SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  55
Télécharger pour lire hors ligne
การแลกเปลียนแก๊ ส และการคายนําของพืช
          ่                  ้
จุดประสงการเรียนรู้
1. สืบค้ นข้ อมูล อธิบาย และสรุปถึงแหล่งที่เกิดการแลกเปลี่ยน
  แก๊ สและการคายนํ ้าของพืช กลไกในการคายนํ ้า
2. ทดลองศึกษาตําแหน่งของปากใบ และความหนาแน่นของปาก
  ใบในพืชชนิดต่างๆ
3. สืบค้ นข้ อมูล อภิปราย และอธิบายถึงปั จจัยที่มีผลต่อการปิ ด –
  เปิ ดของปากใบ และการคายนํ ้าของพืช
1. บริ เวณ Spongy mesophyll ของใบ โดยผ่านปากใบ
   ซึงมีการถ่ายเทความร้ อนได้ เป็ นอย่างดี เพื่อลดอุณหภูมิของใบให้
     ่
   ตํ่าลง
2. เลนติเ ซล ( Lenticel ) คือส่วนที่เ ป็ นรอยแตกของผิ ว ลํ า ต้ น
   รอยแตกนี ้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ สได้ น้อยกว่าที่ปากใบมาก
3. บริ เวณขนราก ( Root hair ) มีการแลกเปลียนแก๊ สระหว่างที่
                                                ่
   เซลล์ ข องราก ในส่ ว นนี อ ากาศจะถ่ า ยเทได้ ดี ทํ า ให้ ร ากพื ช
                            ้
   หายใจได้ ดีด้วย
พืชหายใจเข้ าทางปากใบ ซึงเป็ นทางเดียวกันกับที่ปล่อยออกซิเจน
                           ่
ออกมาในขณะที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง การแลกเปลี่ยนแก๊ สของ
พืช จะเกิดในชันมีโซฟิ ลล์ (mesophyll) ของใบ โดยในชันนี ้
               ้                                             ้
เป็ นสปันจีเซลล์ (Spongy mesophyll ) ซึงเป็ นเซลล์ที่เรี ยง
                                               ่
ตัวกันอย่างหลวม ๆ ทําให้ มีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก พื ้นที่ผิวของ
สปั นจีเซลล์มีการสัมผัสกับอากาศโดยตรง จึงเกิดการแลกเปลี่ยน
แก๊ สได้ มาก
การแลกเปลียนแก๊ สระหว่างเซลล์กบอากาศจะเกิดขึ ้นได้
             ่                     ั
นอกจากเยื่อหุ้มเซลล์จะต้ องบางแล้ ว สิ่งที่จําเป็ นอีกประการหนึง
                                                               ่
คือ ความชื ้น ช่องว่างระหว่าง สปั นจีเซลล์ (spongy
mesophyll) มีความชื ้นเกือบ 100 % จึงเหมาะสมกับการ
แลกเปลี่ยนแก๊ สได้ ดี
ในการสร้ างอาหารของพืช(การสังเคราะห์แสง) พืชต้ องการแก๊ ส
คาร์ บอนไดออกไซด์ และนํ ้าเป็ นสารตังต้ น
                                     ้
โดยแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ จะได้ จากกระบวนการแลกเปลียน        ่
แก๊ส ซึงจะแพร่จากบรรยากาศ ผ่านเข้ าทางรูปากใบของพืช
       ่
ดังนันการเปิ ดหรื อปิ ดของปากใบพืช มีจดประสงค์หลักเพื่อการ
     ้                                 ุ
แลกเปลี่ยนแก๊ สของพืช ซึงมีการคายนํ ้า และลําเลียงนํ ้าใน
                           ่
ไซเลมที่เกิดขึ ้นเนื่องจากแรงดึงจากการคายนํ ้าเป็ นผลที่เกิด
ตามมา
ใบพืชแต่ละชนิดที่ผิวใบมีเนื ้อเยื่อ เอพิเดอร์มิส หุ้มทังด้ านล่าง
                                                       ้
และด้ านบน นอกจากนันยังมีสาร คิวทิน เคลือบเพื่อปองกันนํ ้า
                       ้                                   ้
ระเหยออกจากปากใบ แต่แก๊ สสามารถแพร่เข้ าออกผ่านทาง
ปากใบที่อยูบริ เวณผิวใบทังทางด้ านบนและด้ านล่างได้
          ่              ้
ใบพืชที่ตดตามขวางแสดงช่องว่าง
         ั
 ระหว่างเซลล์หรือช่องอากาศใน
           สปั นจีเซลล์
พืชนอกจากมีปากใบเป็ นทางผ่านเข้ าออกของอากาศแล้ ว ที่ผิวของ
ลําต้ นพืชบางชนิด เมื่อมีอายุมากขึ ้น จะมีรอยแตกเป็ นทางยาว
หรื อแตกตามขวาง รอยแตกเหล่านี ้ เรี ยกว่า เลนทิเซล
(Lenticel) เป็ นทางผ่านเข้ าออกของอากาศเช่นเดียวกับปากใบ
เลนทิเซล(lenticel)
รากมีการแลกเปลี่ยนแก๊ สระหว่างอากาศที่อยูในช่องว่างของเม็ด
                                              ่
ดินกับเซลล์ที่ผิวราก เซลล์ของรากจึงได้ แก๊ สออกซิเจนตามต้ องการ
   ดังนันการพรวนดินที่รอบ ๆ โคนต้ นไม้ อยูเ่ สมอ ทําให้ ดินโปร่ง
         ้
   และร่วนซุย เป็ นการเพิ่มช่องว่างระหว่างเม็ดดินได้ มาก จงมี
                                                            ึ
   อากาศมากพอให้ เซลล์รากนําออกซิเจนไปใช้ ได้ ดินที่ร่วนซุยทํา
   ให้ รากชอนไชไปได้ ไกลจึงดูดนํ ้าและเกลือแร่ได้ ดี นอกจากนันยัง
                                                               ้
   เป็ นการระบายนํ ้าไม่ให้ ขงอยูรอบ ๆ โคนต้ นอีกด้ วย
                             ั ่
รู้หรื อไม่เหตุใดที่เข้ าไปพักอยูใต้ ร่มไม้ ใหญ่ในตอนกลางวันที่
                                  ่
  มีอากาศร้ อนอบอ้ าวแล้ วจะรู้สกสดชื่นกว่าอยูในที่โล่งแจ้ ง?
                                    ึ               ่
เนื่องจากต้ นไม้ มีการคายนํ ้า และปล่อยแก๊ สออกซิเจนที่เกิดจาก
การสังเคราะห์ด้วยแสงออกมาจากใบ บริ เวณนันจึงมีความชื ้น
                                               ้
และแก๊ สออกซิเจนหนาแน่นมากกว่าในที่โล่งแจ้ ง เมื่ออยูใต้ ร่มไม้
                                                        ่
ใหญ่จงได้ รับแก๊ สออกซิเจนได้ มากทําให้ สดชื่น
       ึ
ร้ ูหรือไม่
พืชถ้ าเจริ ญอยูในเขตเมืองหรื อแถบโรงงานอุตสาหกรรม ใบพืชจะ
               ่
ถูกทําลาย เนื่องจากเขม่าควันหรื อสารพิษพวก ซลเฟอร์ไดออกไซด์
                                                    ั
และออกไซด์ของไนโตรเจนซึงถูกไอนํ ้าแล้ วกลายเป็ นฝนกรด ซึงพืช
                            ่                                    ่
รับเข้ าทางปากใบ เมื่อมีเหตุการณ์เช่นนี ้เกิดขึ ้น การเจริ ญเติบโต
ของพืชจะหยุดชะงักหรื อพืชถึงตายได้ ส่งผลให้ ปริ มาณออกซิเจน
ในอากาศจะลดลงในขณะที่แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ เพิ่มขึ ้น
การคายนําของพช (transpiration)
        ้    ื
การคายนํา(transpiration) เป็ นผลทีเ่ กิดขึนต่ อเนื่องจากการ
         ้                                   ้
เปิดปิดของปากใบพช ซ่ึงมจุดประสงค์หลกเพอการแลกเปลยน
                     ื      ี           ั ่ื          ่ี
แก๊ส
การคายนํา(transpiration) คือ การสู ญเสี ยนําของพืชใน
           ้                                   ้
รู ปของไอนํา ออกสู่ บรรยากาศภายนอกผ่ านทางรู ปากใบ
             ้
(Stomata) เป็ นส่ วนใหญ่ ประมาณร้ อยละ 90 (พืชจะคายนํา     ้
ประมาณร้ อยละ 98 ของนําท้งหมดทพชดูดขนมาจากดน
                           ้ ั     ่ี ื   ึ้       ิ
และมีนําส่ วนน้ อยมากทีพชนําไปใช้ ในกระบวนการเมแทบอลซึม)
       ้               ่ ื                               ิ
ปากใบพืชถ่ ายจากกล้ องจุลทรรศน์ อเิ ล็กตรอน
พืชนอกจากจะสูญเสียนํ ้าในรูปของการระเหยเป็ นไอออกมาทาง
ปากใบแล้ ว พืชยังสามารถสูญเสียนํ ้าออกจาก ส่วนอื่นๆ ได้ อกี
เช่น ทางผิวของใบ ทางเลนทิเซล(Lenticel- รอยแตกบริ เวณลํา
ต้ น ) ซึงทําได้ น้อย
         ่
เลนติเซล - เกิดเมื่อพืชอยูในสภาพขาดนํ ้า เพื่อช่วยลดอุณหภูมิของ
                         ่
ลําต้ นพืช
เลนทิเซล(lenticel)
การปิดเปิดของปากใบ

การปิ ดเปิ ดของปากใบขึ ้นกับเซลล์คมที่อยูข้าง ๆ ปากใบ ซึงมีผนัง
                                   ุ      ่               ่
ด้ านที่ติดกับปากใบหนากว่าด้ านอื่น ๆ เมื่อมีแสงสว่าง
โพแทสเซียมไอออนในเซลล์คมเพิ่มขึ ้น จึงมีความเข้ มข้ นของ
                             ุ
สารละลายมากขึ ้น นํ ้าจากเซลล์ที่อยูติด ๆ กันจึงออสโมซส เข้ าสู่
                                     ่                  ิ
เซลล์คม ทําให้ เซลล์คมเต่งมากขึ ้น พร้ อม ๆ กับมีแรงดันเต่ง ไปทํา
         ุ             ุ
ให้ รูปากใบเปิ ด ยิ่งเซลล์คมมีแรงดันเต่งมาก ปากใบยิ่งเปิ ดกว้ าง
                           ุ
ในทางตรงกันข้ าม การลดปริ มาณโพแทสเซียมไอออน ในเซลล์คม  ุ
ทําให้ ความเข้ มข้ นของสารละลายภายในเซลล์คมลดลง นํ ้าจะ
                                          ุ
ออสโมซิสออกจากเซลล์คม ทําให้ เซลล์คมเปลียนรูปไปเป็ นผลให้
                           ุ        ุ ่
รูปากใบปิ ด
(อธิบายต่อหนังสือหน้ า 42)
การปิ ดเปิ ดของปากใบ
ชนิดของปากใบ

- ปากใบแบบธรรมดา (typical stomata) เป็ นปากใบ
  ของพืชทัวไป โดยมีเซลล์คมอยูในระดับเดียวกับเซลล์เอพิเดอร์
          ่              ุ ่
  มิส พืชที่ปากใบเป็ นแบบนี ้เป็ นพวกเจริ ญอยูในที่ไม่แห้ งหรื อไม่
                                             ่
  แฉะจนเกินไป(mesophyte)
ปากใบแบบธรรมดา (typical stomata หรือ ordinary
stomata)
- ปากใบแบบจม (sunken stomata) เป็ นปากใบที่อยู่
ลึกเข้ าไปในเนื ้อใบ เซลล์คมอยูลกกว่าหรื อตํ่ากว่าชันเซลล์เอพิเดอร์
                           ุ ่ ึ                    ้
มิส พบในพชท่ีอยในท่ีแห้งแล้ง (xerophyte) เช่น พืช
             ื      ู่
ทะเลทราย พวกกระบองเพชร และ ยี่โถ
ปากใบแบบจม (sunken stomata)
- ปากใบแบบยกสูง (raised stomata) เป็ นปากใบที่มี
เซลล์คมอยูสงกว่าระดับเอพเดอร์มิสทัวไป เพื่อช่วยให้ นํ ้าระเหย
          ุ ่ ู            ิ         ่
ออกจากปากใบได้ เร็ วขึ ้น พบได้ ในพืชที่เจริ ญอยูในนํ ้าที่ที่มีนํ ้ามาก
                                                ่
หรื อชื ้นแฉะ (hydrophyte) เช่น แสม ลําพู ตะบูน เป็ นต้ น
การปรับตวของพชเพ่ ือลดการคายนํา
                    ั      ื                   ้
 ใบพืชใบเลียงเดี่ยวบางชนิด เช่ น หญ้ า ข้ าวโพด ที่ชันเอพิ
            ้                                        ้
เดอร์มสมีเซลล์ขนาดใหญ่ และผนังเซลล์บาง เรียกว่า บลลิ
         ิ                                              ั
ฟอร์ มเซลล์ (bulliform cell) ซ่ งทาให้ใบม้วนงอได้
                                  ึ ํ
เม่ ือพชขาดนําช่วยลดการคายนําของพชให้น้อยลง
       ื      ้                ้      ื
การบิดงอของใบอันเนื่องมาจาก Bulliform cell
นอกจากนี ้พืชบางชนิดยังมีการปรับโครงสร้ างให้ มีประสิทธิภาพใน
การดูดนํ ้าโดยมีรากแผ่ขยายเป็ นบริ เวณกว้ าง หรื อมีรากยาวหยัง
                                                             ่
ลึกลงไปในดิน เช่น หญ้ าแฝก
พืชบางชนิดลําต้ นและใบอวบนํ ้า (Succunlent) เพื่อสะสมนํ ้า
เช่น ต้ นกุหลาบหิน กระบองเพชร การปิ ดเปิ ดของปากใบจะ
แตกต่างจากพืชชนิดอื่น คือปากใบจะเปิ ดเวลากลางคืนและปิ ดใน
ตอนกลางวันเพื่อลดการคายนํ ้า
พืชทะเลทรายประเภทกระบองเพชร ปากใบจะอยูบริ เวณลําต้ น
                                                  ่
โดยมีการลดรูปใบให้ มีขนาดเล็กลงหรื อใบเปลียนเป็ นหนาม
                                             ่
พืชอวบนํ ้า
พืชต่างชนิดกันมีความสามารถในการคายนํ ้าได้ ไม่เท่ากัน ถงแม้จะ
                                                       ึ
อยูในสภาพแวดล้ อมเดียวกัน เนื่องจากมีความแตกต่างของ
   ่
โครงสร้ างและส่วนประกอบของพืช เช่น ลักษณะและขนาดของใบ
สารเคลือบผิวใบ และจํานวนปากใบไม่เท่ากัน
ลักษณะทัว ๆ ไปของใบด้ านบน(หลังใบ) และด้ านล่าง(ท้ องใบ)มี
            ่
คิวทินเคลือบอยู่ เพื่อปองกันความชื ้นภายในใบไม่ให้ กระจายออก
                        ้
สูสิ่งแวดล้ อม แต่เนื่องจากมีปากใบเป็ นช่องทางติดต่อกับภายนอก
  ่
จึงไม่สามารถปองกันความชื ้นออกจากใบได้ เต็มที่ อากาศและ
               ้
ความชื ้นจึงผ่านเข้ าออกได้
พืชบกจะมีปริ มาณปากใบมากที่สด โดยปากใบส่วนใหญ่อยูที่ผิว
                                       ุ                       ่
ใบด้ านล่าง เพื่อปองกันการระเหยของนํ ้าออกจากใบ ส่วนพืชที่มี
                   ้
ใบปริ่ มนํ ้า ปากใบจะมีเฉพาะผิวใบด้ านบน เนื่องจากผิวใบ
ด้ านล่างอยูปริ่ มนํ ้าหรื อจมนํ ้า นอกจากนันแล้ วมัดท่อลําเลียงหรื อ
              ่                             ้
เส้ นใบยังมีขนาดเล็ก ช่องว่างระหว่างเซลล์มีขนาดใหญ่
ส่วนพืชทะเลทรายพยายามลดอัตราการคายนํ ้าด้ วยการเปลียนใบ          ่
ให้ เป็ นหนามหรื อมีปากใบที่จมลึกเข้ าไปอยูในเนื ้อใบ
                                              ่
ตารางแสดงจํานวนปากใบต่ อเนือที่ 1 ตารางเซนติเมตรของ
                           ้
พชบางชนิด
 ื
       ชนิดของพช
               ื      ด้ านบนของ   ด้านล่าง
                      ใบ           ของใบ
       ข้ าวโพด          5,200       6,800
       ถัวลันเตา
          ่              10,100      21,600
       บัวสายดอกขาว      46,000        0
       สาหร่ายหาง          0           0
       กระรอก
การปิ ดเปิ ดปากใบของพืช จะเกิดได้ มาก น้ อย ช้ า หรื อเร็ ว
ย่อมขึ ้นอยูกบปั จจัยของสภาพแวดล้ อมทังภายนอกและภายใน
            ่ ั                        ้
หลายประการ ตัวอย่างปั จจัยของสภาพแวดล้ อมที่มีผลต่อการปิ ด
เปิ ดของปากใบ ได้ แก่ แสงสว่าง อุณหภูมิ แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์
ลม สภาพความชุ่มชื ้นของดิน เป็ นต้ น
ปัจจยทมผลต่อการปิดเปิดของปากใบและการคายนําของพช
          ั ่ี ี                                     ้       ื
 1.แสงสว่ าง ถ้ าความเข้ มข้ นของแสงสว่างมากจะช่วยให้ การคาย
นํ ้ามีอตราสูงขึ ้น เนื่องจากเซลล์คมมีคลอโรพลาสต์ ทําให้ เกิดการ
        ั                          ุ
สังเคราะห์ด้วยแสง ปริ มาณนํ ้าตาลในเซลล์คมเพิ่ม(ความเข้ มข้ น
                                            ุ
ของสารมาก) นํ ้าจากเซลล์ข้างเคียงจึงเกิดการออสโมซส     ิ
เข้ ามา ทําให้ เซลล์คมเต่ง ปากใบจึงเปิ ด
                        ุ
สําหรับเวลากลางคืนหรื อเวลาไม่มีแสง ไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง
นํ ้าตาลในเซลล์คมถกสงออกไปนอกเซลล์คมแล้ว หรือถ้ามีอยใน
                    ุ ู ่                ุ                ู่
เซลล์คมบางส่วน จะเปลียนเป็ นแปงซึงไม่ละลายนํ ้า (ความเข้ มข้ น
        ุ                 ่     ้ ่
ของสารลดลง) นํ ้าจึงออสโมซิสออกสูเ่ ซลล์ข้างเคียง แรงดันเต่ง
ของเซลล์คมลดลง ปากใบจึงปิ ด
           ุ
แต่ในบางกรณีถงแม้ ความเข้ มของแสงมาก แต่มีนํ ้าในดินน้ อย พืช
                  ึ
เริ่ มขาดแคลนนํ ้ารูปากใบจะปิ ด
2. อุณหภมท่ เหมาะสม อุณหภูมิไม่ตํ่าและไม่สงจนเกินไป
          ู ิ ี                                ู
(25- 30 องศาเซลเซียส) ทําให้ ปากใบเปิ ด ถ้ าอุณหภูมิสงกว่านี ้
                                                     ู
ปากใบจะปิ ดแคบลง และถ้ าอุณหภูมิตํ่ามาก ๆ ปากใบก็จะปิ ดด้ วย
3.ความชืน ถ้ าหากความชื ้นในอากาศมีน้อย เช่น ในหน้ าแล้ งหรื อ
             ้
ตอนกลางวัน ความชื ้นในอากาศแตกต่างกับความชื ้นในช่องว่าง
ของอากาศในใบมาก(ซึงช่องว่างอากาศในใบนี ้จะมีไอนํ ้าอิ่มตัวอยู่
                          ่
ตลอดเวลา) ทําให้ การคายนํ ้าเกิดขึ ้นได้ มากและรวดเร็ ว ถ้ าอากาศ
ชื ้น เช่น ในหน้ าฝน หรื อตอนเช้ ามืด ใบจะคายนํ ้าได้ น้อยและช้ าลง
แต่ขบออกมาเป็ นรูปหยดนํ ้าที่เรี ยกว่า Guttation
       ั
4.กระแสลม ลมที่พดผ่านใบจะทําให้ ความกดอากาศที่
                     ั
บริ เวณผิวใบลดลง ไอนํ ้าบริ เวณปากใบจะแพร่ออกสูอากาศได้
                                                  ่
มากขึ ้น และขณะที่ลมเคลื่อนผ่านผิวใบ จะนําความชื ้นไปกับ
อากาศด้ วย ไอนํ ้าจากปากใบก็จะแพร่ได้ มากขึ ้นเช่นกัน แต่ถ้าลม
พัดแรงเกินไปปากใบจะปิ ด
5. สภาพนําในดน การปิ ดเปิ ดของรูปากใบ มีความสัมพันธ์
               ้   ิ
กับสภาพของนํ ้าในดิน มากกว่าสภาพของนํ ้าในใบพืช เมื่อดิน
มีนํ ้าน้ อยลง และพืชเริ่ มขาดแคลนนํ ้า พืชจะสังเคราะห์กรด
แอบไซซิก(abscisic acid, ABA) ซึงมีผลทําให้ รูปากใบ
                                           ่
ปิ ด การคายนํ ้าจึงลดลง
6. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่าปากใบจะปิ ดเมื่อ
ปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ ้น เช่น ในอากาศปกติมี
ปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์ 300 ส่วนในล้ านส่วน ปากใบจะ
เปิ ด แต่ถ้าปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์เพิ่มเป็ น 1000 ส่วนใน
ล้ านส่วน ปากใบจะปิ ด
อาจอธิบายการปิ ดปากใบตอนกลางคืนได้ วา เนื่องจากปริ มาณ
                                          ่
การสะสมคาร์ บอนไดออกไซด์ ที่เกิดจากการหายใจของเซลล์ใน
ใบมาก
แต่เมื่อใบขาดความชื ้นปากใบจะปิ ดไม่วาปริ มาณ
                                     ่
คาร์ บอนไดออกไซด์จะเป็ นเช่นใด
หมายความว่าพืชทนต่อการขาดคาร์ บอนไดออกไซด์ได้ นานกว่า
การขาดนํ ้า
7.ความกดดนของบรรยากาศ ในที่ที่มีความกดดันของ
              ั
บรรยากาศตํ่า อากาศจะเบาบางลง และความแน่นน้ อย
(อณหภมิสง) เป็ นโอกาสให้ ไอนํ ้าแพร่ออกไปจากใบได้ งาย
   ุ ู ู                                           ่
อัตราของการคายนํ ้าก็สง แต่ถ้าความดันของบรรยากาศสูง
                        ู
ใบก็จะคายนํ ้าได้ น้อยลง
8.ลักษณะ และโครงสร้างของใบ ส่วนประกอบและ
โครงสร้ างของใบพืชที่ไม่เหมือนกัน ทําให้ การคายนํ ้าต่างกัน
sunken stoma- ปากใบอยูลกเข้ าไปข้ างใน – พืชที่ขึ ้น
                                  ่ ึ
ในที่แห้ งแล้ ง(Xerophyte) ใบเล็ก เปลียนเป็ นหนาม เพื่อ
                                           ่
ลดการคายนํ ้า
 raised stoma – ปากใบนูนขึ ้นมาจากใบ มักมีใบ
ใหญ่ – พืชขึ ้นอยในท่ีชมชื ้นหรือในนํ ้า(hydrophyte)
                  ู่   ุ่
typical stomata – ปากใบธรรมดา-พืชที่ขึ ้นในที่ไม่
แห้ งหรื อไม่แฉะเกินไป(Mesophyte) ขนาดใบ
พอสมควร
ประโยชน์ของการคายนํา
                                      ้
• ช่วยลดความร้อนของใบ เพราะเม่ ือใบคายนํา ต้องการ          ้
  ความร้อนแฝงท่ จะทาให้นํากลายเป็นไอนํา จงดงความ
                    ี ํ          ้                       ้ ึ ึ
  ร้อนจากใบไป ใบจงมีอุณหภมต่าลง
                      ึ                ู ิ ํ
• ช่วยในการดดนําและเกลือแร่ การคายนําเป็ นต้ นเหตุทาให้
                 ู ้                                   ้         ํ
  เกด แรงดงจากการคายนํา แรงดงนีสามารถดงนําและ
     ิ       ึ                 ้             ึ ้             ึ ้
  เกลือแร่จากดนเข้าส่ ูรากได้ดมาก
                  ิ                  ี
• ช่วยในการลาเลียงนําและเกลือแร่ แรงดงจากการคายนํามี
               ํ        ้                            ึ             ้
  ความสาคัญต่อการลาเลียงนําและเกลือแร่จากส่วนล่าง
         ํ                ํ        ้
  ไปสู่ใบยอดซึ่งอยู่ตอนบนของพืช ดังนันแรงดึงจากการ
                                                 ้
  คายนําจงเป็นกลไกสาคญท่ สุดในการลาเลียงนําและเกลือ
        ้ ึ                 ํ ั ี                  ํ          ้
  แร่ในพชท่ สูงมากๆ
           ื ี
กลไกของการคายนําทาให้เกดแรงดงจากการคายนํา
                  ้ ํ   ิ      ึ                ้
(transpiration pull) ซึ่งเป็ นแรงที่ทาให้ เกิดการ
                                     ํ
ลําเลียงนําภายในไซเล็ม
          ้


            ต่ อไป การลําเลียงนําของพืช
                                ้
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ

Contenu connexe

Tendances

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์Phattarawan Wai
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชdnavaroj
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)Thitaree Samphao
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชdnavaroj
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานWichai Likitponrak
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 

Tendances (20)

ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
แบบทดสอบย่อย เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
การหายใจแสง พืช C4 พืช cam (t)
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
พันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐานพันธุกรรมพื้นฐาน
พันธุกรรมพื้นฐาน
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 

En vedette

บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)Pinutchaya Nakchumroon
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชnokbiology
 
โครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบโครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบIssara Mo
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 

En vedette (8)

บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช   การคายน้ำ (5)
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช การคายน้ำ (5)
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
โครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบโครงสร้างของใบ
โครงสร้างของใบ
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 

Similaire à การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ

การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำNokko Bio
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชKunnanatya Pare
 
การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำNokko Bio
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชnokbiology
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้netAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นมัทนา อานามนารถ
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชBeam Bame
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราsujitrapa
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 

Similaire à การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ (20)

การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำ
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
เกม
เกมเกม
เกม
 
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืชธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
ธนาคารความรู้ การดำรงชีวิตของพืช
 
การคายน้ำ
การคายน้ำการคายน้ำ
การคายน้ำ
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
Basic cell
Basic cellBasic cell
Basic cell
 
Stemแก้net
Stemแก้netStemแก้net
Stemแก้net
 
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของลำต้น
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
การคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืชการคายน้ำของพืช
การคายน้ำของพืช
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
พืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเราพืชรอบตัวเรา
พืชรอบตัวเรา
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 

Plus de Anana Anana

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขAnana Anana
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมAnana Anana
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisAnana Anana
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcamAnana Anana
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1Anana Anana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 

Plus de Anana Anana (12)

การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไขการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแก้ไข
 
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesisปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อPhotosynthesis
 
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcamกลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2   ในcam
กลไกการเพิ่มความเข้มข้นของ Co2 ในcam
 
พืชC3 c4
พืชC3 c4พืชC3 c4
พืชC3 c4
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1การสังเคราะห์ด้วยแสง1
การสังเคราะห์ด้วยแสง1
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 

การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ

  • 2. จุดประสงการเรียนรู้ 1. สืบค้ นข้ อมูล อธิบาย และสรุปถึงแหล่งที่เกิดการแลกเปลี่ยน แก๊ สและการคายนํ ้าของพืช กลไกในการคายนํ ้า 2. ทดลองศึกษาตําแหน่งของปากใบ และความหนาแน่นของปาก ใบในพืชชนิดต่างๆ 3. สืบค้ นข้ อมูล อภิปราย และอธิบายถึงปั จจัยที่มีผลต่อการปิ ด – เปิ ดของปากใบ และการคายนํ ้าของพืช
  • 3. 1. บริ เวณ Spongy mesophyll ของใบ โดยผ่านปากใบ ซึงมีการถ่ายเทความร้ อนได้ เป็ นอย่างดี เพื่อลดอุณหภูมิของใบให้ ่ ตํ่าลง 2. เลนติเ ซล ( Lenticel ) คือส่วนที่เ ป็ นรอยแตกของผิ ว ลํ า ต้ น รอยแตกนี ้เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ สได้ น้อยกว่าที่ปากใบมาก 3. บริ เวณขนราก ( Root hair ) มีการแลกเปลียนแก๊ สระหว่างที่ ่ เซลล์ ข องราก ในส่ ว นนี อ ากาศจะถ่ า ยเทได้ ดี ทํ า ให้ ร ากพื ช ้ หายใจได้ ดีด้วย
  • 4. พืชหายใจเข้ าทางปากใบ ซึงเป็ นทางเดียวกันกับที่ปล่อยออกซิเจน ่ ออกมาในขณะที่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง การแลกเปลี่ยนแก๊ สของ พืช จะเกิดในชันมีโซฟิ ลล์ (mesophyll) ของใบ โดยในชันนี ้ ้ ้ เป็ นสปันจีเซลล์ (Spongy mesophyll ) ซึงเป็ นเซลล์ที่เรี ยง ่ ตัวกันอย่างหลวม ๆ ทําให้ มีช่องว่างระหว่างเซลล์มาก พื ้นที่ผิวของ สปั นจีเซลล์มีการสัมผัสกับอากาศโดยตรง จึงเกิดการแลกเปลี่ยน แก๊ สได้ มาก
  • 5.
  • 6.
  • 7. การแลกเปลียนแก๊ สระหว่างเซลล์กบอากาศจะเกิดขึ ้นได้ ่ ั นอกจากเยื่อหุ้มเซลล์จะต้ องบางแล้ ว สิ่งที่จําเป็ นอีกประการหนึง ่ คือ ความชื ้น ช่องว่างระหว่าง สปั นจีเซลล์ (spongy mesophyll) มีความชื ้นเกือบ 100 % จึงเหมาะสมกับการ แลกเปลี่ยนแก๊ สได้ ดี
  • 8. ในการสร้ างอาหารของพืช(การสังเคราะห์แสง) พืชต้ องการแก๊ ส คาร์ บอนไดออกไซด์ และนํ ้าเป็ นสารตังต้ น ้ โดยแก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ จะได้ จากกระบวนการแลกเปลียน ่ แก๊ส ซึงจะแพร่จากบรรยากาศ ผ่านเข้ าทางรูปากใบของพืช ่ ดังนันการเปิ ดหรื อปิ ดของปากใบพืช มีจดประสงค์หลักเพื่อการ ้ ุ แลกเปลี่ยนแก๊ สของพืช ซึงมีการคายนํ ้า และลําเลียงนํ ้าใน ่ ไซเลมที่เกิดขึ ้นเนื่องจากแรงดึงจากการคายนํ ้าเป็ นผลที่เกิด ตามมา
  • 9. ใบพืชแต่ละชนิดที่ผิวใบมีเนื ้อเยื่อ เอพิเดอร์มิส หุ้มทังด้ านล่าง ้ และด้ านบน นอกจากนันยังมีสาร คิวทิน เคลือบเพื่อปองกันนํ ้า ้ ้ ระเหยออกจากปากใบ แต่แก๊ สสามารถแพร่เข้ าออกผ่านทาง ปากใบที่อยูบริ เวณผิวใบทังทางด้ านบนและด้ านล่างได้ ่ ้
  • 10. ใบพืชที่ตดตามขวางแสดงช่องว่าง ั ระหว่างเซลล์หรือช่องอากาศใน สปั นจีเซลล์
  • 11.
  • 12. พืชนอกจากมีปากใบเป็ นทางผ่านเข้ าออกของอากาศแล้ ว ที่ผิวของ ลําต้ นพืชบางชนิด เมื่อมีอายุมากขึ ้น จะมีรอยแตกเป็ นทางยาว หรื อแตกตามขวาง รอยแตกเหล่านี ้ เรี ยกว่า เลนทิเซล (Lenticel) เป็ นทางผ่านเข้ าออกของอากาศเช่นเดียวกับปากใบ
  • 14. รากมีการแลกเปลี่ยนแก๊ สระหว่างอากาศที่อยูในช่องว่างของเม็ด ่ ดินกับเซลล์ที่ผิวราก เซลล์ของรากจึงได้ แก๊ สออกซิเจนตามต้ องการ ดังนันการพรวนดินที่รอบ ๆ โคนต้ นไม้ อยูเ่ สมอ ทําให้ ดินโปร่ง ้ และร่วนซุย เป็ นการเพิ่มช่องว่างระหว่างเม็ดดินได้ มาก จงมี ึ อากาศมากพอให้ เซลล์รากนําออกซิเจนไปใช้ ได้ ดินที่ร่วนซุยทํา ให้ รากชอนไชไปได้ ไกลจึงดูดนํ ้าและเกลือแร่ได้ ดี นอกจากนันยัง ้ เป็ นการระบายนํ ้าไม่ให้ ขงอยูรอบ ๆ โคนต้ นอีกด้ วย ั ่
  • 15. รู้หรื อไม่เหตุใดที่เข้ าไปพักอยูใต้ ร่มไม้ ใหญ่ในตอนกลางวันที่ ่ มีอากาศร้ อนอบอ้ าวแล้ วจะรู้สกสดชื่นกว่าอยูในที่โล่งแจ้ ง? ึ ่ เนื่องจากต้ นไม้ มีการคายนํ ้า และปล่อยแก๊ สออกซิเจนที่เกิดจาก การสังเคราะห์ด้วยแสงออกมาจากใบ บริ เวณนันจึงมีความชื ้น ้ และแก๊ สออกซิเจนหนาแน่นมากกว่าในที่โล่งแจ้ ง เมื่ออยูใต้ ร่มไม้ ่ ใหญ่จงได้ รับแก๊ สออกซิเจนได้ มากทําให้ สดชื่น ึ
  • 16. ร้ ูหรือไม่ พืชถ้ าเจริ ญอยูในเขตเมืองหรื อแถบโรงงานอุตสาหกรรม ใบพืชจะ ่ ถูกทําลาย เนื่องจากเขม่าควันหรื อสารพิษพวก ซลเฟอร์ไดออกไซด์ ั และออกไซด์ของไนโตรเจนซึงถูกไอนํ ้าแล้ วกลายเป็ นฝนกรด ซึงพืช ่ ่ รับเข้ าทางปากใบ เมื่อมีเหตุการณ์เช่นนี ้เกิดขึ ้น การเจริ ญเติบโต ของพืชจะหยุดชะงักหรื อพืชถึงตายได้ ส่งผลให้ ปริ มาณออกซิเจน ในอากาศจะลดลงในขณะที่แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ เพิ่มขึ ้น
  • 18. การคายนํา(transpiration) เป็ นผลทีเ่ กิดขึนต่ อเนื่องจากการ ้ ้ เปิดปิดของปากใบพช ซ่ึงมจุดประสงค์หลกเพอการแลกเปลยน ื ี ั ่ื ่ี แก๊ส การคายนํา(transpiration) คือ การสู ญเสี ยนําของพืชใน ้ ้ รู ปของไอนํา ออกสู่ บรรยากาศภายนอกผ่ านทางรู ปากใบ ้ (Stomata) เป็ นส่ วนใหญ่ ประมาณร้ อยละ 90 (พืชจะคายนํา ้ ประมาณร้ อยละ 98 ของนําท้งหมดทพชดูดขนมาจากดน ้ ั ่ี ื ึ้ ิ และมีนําส่ วนน้ อยมากทีพชนําไปใช้ ในกระบวนการเมแทบอลซึม) ้ ่ ื ิ
  • 20. พืชนอกจากจะสูญเสียนํ ้าในรูปของการระเหยเป็ นไอออกมาทาง ปากใบแล้ ว พืชยังสามารถสูญเสียนํ ้าออกจาก ส่วนอื่นๆ ได้ อกี เช่น ทางผิวของใบ ทางเลนทิเซล(Lenticel- รอยแตกบริ เวณลํา ต้ น ) ซึงทําได้ น้อย ่ เลนติเซล - เกิดเมื่อพืชอยูในสภาพขาดนํ ้า เพื่อช่วยลดอุณหภูมิของ ่ ลําต้ นพืช
  • 22. การปิดเปิดของปากใบ การปิ ดเปิ ดของปากใบขึ ้นกับเซลล์คมที่อยูข้าง ๆ ปากใบ ซึงมีผนัง ุ ่ ่ ด้ านที่ติดกับปากใบหนากว่าด้ านอื่น ๆ เมื่อมีแสงสว่าง โพแทสเซียมไอออนในเซลล์คมเพิ่มขึ ้น จึงมีความเข้ มข้ นของ ุ สารละลายมากขึ ้น นํ ้าจากเซลล์ที่อยูติด ๆ กันจึงออสโมซส เข้ าสู่ ่ ิ เซลล์คม ทําให้ เซลล์คมเต่งมากขึ ้น พร้ อม ๆ กับมีแรงดันเต่ง ไปทํา ุ ุ ให้ รูปากใบเปิ ด ยิ่งเซลล์คมมีแรงดันเต่งมาก ปากใบยิ่งเปิ ดกว้ าง ุ
  • 23. ในทางตรงกันข้ าม การลดปริ มาณโพแทสเซียมไอออน ในเซลล์คม ุ ทําให้ ความเข้ มข้ นของสารละลายภายในเซลล์คมลดลง นํ ้าจะ ุ ออสโมซิสออกจากเซลล์คม ทําให้ เซลล์คมเปลียนรูปไปเป็ นผลให้ ุ ุ ่ รูปากใบปิ ด (อธิบายต่อหนังสือหน้ า 42)
  • 25.
  • 26. ชนิดของปากใบ - ปากใบแบบธรรมดา (typical stomata) เป็ นปากใบ ของพืชทัวไป โดยมีเซลล์คมอยูในระดับเดียวกับเซลล์เอพิเดอร์ ่ ุ ่ มิส พืชที่ปากใบเป็ นแบบนี ้เป็ นพวกเจริ ญอยูในที่ไม่แห้ งหรื อไม่ ่ แฉะจนเกินไป(mesophyte)
  • 28. - ปากใบแบบจม (sunken stomata) เป็ นปากใบที่อยู่ ลึกเข้ าไปในเนื ้อใบ เซลล์คมอยูลกกว่าหรื อตํ่ากว่าชันเซลล์เอพิเดอร์ ุ ่ ึ ้ มิส พบในพชท่ีอยในท่ีแห้งแล้ง (xerophyte) เช่น พืช ื ู่ ทะเลทราย พวกกระบองเพชร และ ยี่โถ
  • 30.
  • 31.
  • 32. - ปากใบแบบยกสูง (raised stomata) เป็ นปากใบที่มี เซลล์คมอยูสงกว่าระดับเอพเดอร์มิสทัวไป เพื่อช่วยให้ นํ ้าระเหย ุ ่ ู ิ ่ ออกจากปากใบได้ เร็ วขึ ้น พบได้ ในพืชที่เจริ ญอยูในนํ ้าที่ที่มีนํ ้ามาก ่ หรื อชื ้นแฉะ (hydrophyte) เช่น แสม ลําพู ตะบูน เป็ นต้ น
  • 33. การปรับตวของพชเพ่ ือลดการคายนํา ั ื ้ ใบพืชใบเลียงเดี่ยวบางชนิด เช่ น หญ้ า ข้ าวโพด ที่ชันเอพิ ้ ้ เดอร์มสมีเซลล์ขนาดใหญ่ และผนังเซลล์บาง เรียกว่า บลลิ ิ ั ฟอร์ มเซลล์ (bulliform cell) ซ่ งทาให้ใบม้วนงอได้ ึ ํ เม่ ือพชขาดนําช่วยลดการคายนําของพชให้น้อยลง ื ้ ้ ื
  • 35. นอกจากนี ้พืชบางชนิดยังมีการปรับโครงสร้ างให้ มีประสิทธิภาพใน การดูดนํ ้าโดยมีรากแผ่ขยายเป็ นบริ เวณกว้ าง หรื อมีรากยาวหยัง ่ ลึกลงไปในดิน เช่น หญ้ าแฝก พืชบางชนิดลําต้ นและใบอวบนํ ้า (Succunlent) เพื่อสะสมนํ ้า เช่น ต้ นกุหลาบหิน กระบองเพชร การปิ ดเปิ ดของปากใบจะ แตกต่างจากพืชชนิดอื่น คือปากใบจะเปิ ดเวลากลางคืนและปิ ดใน ตอนกลางวันเพื่อลดการคายนํ ้า พืชทะเลทรายประเภทกระบองเพชร ปากใบจะอยูบริ เวณลําต้ น ่ โดยมีการลดรูปใบให้ มีขนาดเล็กลงหรื อใบเปลียนเป็ นหนาม ่
  • 36.
  • 38. พืชต่างชนิดกันมีความสามารถในการคายนํ ้าได้ ไม่เท่ากัน ถงแม้จะ ึ อยูในสภาพแวดล้ อมเดียวกัน เนื่องจากมีความแตกต่างของ ่ โครงสร้ างและส่วนประกอบของพืช เช่น ลักษณะและขนาดของใบ สารเคลือบผิวใบ และจํานวนปากใบไม่เท่ากัน
  • 39. ลักษณะทัว ๆ ไปของใบด้ านบน(หลังใบ) และด้ านล่าง(ท้ องใบ)มี ่ คิวทินเคลือบอยู่ เพื่อปองกันความชื ้นภายในใบไม่ให้ กระจายออก ้ สูสิ่งแวดล้ อม แต่เนื่องจากมีปากใบเป็ นช่องทางติดต่อกับภายนอก ่ จึงไม่สามารถปองกันความชื ้นออกจากใบได้ เต็มที่ อากาศและ ้ ความชื ้นจึงผ่านเข้ าออกได้
  • 40. พืชบกจะมีปริ มาณปากใบมากที่สด โดยปากใบส่วนใหญ่อยูที่ผิว ุ ่ ใบด้ านล่าง เพื่อปองกันการระเหยของนํ ้าออกจากใบ ส่วนพืชที่มี ้ ใบปริ่ มนํ ้า ปากใบจะมีเฉพาะผิวใบด้ านบน เนื่องจากผิวใบ ด้ านล่างอยูปริ่ มนํ ้าหรื อจมนํ ้า นอกจากนันแล้ วมัดท่อลําเลียงหรื อ ่ ้ เส้ นใบยังมีขนาดเล็ก ช่องว่างระหว่างเซลล์มีขนาดใหญ่ ส่วนพืชทะเลทรายพยายามลดอัตราการคายนํ ้าด้ วยการเปลียนใบ ่ ให้ เป็ นหนามหรื อมีปากใบที่จมลึกเข้ าไปอยูในเนื ้อใบ ่
  • 41. ตารางแสดงจํานวนปากใบต่ อเนือที่ 1 ตารางเซนติเมตรของ ้ พชบางชนิด ื ชนิดของพช ื ด้ านบนของ ด้านล่าง ใบ ของใบ ข้ าวโพด 5,200 6,800 ถัวลันเตา ่ 10,100 21,600 บัวสายดอกขาว 46,000 0 สาหร่ายหาง 0 0 กระรอก
  • 42. การปิ ดเปิ ดปากใบของพืช จะเกิดได้ มาก น้ อย ช้ า หรื อเร็ ว ย่อมขึ ้นอยูกบปั จจัยของสภาพแวดล้ อมทังภายนอกและภายใน ่ ั ้ หลายประการ ตัวอย่างปั จจัยของสภาพแวดล้ อมที่มีผลต่อการปิ ด เปิ ดของปากใบ ได้ แก่ แสงสว่าง อุณหภูมิ แก๊ สคาร์ บอนไดออกไซด์ ลม สภาพความชุ่มชื ้นของดิน เป็ นต้ น
  • 43. ปัจจยทมผลต่อการปิดเปิดของปากใบและการคายนําของพช ั ่ี ี ้ ื 1.แสงสว่ าง ถ้ าความเข้ มข้ นของแสงสว่างมากจะช่วยให้ การคาย นํ ้ามีอตราสูงขึ ้น เนื่องจากเซลล์คมมีคลอโรพลาสต์ ทําให้ เกิดการ ั ุ สังเคราะห์ด้วยแสง ปริ มาณนํ ้าตาลในเซลล์คมเพิ่ม(ความเข้ มข้ น ุ ของสารมาก) นํ ้าจากเซลล์ข้างเคียงจึงเกิดการออสโมซส ิ เข้ ามา ทําให้ เซลล์คมเต่ง ปากใบจึงเปิ ด ุ
  • 44. สําหรับเวลากลางคืนหรื อเวลาไม่มีแสง ไม่มีการสังเคราะห์ด้วยแสง นํ ้าตาลในเซลล์คมถกสงออกไปนอกเซลล์คมแล้ว หรือถ้ามีอยใน ุ ู ่ ุ ู่ เซลล์คมบางส่วน จะเปลียนเป็ นแปงซึงไม่ละลายนํ ้า (ความเข้ มข้ น ุ ่ ้ ่ ของสารลดลง) นํ ้าจึงออสโมซิสออกสูเ่ ซลล์ข้างเคียง แรงดันเต่ง ของเซลล์คมลดลง ปากใบจึงปิ ด ุ แต่ในบางกรณีถงแม้ ความเข้ มของแสงมาก แต่มีนํ ้าในดินน้ อย พืช ึ เริ่ มขาดแคลนนํ ้ารูปากใบจะปิ ด
  • 45. 2. อุณหภมท่ เหมาะสม อุณหภูมิไม่ตํ่าและไม่สงจนเกินไป ู ิ ี ู (25- 30 องศาเซลเซียส) ทําให้ ปากใบเปิ ด ถ้ าอุณหภูมิสงกว่านี ้ ู ปากใบจะปิ ดแคบลง และถ้ าอุณหภูมิตํ่ามาก ๆ ปากใบก็จะปิ ดด้ วย
  • 46. 3.ความชืน ถ้ าหากความชื ้นในอากาศมีน้อย เช่น ในหน้ าแล้ งหรื อ ้ ตอนกลางวัน ความชื ้นในอากาศแตกต่างกับความชื ้นในช่องว่าง ของอากาศในใบมาก(ซึงช่องว่างอากาศในใบนี ้จะมีไอนํ ้าอิ่มตัวอยู่ ่ ตลอดเวลา) ทําให้ การคายนํ ้าเกิดขึ ้นได้ มากและรวดเร็ ว ถ้ าอากาศ ชื ้น เช่น ในหน้ าฝน หรื อตอนเช้ ามืด ใบจะคายนํ ้าได้ น้อยและช้ าลง แต่ขบออกมาเป็ นรูปหยดนํ ้าที่เรี ยกว่า Guttation ั
  • 47. 4.กระแสลม ลมที่พดผ่านใบจะทําให้ ความกดอากาศที่ ั บริ เวณผิวใบลดลง ไอนํ ้าบริ เวณปากใบจะแพร่ออกสูอากาศได้ ่ มากขึ ้น และขณะที่ลมเคลื่อนผ่านผิวใบ จะนําความชื ้นไปกับ อากาศด้ วย ไอนํ ้าจากปากใบก็จะแพร่ได้ มากขึ ้นเช่นกัน แต่ถ้าลม พัดแรงเกินไปปากใบจะปิ ด
  • 48. 5. สภาพนําในดน การปิ ดเปิ ดของรูปากใบ มีความสัมพันธ์ ้ ิ กับสภาพของนํ ้าในดิน มากกว่าสภาพของนํ ้าในใบพืช เมื่อดิน มีนํ ้าน้ อยลง และพืชเริ่ มขาดแคลนนํ ้า พืชจะสังเคราะห์กรด แอบไซซิก(abscisic acid, ABA) ซึงมีผลทําให้ รูปากใบ ่ ปิ ด การคายนํ ้าจึงลดลง
  • 49. 6. ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ พบว่าปากใบจะปิ ดเมื่อ ปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ ้น เช่น ในอากาศปกติมี ปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์ 300 ส่วนในล้ านส่วน ปากใบจะ เปิ ด แต่ถ้าปริ มาณคาร์ บอนไดออกไซด์เพิ่มเป็ น 1000 ส่วนใน ล้ านส่วน ปากใบจะปิ ด อาจอธิบายการปิ ดปากใบตอนกลางคืนได้ วา เนื่องจากปริ มาณ ่ การสะสมคาร์ บอนไดออกไซด์ ที่เกิดจากการหายใจของเซลล์ใน ใบมาก
  • 50. แต่เมื่อใบขาดความชื ้นปากใบจะปิ ดไม่วาปริ มาณ ่ คาร์ บอนไดออกไซด์จะเป็ นเช่นใด หมายความว่าพืชทนต่อการขาดคาร์ บอนไดออกไซด์ได้ นานกว่า การขาดนํ ้า
  • 51. 7.ความกดดนของบรรยากาศ ในที่ที่มีความกดดันของ ั บรรยากาศตํ่า อากาศจะเบาบางลง และความแน่นน้ อย (อณหภมิสง) เป็ นโอกาสให้ ไอนํ ้าแพร่ออกไปจากใบได้ งาย ุ ู ู ่ อัตราของการคายนํ ้าก็สง แต่ถ้าความดันของบรรยากาศสูง ู ใบก็จะคายนํ ้าได้ น้อยลง
  • 52. 8.ลักษณะ และโครงสร้างของใบ ส่วนประกอบและ โครงสร้ างของใบพืชที่ไม่เหมือนกัน ทําให้ การคายนํ ้าต่างกัน sunken stoma- ปากใบอยูลกเข้ าไปข้ างใน – พืชที่ขึ ้น ่ ึ ในที่แห้ งแล้ ง(Xerophyte) ใบเล็ก เปลียนเป็ นหนาม เพื่อ ่ ลดการคายนํ ้า raised stoma – ปากใบนูนขึ ้นมาจากใบ มักมีใบ ใหญ่ – พืชขึ ้นอยในท่ีชมชื ้นหรือในนํ ้า(hydrophyte) ู่ ุ่ typical stomata – ปากใบธรรมดา-พืชที่ขึ ้นในที่ไม่ แห้ งหรื อไม่แฉะเกินไป(Mesophyte) ขนาดใบ พอสมควร
  • 53. ประโยชน์ของการคายนํา ้ • ช่วยลดความร้อนของใบ เพราะเม่ ือใบคายนํา ต้องการ ้ ความร้อนแฝงท่ จะทาให้นํากลายเป็นไอนํา จงดงความ ี ํ ้ ้ ึ ึ ร้อนจากใบไป ใบจงมีอุณหภมต่าลง ึ ู ิ ํ • ช่วยในการดดนําและเกลือแร่ การคายนําเป็ นต้ นเหตุทาให้ ู ้ ้ ํ เกด แรงดงจากการคายนํา แรงดงนีสามารถดงนําและ ิ ึ ้ ึ ้ ึ ้ เกลือแร่จากดนเข้าส่ ูรากได้ดมาก ิ ี • ช่วยในการลาเลียงนําและเกลือแร่ แรงดงจากการคายนํามี ํ ้ ึ ้ ความสาคัญต่อการลาเลียงนําและเกลือแร่จากส่วนล่าง ํ ํ ้ ไปสู่ใบยอดซึ่งอยู่ตอนบนของพืช ดังนันแรงดึงจากการ ้ คายนําจงเป็นกลไกสาคญท่ สุดในการลาเลียงนําและเกลือ ้ ึ ํ ั ี ํ ้ แร่ในพชท่ สูงมากๆ ื ี
  • 54. กลไกของการคายนําทาให้เกดแรงดงจากการคายนํา ้ ํ ิ ึ ้ (transpiration pull) ซึ่งเป็ นแรงที่ทาให้ เกิดการ ํ ลําเลียงนําภายในไซเล็ม ้ ต่ อไป การลําเลียงนําของพืช ้