลว ผลของการลงประชามติจะมีผลบังคับใหรัฐบาลตอง
ปฏิบัติตาม แตสําหรับกรณีของประเทศไทย เคยปรากฏตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 ผลของการลงประชามติ เปนเพียงขอแนะนําสําหรับรัฐบาลเทานั้น ไมมีผลบังคับ
ใหรัฐบาลตองปฏิบัติตามแตอยางใด (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา
214) และในชวงเวลาของการใชรับธรรมนูญฉบับนี้มิไดเคยมีการดําเนินการลงประชามติเลย
ในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ระบุวาเมื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จ
สภารางรัฐธรรมนูญไดเผยแพรใหประชาชนทราบและจัดใหมีการออกเสียงประชามติเพื่อใหความ
เห็นชอบแกรางรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ อันเปนการออกเสียงประชามติเปนครั้งแรกของประเทศ ในวันที่
19 สิงหาคม 2549 การออกเสียงลงประชามติ ปรากฏผลวาประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งโดยเสียงขางมาก
ของผูมาออกเสียงประชามติเห็นชอบใหนํารางรัฐธรรมนูญฉบับใหมมาใชบังคับ หลังจากนั้น
ประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติจึงนํารางรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อทรงลง
พระปรมาภิไธยใหประกาศใชเปนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยสืบไป ทรงพระราชดําริวา สมควร
พระราชทานพระบรมราชานุมัติตามความเห็นชอบเห็นดีของมหาชน
อนึ่ง ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดใหมี
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ ในมาตรา 138 โดยเปน
พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ โดยใหคณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทํารางพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติเพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ
ทั้งนี้ ในมาตรา 165 ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ระบุวา
ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ โดยการจัดใหมีการออกเสียงประชามติ
ใหกระทําไดในเหตุ ดังตอไปนี้
1.1) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นวากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชนไดเสีย
ของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษา
ประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหมีการออกเสียง
ประชามติได
 
  21
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
1.2) ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติใหมีการออกเสียงประชามติ
การออกเสียงประชามติตาม (1) หรือ (2) อาจจัดใหเปนการออกเสียงเพื่อมีขอยุติ
โดยเสียงขางมากของผูมีสิทธิออกเสียงประชามติในปญหาที่จัดใหมีการออกเสียงประชามติ หรือเปน
การออกเสียงเพื่อใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีก็ได เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะ
การออกเสียงประชามติตองเปนการใหออกเสียงเห็นชอบหรือไมเห็นชอบในกิจการ
ตามที่จัดใหมีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแยงตอ
รัฐธรรมนูญหรือเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคล จะกระทํามิได
นอกจากนี้ ในระดับทองถิ่นยังสามารถจัดใหมีการลงประชามติไดดังระบุในมาตรา 287
ที่วาประชาชนในทองถิ่นมีสิทธิมีสวนรวมในการบริหารกิจการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองจัดใหมีวิธีการที่ใหประชาชนมีสวนรวมดังกลาวไดดวย ทั้งนี้ในกรณี
ที่การกระทําขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจะมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน
ในทองถิ่นในสาระสําคัญ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองแจงขอมูลรายละเอียดใหประชาชนทราบ
กอนกระทําการเปนเวลาพอสมควร และในกรณีที่เห็นสมควรหรือไดรับการรองขอจากประชาชนผูมี
สิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นกอนการกระทํานั้น
หรืออาจจัดใหประชาชนออกเสียงประชามติเพื่อตัดสินใจก็ได ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
ดังนั้น ประชามติในรัฐธรรมนูญจึงเปนทั้งแบบที่มีผลบังคับใชและเปนการปรึกษาหารือ
ประชาชนก็ได ซึ่งตางจากอดีต และใชไดในทุกระดับของการบริหารราชการแผนดิน ทั้งยังเปนโอกาสที่
จะชวยตัดสินยุติปญหาตางๆไดหากทุกฝายยอมรับกติกานี้ แตตองมีกระบวนการใหขอมูลที่ถูกตอง
เหมาะสม พอเพียงและทันการณ
ทั้งนี้ การที่ประชาชนจะมีสวนรวมในลําดับสูงขึ้นๆไปได จะตองมีสวนรวมในลําดับลางๆ
กอน จึงจะทําใหมีสวนรวมมีประสิทธิผล เพราะหากปราศจากขอมูลประชาชนจะทําหนาที่รวมให
ความเห็น ปรึกษาหารือ รวมตัดสินใจ ติดตาม ตรวจสอบไดอยางไร ในการจะแสดงความคิดเห็น
นอกจากนี้ การใหความคิดเห็นที่เหมาะสมอาจดําเนินการหลังจากไดมีเวลาศึกษาขอมูลมาแลว
รูปแบบการรับฟงความคิดเห็น อาทิ การสํารวจโดยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ การรับ
ฟงผานเวทีประชาชน ผานวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ โทรศัพท จดหมายหรือกลองรับความคิดเห็น
เปนตน เพื่อชวยใหเขาใจระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชน ความแตกตางและเครื่องมือสําคัญที่ใช
ในแตละระดับไดงายยิ่งขึ้น จึงไดนําเสนอในรูปตอไปนี้และแสดงระดับการมีสวนรวมของประชาชนไว
ดวยแลว
 22
สถาบันพระปกเกลา
“การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม” 
ต่ํา
ระดับของ
การมีสวนรวม
สูง
มาก
จํานวนประชาชน
ที่เกี่ยวของ
นอย
มาก
การวางแผนและตัดสินใจรวมกัน
การมีสวนรวมที่กวางขึ้น มีความรับผิดชอบรวมกันในการวางแผน
และผลจะที่เกิดขึ้น ใชสําหรับประเด็นที่ซับซอนและมีขอโตแยงมาก
เชน กลุมที่ปรึกษา การเจรจา การมีอนุญาโตตุลาการ
การประนีประนอม การประชุมวางแผน
การปรึกษาหารือ
การเจรจากันอยางเปนทางการระหวางผูวางแผนโครงการและประชาชน
เพื่อประเมินความกาวหนาหรือระบุประเด็นหรือขอสงสัยตางๆ เชน การจัดประชุม
การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การเปดกวางรับขอคิดเห็น การประชาเสวนา
การรวมปฏิบัติ
ดําเนินกิจกรรมรวมกัน
รูปที่ 1 แสดงระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชน
รวมติดตาม ตรวจสอบ
โดยประชาชนมีสวนรวมในการติดตาม ตรวจสอบ
การควบคุมโดยประชาชน
ระดับสูงสุดของการมีสวนรวม /
แกปญหาที่ขัดแยงอยูทั้งหมด
เชน การลงประชามติ
การเปดรับความคิดเห็นจากประชาชน
ผูวางแผนโครงการเชิญชวนใหประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอมูลมากขึ้นและ
เพื่อใหประเด็นในการประเมินผลชัดเจนยิ่งขึ้น เชน การสํารวจ การบรรยายใหประชาชนฟง
ถึงกิจกรรม แลวรับขอคิดเห็นและการใชสื่อตางๆ เปนชองทางรับฟง
การใหขอมูล
เปนวิธีการที่งายที่สุดของการติดตอสื่อสารระหวางผูวางแผนโครงการและประชาชนเพื่อใหขอมูล
แกประชาชนเกี่ยวกับการตัดสินใจของผูวางแผนโครงการหรือกิจกรรมนั้นๆ แตไมเปดโอกาสให
มีการแสดงขอคิดเห็นหรือเขามาเกี่ยวของใดๆ เชน การแถลงขาว การแจกขาว การแสดงนิทรรศการ
การทําหนังสือพิมพ ใหขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรม การใชสื่อตางๆ
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร
คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร

Contenu connexe

Tendances

หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2Wariya Pula
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวChainarong Maharak
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...Totsaporn Inthanin
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...Suricha Phichan
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อrainacid
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.คkrupornpana55
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนโครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนAim Itsarisari
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มeeii
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 

Tendances (20)

หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2หนังสือรับรองเงินเดือน2
หนังสือรับรองเงินเดือน2
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
หนังสือขออนุเคราะห์ประชาสัมพันธ์ รับสมัครสมาชิกชมรมเครือข่ายนักวิจัยและพัฒนาส...
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
 
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57  พ.ค
1กำหนดการสอนพรพนาวิทย์เพิ่มเติม 1 57 พ.ค
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนโครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
โครงงานเปรียบเทียบเครื่องดนตรีไทยกับเครื่องดนตรีในประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียน
 
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่มโครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
โครงงานน้ำยาปรับผ้านุ่ม
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 

En vedette

Php 5 Power Programming
Php 5 Power ProgrammingPhp 5 Power Programming
Php 5 Power Programmingkansas
 
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolAppreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamolDental Faculty,Phayao University.
 
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้นอัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้นDental Faculty,Phayao University.
 
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่Dental Faculty,Phayao University.
 
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขหลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขDental Faculty,Phayao University.
 
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolสุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamolDental Faculty,Phayao University.
 
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะสุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะDental Faculty,Phayao University.
 
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบokแผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบokDental Faculty,Phayao University.
 
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สากระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สาDental Faculty,Phayao University.
 
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-Dental Faculty,Phayao University.
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกDental Faculty,Phayao University.
 
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...Dental Faculty,Phayao University.
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามลDental Faculty,Phayao University.
 

En vedette (18)

Php 5 Power Programming
Php 5 Power ProgrammingPhp 5 Power Programming
Php 5 Power Programming
 
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolAppreciative inquiry in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
Appreciative inquiry in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
 
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้นอัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
อัตชีวประวัติ อุทัยวรรณ กาญจนกามล 56 สั้น
 
A Social Vaccine for Globalization.Full paper.
A Social Vaccine for Globalization.Full paper.A Social Vaccine for Globalization.Full paper.
A Social Vaccine for Globalization.Full paper.
 
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwanนวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
นวัตกรสังคม FAME model Uthaiwan
 
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
55 05-01 การศึกษาทุนทางสังคมกระบี่
 
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุขหลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
หลักสูตรการเสริมสร้างพลังชุมชน สำหรับอสม.และ เจ้าหน้าที่ สาธารณสุข
 
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamolสุนทรียปรัศนี in facilitator's world  uthaiwan kanchanakamol
สุนทรียปรัศนี in facilitator's world uthaiwan kanchanakamol
 
Andrea
AndreaAndrea
Andrea
 
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะสุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
 
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบokแผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
แผนที่ ชุมชน 3 ชุก 3 แบบok
 
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สากระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
กระบวนการ 4 ค จัดทำแผนที่เดินดิน บ้านแม่สา
 
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
สุนทรียภาพแห่งการเรียนรู้ จากครูสู่นักเรียน-
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวกการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก
 
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนาAi ที่ป่าไหน่ พัฒนา
Ai ที่ป่าไหน่ พัฒนา
 
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
การปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ การให้บริการสุขภาพสู่ความเป็นเลิศโดยการมีส่วนร่วมขอ...
 
Ai ที่บางน้ำผึ้ง
Ai ที่บางน้ำผึ้งAi ที่บางน้ำผึ้ง
Ai ที่บางน้ำผึ้ง
 
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามลแผนที่เดินดิน   อุทัยวรรณ กาญจนกามล
แผนที่เดินดิน อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 

Similaire à คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุFURD_RSU
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...weeraboon wisartsakul
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองpailinsarn
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 

Similaire à คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร (20)

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง จักราวุธ คำทวี ยกร่าง ปรับแก้แล้วเมื่อ ๒๙ ส.ค.๕๗
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
123456
123456123456
123456
 
8.1
8.18.1
8.1
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
1047
10471047
1047
 
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
ทุนทางสังคมกับการพัฒนาเมือง โดย ศ.ดร.อานันท์ กาญจนพันธ์ุ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
6.1
6.16.1
6.1
 
Soc
SocSoc
Soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด aเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด a
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
รายงานการศึกษา “บทบาทของภาคประชาสังคมในการคุ้มครองสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเ...
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
พัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมืองพัฒนาทางการเมือง
พัฒนาทางการเมือง
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 

Plus de Dental Faculty,Phayao University.

สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...
สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...
สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...Dental Faculty,Phayao University.
 
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณเพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณDental Faculty,Phayao University.
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามลการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามลDental Faculty,Phayao University.
 
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมการอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมDental Faculty,Phayao University.
 

Plus de Dental Faculty,Phayao University. (6)

Globalization Vaccine for Marginalize pelple in Health
Globalization Vaccine for Marginalize pelple in HealthGlobalization Vaccine for Marginalize pelple in Health
Globalization Vaccine for Marginalize pelple in Health
 
สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...
สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...
สุนทรียปรัศนี :กระบวนการพัฒนาชุมชน องค์กร และทีมงานโดยใช้ศิลปะในการตั้งคำถามท...
 
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณเพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
เพลงซอล้านนา คนซุกยู้ อุทัยวรรณ
 
A Social Vaccine for Globalization.
A Social Vaccine for Globalization.A Social Vaccine for Globalization.
A Social Vaccine for Globalization.
 
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามลการเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก  อุทัยวรรณ กาญจนกามล
การเข้าถึงชุมชนในเชิงบวก อุทัยวรรณ กาญจนกามล
 
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมการอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
 

คู่มือ นวัตกรสังคม เนื้อหาหลักสูตร

  • 1.   1 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  คํานํา  การพัฒนาในปจจุบันมักเปนเรื่องของการแยกสวน และประชาชนมิไดมีสวนรวมอยางแทจริง นําไปสูการเกิดความขัดแยงในที่สุด สังคมจะพัฒนาและมีความยั่งยืนยาวนานได ไมใชแคมีทรัพยากรธรรมชาติ ทุนทางเศรษฐกิจ หรือแนวคิดในเชิงการเมืองที่ดีเทานั้น แตยังหมายถึงการมีตนทุนทางสังคมที่สงเสริมใหชุมชนหรือ สังคม สามารถนําทรัพยากรตางๆ มาใชไดอยางมีประสิทธิภาพ แนวคิดทุนทางสังคมกลายเปนแนวคิดที่ไดรับความนิยมและเปนปจจัยที่สําคัญในการสราง ความแข็งแกรงใหกับประชาธิปไตย โดยรูปแบบบางประการของทุนทางสังคมนั้นกอใหเกิดผลดี ตอประชาธิปไตยและความเขมแข็งของสังคม ดังนั้นเพื่อเสริมสรางกระบวนการมีสวนรวมใหเกิดขึ้นอยางเปนรูปธรรม สถาบันพระปกเกลา ซึ่งเปนสถาบันวิชาการในกํากับของประธานรัฐสภาที่มีพันธกิจหลักในการพัฒนาประชาธิปไตยจึงได ออกแบบรูปแบบการมีสวนรวมโดยใหมีกลุมประชาชนที่อาสาสมัครมารวมทํางาน ชวยคนหาทุนทาง สังคม ซึ่งเปนสิ่งที่ดีๆ ในสังคมนั้นๆ รวมกับนักวิจัย และใชเปนขอมูลประกอบการจัดทําแผนพัฒนา ชุมชนอยางมีสวนรวม เพื่อนําไปสูการพัฒนาอยางยั่งยืน อันเปนการเสริมสรางประชาธิปไตยแบบ มีสวนรวมนั่นเอง เอกสารนี้จัดทําขึ้น เพื่อเปนเอกสารประกอบการเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลง ชุมชน หรือนวัตกรสังคม ซึ่งถือวาเปนผูที่เสียสละเพื่อสังคมที่ดี และเปนแบบอยางในการพัฒนาชุมชน และสังคมของชาติสืบไป อนึ่ง เอกสารนี้สําเร็จไดดวยความชวยเหลือของคุณทวิติยา สินธุพงศ และคุณกันธรัตน นาคศรี ซึ่งผูจัดทําขอขอบคุณมา ณ ที่นี้ สําหรับขอบกพรองที่อาจมี ผูจัดทําขอนอมรับเพื่อการ ปรับปรุงตอไป ดร.ถวิลวดี บุรีกุล ทพ.อุทัยวรรณ กาญจนกามล รศ.ดร.ทวีป ชัยสมภพ นางสาวสุธิดา แสงเพชร
  • 3.   3 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  สารบัญ หนา สวนที่ 1 5 บทที่ 1 ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม 7 1.1 ประชาธิปไตยในบริบทสากล กําเนิดคุณคาและหลักการ 8 1.2 รูปแบบตางๆ ของประชาธิปไตย 11 1.3 ความสําคัญของระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม หลักการ รูปแบบและกระบวนการ 14 1.4 แนวคิด กระบวนการ และระดับขั้นของการมีสวนรวม 15 บทที่ 2 การใชเทคโนโลยีของการมีสวนรวมในการคนหาทุนทางสังคม 25 2.1 การประชุมปฏิบัติการอยางมีสวนรวม 25 2.2 การสนทนาแบบมีสวนรวม 27 2.3 สุนทรียปรัศนี 27 2.4 แผนที่เดินดิน 35 สวนที่ 2 39 บทที่ 3 ทุนทางสังคม : ความหมายและองคประกอบ 41 3.1 ทุนทางสังคมคืออะไร 41 3.2 ทุนทางสังคมประกอบไปดวยอะไรบาง 43 3.3 ทุนทางสังคมมีประโยชนอยางไร 44 3.4 จะคนหาทุนทางสังคมไดอยางไร 45 3.5 ใครคือผูบอกวามีทุนทางสังคมเทาไร อยูที่ไหน 45 3.6 ไดทุนทางสังคมแลวจะเอาไปทําอะไร 47
  • 4.  4 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  สารบัญ (ตอ) หนา สวนที่ 3 49 บทที่ 4 การคนหาขุมพลังชุมชนและสินทรัพยชุมชน 51 4.1 ขุมพลังชุมชนคืออะไร 51 4.2 การทําแผนที่สินทรัพยชุมชน 51 4.3 จะจัดทําทําเนียบสินทรัพยชุมชนไดอยางไร 51 สวนที่ 4 63 บทที่ 5 นวัตกรสังคมกับชุมชนยั่งยืน 65 5.1 ความหมาย 65 5.2 องคประกอบของชุมชนยั่งยืน 66 5.3 บทบาทสําคัญของนวัตกรสังคมเพื่อการสรางเสริม “ชุมชนยั่งยืน” 66 บทที่ 6 การวางแผนปฏิบัติการโดยใชทุนทางสังคมเปนฐาน 69 6.1 การนําขอมูลทุนทางสังคมไปใช 69 บทที่ 7 การประเมินผลและถอดบทเรียน 73 7.1 การประเมินผลโครงการ 73 7.2 การถอดบทเรียนจากผลการประเมิน 75 7.3 การถอดบทเรียนดวย AAR 76 บรรณานุกรม 77
  • 7.   7 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  บทที่ 1 ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม บทนํา 1 ถึงแมประเทศไทยมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองมาเปนระบอบประชาธิปไตยมากวา 70 ปแลว แตตลอดระยะเวลาของการเปนประชาธิปไตยที่ผานมานั้น ไดมีการเบียดแทรกของการเปนเผด็จการ เปนระยะๆ และบางครั้งดํารงอยูตอเนื่องเปนเวลานาน มีการปฏิวัติรัฐประหารหลายครั้งโดยกลุมบุคคล ตางๆ โดยอางความเดือดรอนของประชาชนและการไมเปนประชาธิปไตย ทําใหในอดีตประชาชน ชาวไทยแทบมิไดเขาไปมีบทบาทหรือมีสวนรวมในทางการเมืองแตอยางใด อํานาจสวนใหญตกอยูใน กํามือของกลุมบุคคลบางกลุม อยูที่ฝายบริหารและขาราชการชั้นผูใหญ อํานาจทางการเมืองที่ ประชาชนไดรับเปนเพียงการมีสิทธิเลือกตั้งเทานั้น และบางครั้งการเลือกตั้งดังกลาวก็ยังมีขอสงสัย ในความบริสุทธิ์ยุติธรรมอีกดวย ในที่สุด กระแสการเปนประชาธิปไตยของโลกไดเขาสูประเทศไทยทําใหประชาชนรูถึงการที่ตน ควรมีสิทธิ เสรีภาพและมีสวนรวมในทางการเมืองมากขึ้น เพื่อผลักดันใหเกิดความเปนประชาธิปไตย เต็มใบเสียที โดยประชาชนเชื่อวาเปนระบอบการปกครองที่จะนําพวกเขาไปสูการมีชีวิตความเปนอยูที่ สันติสุขตลอดไป กลุมประชาชนจึงเรียกรองเพื่อการไดมาซึ่งประชาธิปไตยเต็มใบหลายครั้ง อาทิ เหตุการณตุลาคม พ.ศ.2514, ตุลาคม พ.ศ.2516 และพฤษภาคม พ.ศ.2535 แตในที่สุดการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองครั้งสําคัญเมื่อพฤษภาคม 2535 นั้น นํามาสูการปฏิรูประบบการเมือง ของไทยอยางเห็นไดชัด โดยการเรียกรองของประชาชนที่จะเขามามีสวนรวมในทางการเมือง กระบวนการตางๆ ของการกําหนดนโยบายของรัฐ และอื่นๆ ไดรับการคํานึงถึงจนในที่สุดไดนํามาสู การที่ประเทศไทยไดมีระบบการเมืองการปกครองที่จัดวาเปนประชาธิปไตยมากขึ้น และเปน “ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม” เนื่องจากมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ที่มีเจตนารมณอยางชัดเจนในการคุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และสงเสริมการ มีสวนรวมของประชาชน ตลอดจนสรางระบบการตรวจสอบอํานาจรัฐ และกอใหเกิดเสถียรภาพทาง การเมืองเพื่อความยั่งยืนของประชาธิปไตย ซึ่งดวยสิทธิเสรีภาพและการเขาใจถึงสิทธิของการ มีสวนรวมของตนเอง ประชาชนจึงสามารถตรวจสอบ และเรียกรองใหผูมีอํานาจปฏิบัติตามนโยบาย                                                              1 บวรศักดิ์ อุวรรณโณ และ ถวิลวดี บุรีกุล. ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. หนา 1-15.
  • 8.  8 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ตางๆ ได ซึ่งแตกตางจากอดีตกาลอยางชัดเจนโดยหลายมาตราในรัฐธรรมนูญฉบับนี้ไดมีการนําไป ปฏิบัติแลว แตหลายมาตราก็ยังมิไดนําไปปฏิบัติ อยางไรก็ดี ประชาธิปไตยของไทยก็ถูกเบียดแทรกดวยการปฏิวัติอีกครั้งหนึ่งเมื่อวันที่ 19 กันยายน 2549 และมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมจนนํามาสูการลงประชามติรับรางรัฐธรรมนูญ เมื่อวันที่ 19 สิงหาคม 2550 โดยมีประชาชนรอยละ 57.81 เห็นชอบกับรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ประเทศ ไทยจึงมีรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ที่บังคับใชเมื่อ 24 สิงหาคม 2550 (ซึ่งกอนหนานั้นมีรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2549) ออกมาใชกอน และกําหนดใหมีสภารางรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2550 ก็ไดมีสาระสําคัญ คือ คุมครอง สงเสริม ขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนอยางเต็มที่ ลดการผูกขาดอํานาจรัฐ และเพิ่ม อํานาจใหกับประชาชน ทําการเมืองใหมีความโปรงใส มีคุณภาพและจริยธรรม ตลอดจนทําใหองคกร ตรวจสอบมีความอิสระ เขมแข็ง และทํางานอยางมีประสิทธิภาพ ไมตกอยูใตอํานาจฝายการเมือง ดังนั้น รัฐธรรมนูญฉบับนี้ยังขยายสิทธิของประชาชนในหลายดานและคงความสําคัญของการ มีสวนรวมของประชาชนจนกําหนดไวในสวนที่ 10 แนวนโยบายดานการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเฉพาะ 1.1 ประชาธิปไตยในบริบทสากล กําเนิดคุณคา และหลักการ 1.1.1 ความหมายของประชาธิปไตย คําวา ”ประชาธิปไตย” นั้นไมมีความหมายที่แนนอนและเปนสากล คําจํากัดความของ ประชาธิปไตยมักเนนที่คุณภาพ กระบวนการ และสถาบันประชาธิปไตย ประชาธิปไตยมีหลาย ประเภทแตกตางกันไปตามแนวทางการปฏิบัติ ผลที่ไดรับ ความเขาใจ ประสบการณ ความเชื่อของ ผูศึกษาเรื่องประชาธิปไตยและประวัติศาสตรของแตละประเทศ ซึ่งสิ่งเหลานี้มักถูกนํามาบูรณาการเพื่อ สรางคําจํากัดความของคําวา ประชาธิปไตยที่มีคุณคาและเหมาะตอการนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน ประชาธิปไตยไมไดเปนเรื่องของสถาบันหนึ่งๆ หรือเปนการรวมสถาบันตางๆ แตประชาธิปไตย ในประเทศหนึ่งๆ เปนการรวมเรื่องของการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ ปจจัยตางๆ ที่มีอิทธิพลอยาง มากตอประชาธิปไตย คือ ประวิติศาสตร วัฒนธรรม และ ประเพณี ดังนั้น การเริ่มศึกษาเรื่องของประชาธิปไตยจึงควรเริ่มจากความหมายที่มีนักวิชาการกลาวถึงไว กอนเพื่อความเขาใจของผูอาน
  • 9.   9 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ประชาธิปไตย มาจากภาษากรีก คําวา demos หมายถึง ประชาชน และ kratos หมายถึง อํานาจหรือพลัง ประชาธิปไตยเปนเรื่องของการจัดการรัฐหรือประเทศดวยตนเอง ตรงขามกับคํา ตางๆ ดังนี้ 1) การปกครองโดยคนคนเดียว (monarchy) ซึ่ง mono คือ บุคคลคนเดียว เชน กษัตริย หรือผูมีอํานาจ 2) การปกครองโดยกลุมคน หรือคนสวนนอย 3) การปกครองโดยคนรวย หรือขุนนาง คําวา “ประชาธิปไตย” อาจตีความไปหลายทาง บางคนอาจเนนไปที่ประชาธิปไตยทาง การเมือง ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ หรือประชาธิปไตยทางสังคม ประชาธิปไตยในแนวคิดของ Joseph Schumpeter เปนระบบการเมืองที่มีการเลือกตั้งอยางเสรี ซึ่งไดสรางระบบการตรวจสอบได ผูปกครองมาจากการลงคะแนนของมวลชน ในปจจุบันบริบท ที่เราสนใจมักอยูที่ประชาธิปไตยทางการเมืองซึ่งเปนที่ยอมรับรวมกัน เปนการคงอยูของสิทธิทาง การเมืองและเสรีภาพของพลเมือง รวมถึงการแขงขันระหวางกลุมตางๆ ดังกลาวแลวคําวาประชาธิปไตยเริ่มจากประเทศกรีก ซึ่งเปนรูปแบบของการปกครองในเอเธนส ผูใหญที่เปนชายทุกคนมารวมตัวกันเพื่อรวมกันอภิปรายประเด็นตางๆ และจะมีการลงคะแนนโดยการ ยกมือ ทาสและผูหญิงมิไดมีสิทธิในการออกเสียง รูปแบบของการปกครองในลักษณะนี้ใชเวลามาก และไมสามารถใชไดกับประชาชนจํานวนมากที่ตองมีสวนรวมในการตัดสินใจทุกครั้ง รูปแบบที่กลาว แลว คือ ประชาธิปไตยทางตรง (ประชาชนออกเสียงลงคะแนนโดยตรงในประเด็นตางๆ) และไดมี การแปรเปลี่ยนมาเปน ประชาธิปไตยแบบตัวแทน โดยเฉพาะในประเทศหรือสังคมที่มีประชาชน จํานวนมาก โดยวิธีนี้ประชาชนจะออกเสียงลงคะแนนเลือกผูแทนของตน หรือเลือกนักการเมืองที่จะ มาทําหนาที่ตัดสินใจแทนพวกเขา ประชาธิปไตยในทรรศนะของโรเบิรต เอ ดาล คือ ระบอบการเมืองระบอบหนึ่งที่ทางรัฐบาลตอง ตอบสนองความชอบของประชาชน ที่ถือวาเปนความเทาเทียมของการเมืองซึ่งเปนสิ่งสําคัญของ ประชาธิปไตย ความรับผิดชอบ ประชาชนตองมีโอกาสในการกําหนดความพอใจของเขา นั่นคือ ตองประกันวาประชาชนมีเสรีภาพที่จะรวมตัวกัน มีเสรีภาพในการแสดงออก สิทธิในการลงคะแนน มีแหลงทางเลือกของขอมูล มีเสรีภาพ มีการเลือกตั้งที่ยุติธรรม ผูนําทางการเมืองมีสิทธิในการแขงขัน เพื่อการเลือกตั้ง และมีสถาบันในการดําเนินการตามนโยบายที่มาจากการเลือกตั้งและการแสดงออก
  • 10.  10 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ของประชาชน ดังนั้น ในความคิดของดาล ประชาธิปไตยเปนเครื่องมือเพื่อการมีอิสรภาพ ซึ่งมีหลาย มิติ กลาวคือ เปนเรื่องของ 1) การแขงขัน ซึ่งเปนการแขงขันระหวางบุคคลและระหวางกลุม (โดยเฉพาะพรรค การเมือง) 2) การมีสวนรวมทางการเมืองในการเลือกผูนําและนักการเมือง อยางนอยโดยการ เลือกตั้งที่ยุติธรรมที่ไมมีการละเวนกลุมใดกลุมหนึ่ง 3) เสรีภาพของประชาชนและเสรีภาพของการเมืองเปนเสรีภาพในการแสดงออก ประชาสัมพันธทางสื่อ รวมตัวเปนกลุม เมื่อแนใจวามีการแขงขันและมีการมีสวนรวมที่ตรงไปตรงมา ความหมายของประชาธิปไตย อาจสรุปไดโดยคําจํากัดความของเอ็ดซิโอนี ฮาลวี ที่ได บูรณาการคําจํากัดความของนักคิดหลายคนและใหความหมายของประชาธิปไตยวาเปนระบอบการ ปกครองที่อํานาจในการปกครองของรัฐบาลมาจากการยินยอมของประชาชนสวนใหญ การยินยอมนี้ แสดงออกโดยการดําเนินการใหประชาชนไดรับและใชอํานาจโดยสม่ําเสมอ เสรี มีการเลือกตั้งที่เปน การแขงขันโดยผูที่เปนผูใหญทุกคนที่มีสิทธิเทาเทียมกันในการเลือกตั้ง หลักการพื้นฐานของ ประชาธิปไตย คือ เสรีภาพของประชาชนที่รวมเสรีภาพในการพูด ไดรับขอมูล สมาคม และมีสวนรวม ในการแขงขันทางการเมือง อยางไรก็ตามคําวาประชาธิปไตยคอนขางเปนพลวัต เพราะมีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม และยังมีการอภิปรายกันถึงความหมายที่แทจริงอยูอยาง กวางขวาง แตมิติที่สําคัญของประชาธิปไตย ก็คือ การแขงขัน การมีสวนรวม และเสรีภาพในทาง การเมือง เมื่อเราจะศึกษาสถานะของประชาธิปไตยของประเทศใดประเทศหนึ่ง สิ่งแรกที่ควร พิจารณามิติ 3 ประการ ที่กลาวนี้ จึงมักมีการจัดทําตัวชี้วัดประชาธิปไตยที่รวม 3 ประเด็นนี้เสมอ
  • 11.   11 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  การใชกระบวนการประชาธิปไตยเพื่อผลักดันใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางกฎหมาย การบริหาร และทางสังคม ตลอดจนการมีความเปนธรรมมากขึ้นจัดเปนเรื่องยาก แตก็เปนที่เขาใจกันวา การเมือง แบบประชาธิปไตยทําใหเกิดนิติธรรม เปนการสงเสริมเสรีภาพทางการเมืองและเสรีภาพของประชาชน เกิดการเลือกตั้งไดผูจะทําหนาที่ในกระบวนการนิติบัญญัติไดอยางเสรีและเปนธรรม การปฏิบัติที่เปนประชาธิปไตย เปนวิถีในการสงเสริมความเปนธรรมเปนการเรียกรองเพื่อใหเพิ่ม หรือขยายประชาธิปไตย นอกเหนือจากที่เปนอยูซึ่งสังคมหลายแหงยอมรับและอาศัยขั้นตอนของ กฎหมายเพื่อสนับสนุนแนวทางปฏิบัติเพื่อแสวงหาประชาธิปไตย และความชอบธรรมทางกฎหมายตอ การตัดสินใจทางประชาธิปไตย 1.2 รูปแบบตางๆ ของประชาธิปไตย 1.2.1 ประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิปไตยทางตรง เปนระบบที่ใหประชาชนเจาของอํานาจอธิปไตยเปนผูใชอํานาจ อธิปไตยดวยตนเองหรือรวมใชอํานาจอธิปไตย โดยมีองคประกอบสําคัญ 2 ประการ คือ (1) ประชาชนเปนผูริเริ่ม โดยการริเริ่มนั้นตองมีสภาพบังคับใหมีการเริ่มตนกระบวนการ (2) ประชาชน เปนผูตัดสินใจขั้นสุดทาย การขาดองคประกอบใดองคประกอบหนึ่งยอมทําใหรูปแบบการมีสวนรวม ทางการเมืองนั้นๆ ไมอาจเปนประชาธิปไตยที่สมบูรณได การตัดสินใจในขั้นสุดทายโดยประชาชน ประชาธิปไตยมีขอดี คือ เปนวิธีสงเสริมการมีสวนรวมของบุคคลกลุม ตางๆ เพื่อหาแนวทางแกไขความขัดแยงแทนการใชความรุนแรง กระบวนการเปนประชาธิปไตยนํามาสูการสงเสริมสันติวิธีในชาติและระหวาง ชาติได ประชาธิปไตยเปดโอกาสใหเกิดการมีสวนรวมอยางมีประสิทธิผล มีการลงคะแนนเสียงโดยเทาเทียมกัน มีการสรางความเขาใจรวมกัน มีการ ควบคุมทางนโยบาย ประชาธิปไตยนํามาสูการหลีกเลี่ยงทรราช การมีสิทธิ เสรีภาพ มีการแสดงความคิดของตนเอง มีความอิสระทางความคิด มีการ พัฒนาทรัพยากรมนุษย ปกปองความสนใจสวนบุคคล มีความเทาเทียมกัน ทางการเมือง และประชาธิปไตยแนวใหมนํามาสูการแสวงหาเสรีภาพและ ความเจริญ ที่สําคัญกระบวนการประชาธิปไตยนํามาสูการพัฒนาทรัพยากร มนุษยเปนการสรางการเจริญเติบโตในดานการสรางความรับผิดชอบและ สรางปญญา ขณะเดียวกันก็นํามาซึ่งแนวทางที่สําคัญที่สุดสําหรับประชาชน ในการปกปองและนําเสนอความสนใจของพวกเขา
  • 12.  12 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ถือเปนองคประกอบที่สําคัญที่สุดของประชาธิปไตยทางตรง ประชาธิปไตยโดยตรงจึงเปนรูปแบบ ที่สมบูรณที่สุดของการเมืองของพลเมือง เพราะพลเมืองเปนผูมีสวนรวมโดยตรงในการเมืองดวยการ ลงมติตัดสินชะตาของตนเองดวยตนเองและเพื่อตนเองทุกเรื่อง โดยไมตองมีผูแทนราษฎร ปจจุบัน มีการใชประชาธิปไตยทางตรงในเรื่องของการลงประชามติ การเสนอรางกฎหมายโดยประชาชน การถอดถอนผูแทนรายบุคคลหรือทั้งสภา อยางไรก็ดี ดังกลาวแลวถึงแมประชาธิปไตยทางตรงจะมี ลักษณะคอนขางสมบูรณแบบ แตในทางปฏิบัติเปนเรื่องที่เปนไปไมไดสําหรับรัฐสมัยใหมที่มี ขนาดใหญ มีประชากรจํานวนมาก และมีโครงสรางสังคมที่สลับซับซอนที่จะใหประชาชนทุกคน ปกครองประเทศดวยตนเอง และเปนไปไมไดในความเปนจริงที่ประชาชนทุกคนจะสามารถใชอํานาจ อธิปไตยทั้งนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการดวยตนเองโดยตรง ดวยมีขอจํากัดในเรื่องที่ประชุมและ เวลาในการประชุม ดวยเหตุนี้ ประเทศสวนใหญในโลกที่ตองการใหพลเมืองมีสวนรวมในการเมืองจึงหันมา นิยมระบอบประชาธิปไตยแบบมีผูแทนราษฎรดวย การใหราษฎรเลือกผูแทนราษฎรเขาไปทําหนาที่ ตัดสินใจบริหารบานเมืองแทนตนเอง 1.2.2 ประชาธิปไตยแบบผูแทน ประชาธิปไตยแบบผูแทน เปนระบบที่ใหประชาชนเลือกผูแทนไปใชอํานาจอธิปไตยแทน ตนเองถาเปนระบบรัฐสภา ประชาชนจะเลือกตั้งเฉพาะสมาชิกรัฐสภาซึ่งเปนฝายนิติบัญญัติและ สมาชิกรัฐสภาจะไปแตงตั้งฝายบริหารเอง ถาเปนระบบประธานาธิบดี ประชาชนจะเลือกตั้งทั้งฝาย นิติบัญญัติ และฝายบริหารดวยตนเอง ประชาธิปไตยแบบผูแทนอาจกลาวไดวาเปน ประชาธิปไตย ทางออม อยางไรก็ดีประชาธิปไตยแบบผูแทนยังมีปญหาอยูที่วา ผูแทนที่ประชาชนเลือกเขาไปนั้น จะทําหนาที่สมกับการเปนผูแทนของปวงชนหรือไม เพราะมักพบวาเมื่อผูแทนไดรับอํานาจ ก็จะมี บางคนที่ใชอํานาจไปในทางที่ไมถูกตองเหมาะสมและเปนธรรม และบางครั้งเปนไปเพื่อตนเอง หรือกลุมของตน และมีการตัดสินใจที่ประชาชนไมไดรับทราบ ทําใหรูปแบบของประชาธิปไตยอื่นๆ มีการนํามาใชในเวลาตอๆ มา 1.2.3 ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เปนการเรียกระบอบประชาธิปไตยแบบผูแทนที่เปดโอกาส ใหประชาชนมีสวนรวมในทางการเมืองการปกครองและในการตัดสินใจระดับตางๆ มากขึ้น มิใชวา ประชาชนจะสามารถทําไดเพียงเลือกตั้งอยางเดียว แตยังเปดโอกาสใหประชาชนมีสวนรวมใน กระบวนการตัดสินใจเรื่องตางๆ เชน การเปดชองทางใหประชาชนมีสวนรวมรับรูขอมูลขาวสาร ความเคลื่อนไหว และความคืบหนาของการบริหารจัดการประเทศโดยผูที่ทําหนาที่แทนประชาชน หรือ
  • 13.   13 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  การเปดโอกาสใหประชาชนรวมแสดงความคิดเห็นและใหขอมูลแกผูที่ทําหนาที่แทนตนเพื่อใช ประกอบการตัดสินใจในเรื่องตางๆ รวมทั้ง การที่ประชาชนเขาไปมีสวนรวมในการตรวจสอบและ ถอดถอนผูที่ทําหนาที่แทนประชาชนซึ่งขาดประสิทธิภาพ บกพรองตอหนาที่หรือไมสุจริตแลวแตกรณี ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เกี่ยวของกับวิธีการกระจายอํานาจและทรัพยากรตางๆ ที่ ไมเทาเทียมกันอันมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน และวิธีการที่ประชาชนเหลานั้น มีอิทธิพลตอการตัดสินใจที่มีผลกระทบตอตน ประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม จึงหมายถึงการที่อํานาจ ในการตัดสินใจไมควรเปนของกลุมคนจํานวนนอย แตอํานาจควรไดรับการจัดสรรในระหวางประชาชน เพื่อทุกๆ คนไดมีโอกาสที่จะมีอิทธิพลตอกิจกรรมสวนรวม หลักการหรือองคประกอบสําคัญของคําวาประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม คือ 2 1) การใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองและการบริหาร 2) เนนการกระจายอํานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตางๆ ใน ระหวางประชาชนใหเทาเทียมกัน 3) อํานาจในการตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตางๆ นั้น จะสงผลกระทบตอ ชีวิตความเปนอยูของประชาชน 4) เพิ่มการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 5) มีความยืดหยุนได กลาวคือ มีโครงสรางการทํางานที่สามารถตรวจสอบได มีความโปรงใส และคํานึงถึงความตองการทรัพยากรของผูมีสวนรวม 6) การมีสวนรวมของประชาชนมีทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ 7) ประชาชนสามารถเขาถึงขอมูลขาวสาร กระบวนการทางนโยบายและกระบวนการ ยุติธรรม 1.2.4 ประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ โดยทั่วไปประชาธิปไตยมักเปนไปตามที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญหรือกฎหมายสูงสุดของ ประเทศเพื่อเปนแนวทางสําหรับนักกฎหมายและการออกกฎหมายอื่นๆ รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณ อักษรจึงเปนเครื่องประกันตอประชาชนวารัฐบาลจะปฏิบัติในแนวทางที่แนนอนและถูกตอง จุดแข็ง ของการเปนประชาธิปไตยอยางแทจริงขึ้นกับสิทธิพื้นฐานที่แนนอนและเสรีภาพ สิทธิและเสรีภาพนี้                                                              2 คนึงนิจ ศรีบัวเอี่ยม และคณะ. แนวทางการเสริมสรางประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณา- จักรไทย พ.ศ.2540 : ปญหา อุปสรรค และทางออก. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. 2545. หนา 15
  • 14.  14 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ตองไดรับการปกปองเพื่อใหแนใจไดวาประชาธิปไตยจะประสบความสําเร็จ ในหลายประเทศ สิทธิ เหลานั้นระบุไวในรัฐธรรมนูญ รัฐธรรมนูญยังระบุโครงสรางและหนาที่ของรัฐบาลไวดวย และให แนวทางสําหรับการออกกฎหมายอื่นๆ 1.3 ความสําคัญของระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม หลักการ รูปแบบ และกระบวนการ ปจจุบันมีการใหความสําคัญกับประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม และมีการเรียกรองเพื่อมีสวนรวม ในทุกๆ ระดับของกระบวนการทางนโยบาย ทั้งนี้เพราะประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เปนการกระจาย อํานาจ และทรัพยากรตางๆ และเปนการที่คนทุกกลุมมีอํานาจในการตัดสินใจโดยอํานาจควรไดรับ การจัดสรรในระหวางประชาชนเพื่อทุกๆ คนไดมีโอกาสที่จะมีอิทธิพลตอกิจกรรมสวนรวม จึงกลาวไดวาประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมจัดเปนการกระจายอํานาจ และเปนการมี ประชาธิปไตยอยางกวางขวางของกระบวนการทางการเมืองทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ จากคํากลาวขางตน อาจสรุปหลักการหรือองคประกอบสําคัญของคําวาประชาธิปไตยแบบ มีสวนรวม ไดดังนี้ คือ การใหประชาชนมีสวนรวมในการเมืองและการบริหารมีการกระจายอํานาจใน การตัดสินใจและการจัดสรรทรัพยากรตางๆ ในระหวางประชาชนใหเทาเทียมกัน อํานาจในการ ตัดสินใจ และการจัดสรรทรัพยากรตางๆ นั้น จะสงผลกระทบตอชีวิต ความเปนอยูของประชาชนมีการ เพิ่มการคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน มีความยืดหยุนได กลาวคือ มีโครงสรางการทํางาน ที่สามารถตรวจสอบไดมีความโปรงใส และคํานึงถึงความตองการทรัพยากรของผูมีสวนรวม และการ มีสวนรวมของประชาชนมีทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ เนื่องจากประชาธิปไตยแบบมีสวนรวมใหความสําคัญอยางยิ่งตอการมีสวนรวมของประชาชน โดยที่การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวนไดสวนเสียไดมีโอกาส แสดงทัศนะและเขารวมในกิจกรรมตางๆ ที่มีผลตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน รวมทั้ง มีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการพิจารณากําหนดนโยบาย และการตัดสินใจของรัฐ การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ เปนการสื่อสารสองทาง ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซึ่งประกอบไปดวย การแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมี สวนไดสวนเสียและเปนการเสริมสรางความสามัคคีในสังคม ทั้งนี้ เพราะการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ การลดคาใชจาย และการสูญเสียเวลา เปนการสรางฉันทามติ และทําใหงายตอการนําไปปฏิบัติ อีกทั้ง ชวยหลีกเลี่ยงการเผชิญหนาใน “กรณีที่รายแรงที่สุด”
  • 15.   15 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ชวยใหเกิดความนาเชื่อถือ ความชอบธรรม ชวยใหทราบความหวงกังวลของประชาชน และคานิยม ของสาธารณชน รวมทั้ง เปนการพัฒนาความเชี่ยวชาญ และความคิดสรางสรรคของสาธารณชน 3 การมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญในการสรางประชาธิปไตยอยางยั่งยืน และสงเสริม ธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีสวนรวมของประชาชน มากขึ้นเพียงใดก็จะชวยให มีการตรวจสอบการทํางานของผูบริหาร และทําใหผูบริหาร มีความรับผิดชอบตอสังคมมากยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเปนการปองกันนักการเมืองจากการ กําหนดนโยบายที่ไมเหมาะสมกับสังคมนั้นๆ นอกจากนี้ การมีสวนรวมของประชาชนยังเปนการสรางความมั่นใจวาเสียงของประชาชนจะมีคนรับฟง อีกทั้ง ความตองการหรือความปรารถนาของประชาชนก็จะไดรับการตอบสนอง 1.4 แนวคิด กระบวนการ และระดับขั้นของการมีสวนรวม 1.4.1 เงื่อนไขพื้นฐานของการมีสวนรวมของประชาชน 4 เงื่อนไขพื้นฐานของการมีสวนรวมของประชาชนมี 3 ประการ คือ 1) ตองมีอิสรภาพ หมายถึง ประชาชนมีอิสระที่จะเขารวมหรือไมก็ได การเขารวมตอง เปนไปดวยความสมัครใจ การถูกบังคับใหรวมไมวาจะในรูปแบบใดไมถือวาเปนการมีสวนรวม                                                              3 เจมส แอล เครตัน. คูมือการมีสวนรวมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน. แปลโดย ศ.นพ.วันชัย วัฒนศัพท. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. 2543 หนา 25-28 4 ถวิลวดี บุรีกุล. การมีสวนรวม : แนวคิด ทฤษฎี และกระบวนการ. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกลา. 2548. หนา 3-9 กลาวโดยสรุป ระบบประชาธิปไตยแบบมีสวนรวม เปนการเปดโอกาสให ประชาชนไดแสดงทัศนะและมีสวนในการตัดสินใจในเรื่องตางๆ ที่จะมีผล ตอชีวิตความเปนอยูของประชาชนเอง นอกจากจะชวยใหการตัดสินใจของ ผูเสนอโครงการหรือรัฐบาลมีความรอบคอบ และสอดรับกับปญหาและ ความตองการของประชาชนมากยิ่งขึ้นแลว ยังเปนการควบคุมการ บริหาร งานของรัฐบาลใหมีความโปรงใส ตอบสนองตอปญหา และความ ตองการของประชาชนและมีความรับผิดชอบหรือสามารถตอบคําถามของ ประชาชนไดอีกดวย ซึ่งเทากับเปนการสงเสริมการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยใหสมบูรณมากยิ่งขึ้นอีกดวย  
  • 16.  16 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  2) ตองมีความเสมอภาค ประชาชนที่เขารวมในกิจกรรมใดจะตองมีสิทธิเทาเทียมกับ ผูเขารวมคนอื่นๆ 3) ตองมีความสามารถ ประชาชนหรือกลุมเปาหมายจะตองมีความสามารถพอที่จะ เขารวมในกิจกรรมนั้นๆ หมายความวา ในบางกิจกรรมแมจะกําหนดวาผูเขารวมมีเสรีภาพและเสมอภาค แตกิจกรรมที่กําหนดไวมีความซับซอนเกินความสามารถของกลุมเปาหมาย การมีสวนรวมยอมเกิดขึ้น ไมได มิเชนนั่น ตองเสริมสรางความสามารถของประชาชนใหมีความสามารถเขารวมได 1.4.2 องคประกอบของการมีสวนรวม สวนองคประกอบของการมีสวนรวมมี 3 ดาน คือ 1) ตองมีวัตถุประสงคหรือจุดมุงหมายชัดเจน การใหประชาชนเขารวมในกิจกรรมหนึ่งๆ จะตองมีวัตถุประสงคและเปาหมายที่ชัดเจนวาเปนไปเพื่ออะไร ผูเขารวมจะไดตัดสินใจถูกวาควรเขา รวมหรือไม 2) ตองมีกิจกรรมเปาหมาย การใหประชาชนเขามีสวนรวมตองระบุลักษณะของกิจกรรม วามีรูปแบบและลักษณะอยางไร เพื่อที่ประชาชนจะไดตัดสินใจวาควรเขารวมหรือไม 3) ตองมีบุคคลหรือกลุมเปาหมาย การใหประชาชนเขามีสวนรวมจะตองระบุกลุม เปาหมาย อยางไรก็ตามโดยทั่วไปกลุมบุคคลเปาหมายมักถูกจํากัดโดยกิจกรรมและวัตถุประสงคของ การมีสวนรวมอยูแลวโดยพื้นฐาน ทั้งนี้ มักพิจารณาผูเขารวมจากกลุมผูมีสวนไดสวนเสีย ซึ่งเปนกลุมผูอาจไดรับผลกระทบ ทั้งทางบวก และลบ เปนผูที่ไดรับผลกระทบทั้งทางตรงและทางออม ตลอดจน ผูสนใจอีกดวย โดยแทจริงนั้นกระบวนการมีสวนรวมของประชาชนอาจจะไมสามารถกระทําไดในทุกๆ ประเด็น ดังนั้น จึงมีแนวทางทั่วๆ ไปบางประการเกี่ยวกับประเด็นที่ควรใชกระบวนการมีสวนรวม ของประชาชน ประเด็นตางๆ ที่ตองการกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ไดแก 1) การตัดสินใจและผลกระทบที่สําคัญ 2) การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอบางคนมากกวาคนอื่น 3) การตัดสินใจจะมีผลกระทบตอผลประโยชนของบางคนหรือกลุมคนที่มีอยูเดิม 4) การตัดสินใจที่เกี่ยวของกับเรื่องที่มีความขัดแยงอยูกอนแลว 5) ความจําเปนเพื่อใหมีการสนับสนุนตอผลการตัดสินใจ
  • 17.   17 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ดังนั้น การมีสวนรวมของประชาชนจึงมีอยูในเกือบทุกกิจกรรมของสังคมขึ้นอยูกับความ สนใจและประเด็นในการพิจารณา แตมีเงื่อนไขพื้นฐานในการมีสวนรวมวาประชาชนตองมีอิสรภาพ ความเสมอภาพ และความสามารถในการเขารวมกิจกรรม นอกจากนี้ การมีสวนรวมตองมี วัตถุประสงคหรือจุดมุงหมาย ตองมีกิจกรรมเปาหมาย และตองมีกลุมเปาหมาย ทั้งนี้เพื่อให กระบวนการมีสวนรวมของประชาชนดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด การมีสวนรวมของประชาชน จึงเปนการกระจายโอกาสใหประชาชน มีสวนรวมทางการเมือง และการบริหารเกี่ยวกับการตัดสินใจในเรื่องตางๆ รวมทั้ง การจัดสรรทรัพยากรของชุมชนและของชาติ ซึ่งจะสงผลกระทบตอวิถี ชีวิตและความเปนอยูของประชาชน โดยการใหขอมูล แสดงความคิดเห็น ให คําแนะนําปรึกษา รวมวางแผน รวมปฏิบัติ รวมตลอดจนการควบคุมโดยตรง จากประชาชน การมีสวนรวมของประชาชนจึงเปนกระบวนการซึ่งประชาชน หรือผูมีสวน ไดสวนเสียไดมีโอกาสแสดงทัศนะ และเขารวมในกิจกรรมตางๆ ที่มีผลตอชีวิต ความเปนอยูของประชาชน รวมทั้งมีการนําความคิดเห็นดังกลาวไปประกอบการ พิจารณากําหนดนโยบายและการตัดสินใจของรัฐ การมีสวนรวมของประชาชนเปนกระบวนการสื่อสารในระบบเปด กลาวคือ เปนการสื่อสารสองทาง ทั้งอยางเปนทางการและไมเปนทางการ ซึ่งประกอบ ไปดวยการแบงสรรขอมูลรวมกันระหวางผูมีสวนไดสวนเสียและเปนการ เสริมสรางความสามัคคีในสังคม ทั้งนี้ เพราะการมีสวนรวมของประชาชน เปนการเพิ่มคุณภาพของการตัดสินใจ การลดคาใชจาย และการสูญเสียเวลา เปนการสรางฉันทามติ และทําใหงายตอการนําไปปฏิบัติ อีกทั้งชวยหลีกเลี่ยง การเผชิญหนาใน ”กรณีที่รายแรงที่สุด” ชวยใหเกิดความนาเชื่อถือและ ความชอบธรรม และชวยใหทราบความหวงกังวลของประชาชนและคานิยมของ สาธารณชน รวมทั้งเปนการพัฒนาความเชี่ยวชาญและความคิดสรางสรรค ของสาธารณชน
  • 18.  18 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  การมีสวนรวมของประชาชนมีความสําคัญในการสรางประชาธิปไตยอยางยั่งยืนและ สงเสริมธรรมาภิบาล ตลอดจนการบริหารงาน หากการมีสวนรวมของประชาชนมากขึ้นเพียงใดก็จะ ชวยใหมีการตรวจสอบการทํางานของผูบริหาร และทําใหผูบริหารมีความรับผิดชอบตอสังคมมาก ยิ่งขึ้น อีกทั้งยังเปนการปองกันนักการเมืองจากการกําหนดนโยบายที่ไมเหมาะสมกับสังคมนั้นๆ นอกจากนี้การมีสวนรวมของประชาชนยังเปนการสรางความมั่นใจวาเสียงของประชาชนจะมีคนรับฟง อีกทั้งความตองการหรือความปรารถนาของประชาชนก็จะไดรับการตอบสนอง วิธีการแบงระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชนอาจแบงไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับ วัตถุประสงคและความละเอียดของการแบงเปนสําคัญ การแบงระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชน อาจแบงไดจากระดับต่ําสุดไปหาระดับสูงสุด ออกเปน 7 ระดับ และจํานวนประชาชนที่เขามีสวนรวม ในแตละระดับจะเปนปฏิภาคกับระดับของการมีสวนรวม กลาวคือ ถาระดับการมีสวนรวมต่ํา จํานวน ประชาชนที่เขามีสวนรวมจะมาก และยิ่งระดับการมีสวนรวมสูงขึ้นเพียงใด จํานวนประชาชนที่เขา มีสวนรวมก็จะลดลงตามลําดับ ระดับการมีสวนรวมของประชาชนเรียงตามลําดับจากต่ําสุดไปหา สูงสุด ไดแก (1) ระดับการใหขอมูล (2) ระดับการเปดรับความคิดเห็นของประชาชน (3) ระดับการ ปรึกษาหารือ (4) ระดับการวางแผนรวมกันและตัดสินใจรวมกัน (5) ระดับการรวมปฏิบัติ (6) รวม ติดตามตรวจสอบ และ (7) ระดับการควบคุมโดยประชาชน 1) ระดับการใหขอมูล เปนระดับต่ําสุดและเปนวิธีการที่งายที่สุดของการติดตอสื่อสาร ระหวางผูกําหนดนโยบายหรือผูวางแผนโครงการกับประชาชน เพื่อใหขอมูลแกประชาชนเกี่ยวกับการ ตัดสินใจของผูกําหนดนโยบายหรือผูวางแผนโครงการ แตไมเปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็นหรือ เขามาเกี่ยวของใดๆ วิธีการใหขอมูลอาจกระทําไดหลายวิธี เชน การแถลงขาว การแจกขาว การ แสดงนิทรรศการ และการทําหนังสือพิมพใหขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรมตางๆ ตลอดจนการใชสื่ออื่นๆ เชน โทรทัศน วิทยุ สื่อบุคคล และหอกระจายขาว เปนตน อยางไรก็ดี เพื่อปองกันมิใหรัฐบาลหรือเจาหนาที่ของรัฐใชอํานาจดุลพินิจในการใหหรือ ไมใหขอมูลดังกลาวแกประชาชน จึงควรมีขอกําหนดใหรัฐบาลหรือเจาหนาที่ของรัฐตองกระทําและ กระทําอยางทั่วถึงดวย ยกเวนขอมูลบางประเภท เชน เรื่องเกี่ยวกับความมั่นคงของชาติ เปนตน นอกจากนี้ การใหขอมูลแกประชาชนจะตองใหอยางทั่วถึง ถูกตอง เที่ยงตรง ทันการณ เขาใจไดงายและไมมีคาใชจายมาเปนอุปสรรค ในการไดรับขอมูลนั้นๆ 2) ระดับการเปดรับความคิดเห็นจากประชาชน เปนระดับขั้นที่สูงกวาระดับแรก กลาวคือ ผูกําหนดนโยบายหรือผูวางแผนโครงการเชิญชวนใหประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอมูลมาก
  • 19.   19 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ขึ้น และประเด็นในการประเมินขอดีขอเสียชัดเจนยิ่งขึ้น เชน การสํารวจความคิดเห็นของประชาชน เกี่ยวกับการริเริ่มโครงการตางๆ และการบรรยายใหประชาชนฟงเกี่ยวกับโครงการตางๆ แลวขอความ คิดเห็นจากผูฟง เปนตน อนึ่ง การรับฟงความคิดเห็นนี้ จะกระทําไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ก็ตอเมื่อ ประชาชน ผูมีสวนได สวนเสีย ไดมีขอมูลที่ถูกตองและพอเพียง 3) ระดับการปรึกษาหารือ เปนระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชนที่สูงกวาการเปดรับ ความคิดเห็นจากประชาชน เปนการเจรจากันอยางเปนทางการระหวางผูกําหนดโยบายและผูวางแผน โครงการและประชาชน เพื่อประเมินความกาวหนาหรือระบุประเด็นหรือขอสงสัยตางๆ เชน การจัด ประชุม การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ตลอดจนการเปดกวางรับฟงความคิดเห็น โดยใชรูปแบบตางๆ อาทิ การสนทนากลุม และประชาเสวนา เปนตน 4) ระดับการวางแผนและตัดสินใจรวมกัน เปนระดับขั้นที่สูงกวาการปรึกษาหารือ กลาวคือ เปนเรื่องการมีสวนรวมที่มีขอบเขตกวางมากขึ้น มีความรับผิดชอบรวมกันในการวางแผน เตรียมโครงการ และผลที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินโครงการ เหมาะสมที่จะใชสําหรับการพิจารณา ประเด็นที่มีความยุงยากซับซอนและมีขอโตแยงมาก เชน การใชกลุมที่ปรึกษาซึ่งเปนผูทรงคุณวุฒิ ในสาขาตางๆ ที่เกี่ยวของ การใชอนุญาโตตุลาการเพื่อแกปญหาขอขัดแยง และการเจรจาเพื่อหาทาง ประนีประนอมกัน การประชุมวางแผนแบบมีสวนรวม เปนอาทิ 5) ระดับการรวมปฏิบัติ เปนระดับขั้นที่สูงถัดไปจากระดับการวางแผนรวมกัน คือ เปน ระดับที่ผูรับผิดชอบนโยบายหรือโครงการกับประชาชนรวมกันดําเนินการตามนโยบายหรือโครงการ เปนขั้นการนํานโยบายไปปฏิบัติรวมกันดําเนินตามหรือโครงการวมกันเพื่อใหบรรลุผลตามวัตถุประสงค ที่วางไว 6) รวมติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล เปนระดับการมีสวนรวมที่มีผูเขารวมนอย แตมี ประโยชนที่ผูที่เกี่ยวของหรือไดรับผลกระทบสามารถมาคอยติดตามการดําเนินกิจกรรมนั้นๆ ได รูปแบบของการติดตามตรวจสอบหรือประเมินผล อาจอยูในรูปแบบของการจัดตั้งคณะกรรมการ ติดตาม ประเมินผลที่มาจากหลายฝาย การสอบถามประชาชน โดยการทําการสํารวจเพื่อใหประชาชน ประเมิน การประเมินผลนี้ มีความสําคัญมาก เพราะจะมีผลตอการพิจารณาจัดสรรประโยชน การยุติ หรือคงไว ตลอดจนปรับปรุงนโยบายหรือโครงการ 7) ระดับการควบคุมโดยประชาชน เปนระดับสูงสุดของการมีสวนรวมโดยประชาชนเพื่อ แกปญหาขอขัดแยงที่มีอยูทั้งหมด เชน การลงประชามติ เปนตน ขอสังเกตเกี่ยวกับการลงประชามติ
  • 20.  20 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  มี 2 ประการ คือ ประการแรก การลงประชามติจะสะทอนถึงความตองการของประชาชนไดดี เพียงใด อยางนอยขึ้นอยูกับความชัดเจนของประเด็นที่จะลงประชามติและการกระจายขาวสาร เกี่ยวกับขอดีขอเสียของประเด็นดังกลาวใหประชาชนเขาใจอยางสมบูรณและทั่วถึง และประการที่สอง ในประเทศที่มีการพัฒนาทางการเมืองแลว ผลของการลงประชามติจะมีผลบังคับใหรัฐบาลตอง ปฏิบัติตาม แตสําหรับกรณีของประเทศไทย เคยปรากฏตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 ผลของการลงประชามติ เปนเพียงขอแนะนําสําหรับรัฐบาลเทานั้น ไมมีผลบังคับ ใหรัฐบาลตองปฏิบัติตามแตอยางใด (รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 มาตรา 214) และในชวงเวลาของการใชรับธรรมนูญฉบับนี้มิไดเคยมีการดําเนินการลงประชามติเลย ในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549 ระบุวาเมื่อจัดทํารางรัฐธรรมนูญแลวเสร็จ สภารางรัฐธรรมนูญไดเผยแพรใหประชาชนทราบและจัดใหมีการออกเสียงประชามติเพื่อใหความ เห็นชอบแกรางรัฐธรรมนูญทั้งฉบับ อันเปนการออกเสียงประชามติเปนครั้งแรกของประเทศ ในวันที่ 19 สิงหาคม 2549 การออกเสียงลงประชามติ ปรากฏผลวาประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งโดยเสียงขางมาก ของผูมาออกเสียงประชามติเห็นชอบใหนํารางรัฐธรรมนูญฉบับใหมมาใชบังคับ หลังจากนั้น ประธานสภานิติบัญญัติแหงชาติจึงนํารางรัฐธรรมนูญขึ้นทูลเกลาทูลกระหมอมถวายเพื่อทรงลง พระปรมาภิไธยใหประกาศใชเปนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทยสืบไป ทรงพระราชดําริวา สมควร พระราชทานพระบรมราชานุมัติตามความเห็นชอบเห็นดีของมหาชน อนึ่ง ในรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดกําหนดใหมี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติ ในมาตรา 138 โดยเปน พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ โดยใหคณะกรรมการการเลือกตั้งจัดทํารางพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญวาดวยการออกเสียงประชามติเพื่อใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ในมาตรา 165 ตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ระบุวา ประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งยอมมีสิทธิออกเสียงประชามติ โดยการจัดใหมีการออกเสียงประชามติ ใหกระทําไดในเหตุ ดังตอไปนี้ 1.1) ในกรณีที่คณะรัฐมนตรีเห็นวากิจการในเรื่องใดอาจกระทบถึงประโยชนไดเสีย ของประเทศชาติหรือประชาชน นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีอาจปรึกษา ประธานสภาผูแทนราษฎรและประธานวุฒิสภาเพื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาใหมีการออกเสียง ประชามติได  
  • 21.   21 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  1.2) ในกรณีที่มีกฎหมายบัญญัติใหมีการออกเสียงประชามติ การออกเสียงประชามติตาม (1) หรือ (2) อาจจัดใหเปนการออกเสียงเพื่อมีขอยุติ โดยเสียงขางมากของผูมีสิทธิออกเสียงประชามติในปญหาที่จัดใหมีการออกเสียงประชามติ หรือเปน การออกเสียงเพื่อใหคําปรึกษาแกคณะรัฐมนตรีก็ได เวนแตจะมีกฎหมายบัญญัติไวเปนการเฉพาะ การออกเสียงประชามติตองเปนการใหออกเสียงเห็นชอบหรือไมเห็นชอบในกิจการ ตามที่จัดใหมีการออกเสียงประชามติ และการจัดการออกเสียงประชามติในเรื่องที่ขัดหรือแยงตอ รัฐธรรมนูญหรือเกี่ยวกับตัวบุคคลหรือคณะบุคคล จะกระทํามิได นอกจากนี้ ในระดับทองถิ่นยังสามารถจัดใหมีการลงประชามติไดดังระบุในมาตรา 287 ที่วาประชาชนในทองถิ่นมีสิทธิมีสวนรวมในการบริหารกิจการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น โดยองคกรปกครองสวนทองถิ่นตองจัดใหมีวิธีการที่ใหประชาชนมีสวนรวมดังกลาวไดดวย ทั้งนี้ในกรณี ที่การกระทําขององคกรปกครองสวนทองถิ่นจะมีผลกระทบตอชีวิตความเปนอยูของประชาชน ในทองถิ่นในสาระสําคัญ องคกรปกครองสวนทองถิ่นตองแจงขอมูลรายละเอียดใหประชาชนทราบ กอนกระทําการเปนเวลาพอสมควร และในกรณีที่เห็นสมควรหรือไดรับการรองขอจากประชาชนผูมี สิทธิเลือกตั้งในองคกรปกครองสวนทองถิ่น ตองจัดใหมีการรับฟงความคิดเห็นกอนการกระทํานั้น หรืออาจจัดใหประชาชนออกเสียงประชามติเพื่อตัดสินใจก็ได ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ดังนั้น ประชามติในรัฐธรรมนูญจึงเปนทั้งแบบที่มีผลบังคับใชและเปนการปรึกษาหารือ ประชาชนก็ได ซึ่งตางจากอดีต และใชไดในทุกระดับของการบริหารราชการแผนดิน ทั้งยังเปนโอกาสที่ จะชวยตัดสินยุติปญหาตางๆไดหากทุกฝายยอมรับกติกานี้ แตตองมีกระบวนการใหขอมูลที่ถูกตอง เหมาะสม พอเพียงและทันการณ ทั้งนี้ การที่ประชาชนจะมีสวนรวมในลําดับสูงขึ้นๆไปได จะตองมีสวนรวมในลําดับลางๆ กอน จึงจะทําใหมีสวนรวมมีประสิทธิผล เพราะหากปราศจากขอมูลประชาชนจะทําหนาที่รวมให ความเห็น ปรึกษาหารือ รวมตัดสินใจ ติดตาม ตรวจสอบไดอยางไร ในการจะแสดงความคิดเห็น นอกจากนี้ การใหความคิดเห็นที่เหมาะสมอาจดําเนินการหลังจากไดมีเวลาศึกษาขอมูลมาแลว รูปแบบการรับฟงความคิดเห็น อาทิ การสํารวจโดยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ การรับ ฟงผานเวทีประชาชน ผานวิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ โทรศัพท จดหมายหรือกลองรับความคิดเห็น เปนตน เพื่อชวยใหเขาใจระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชน ความแตกตางและเครื่องมือสําคัญที่ใช ในแตละระดับไดงายยิ่งขึ้น จึงไดนําเสนอในรูปตอไปนี้และแสดงระดับการมีสวนรวมของประชาชนไว ดวยแลว
  • 22.  22 สถาบันพระปกเกลา “การเสริมสรางศักยภาพผูนําการเปลี่ยนแปลงชุมชน : นวัตกรสังคม”  ต่ํา ระดับของ การมีสวนรวม สูง มาก จํานวนประชาชน ที่เกี่ยวของ นอย มาก การวางแผนและตัดสินใจรวมกัน การมีสวนรวมที่กวางขึ้น มีความรับผิดชอบรวมกันในการวางแผน และผลจะที่เกิดขึ้น ใชสําหรับประเด็นที่ซับซอนและมีขอโตแยงมาก เชน กลุมที่ปรึกษา การเจรจา การมีอนุญาโตตุลาการ การประนีประนอม การประชุมวางแผน การปรึกษาหารือ การเจรจากันอยางเปนทางการระหวางผูวางแผนโครงการและประชาชน เพื่อประเมินความกาวหนาหรือระบุประเด็นหรือขอสงสัยตางๆ เชน การจัดประชุม การจัดสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การเปดกวางรับขอคิดเห็น การประชาเสวนา การรวมปฏิบัติ ดําเนินกิจกรรมรวมกัน รูปที่ 1 แสดงระดับขั้นการมีสวนรวมของประชาชน รวมติดตาม ตรวจสอบ โดยประชาชนมีสวนรวมในการติดตาม ตรวจสอบ การควบคุมโดยประชาชน ระดับสูงสุดของการมีสวนรวม / แกปญหาที่ขัดแยงอยูทั้งหมด เชน การลงประชามติ การเปดรับความคิดเห็นจากประชาชน ผูวางแผนโครงการเชิญชวนใหประชาชนแสดงความคิดเห็นเพื่อใหไดขอมูลมากขึ้นและ เพื่อใหประเด็นในการประเมินผลชัดเจนยิ่งขึ้น เชน การสํารวจ การบรรยายใหประชาชนฟง ถึงกิจกรรม แลวรับขอคิดเห็นและการใชสื่อตางๆ เปนชองทางรับฟง การใหขอมูล เปนวิธีการที่งายที่สุดของการติดตอสื่อสารระหวางผูวางแผนโครงการและประชาชนเพื่อใหขอมูล แกประชาชนเกี่ยวกับการตัดสินใจของผูวางแผนโครงการหรือกิจกรรมนั้นๆ แตไมเปดโอกาสให มีการแสดงขอคิดเห็นหรือเขามาเกี่ยวของใดๆ เชน การแถลงขาว การแจกขาว การแสดงนิทรรศการ การทําหนังสือพิมพ ใหขอมูลเกี่ยวกับกิจกรรม การใชสื่อตางๆ