SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  128
Télécharger pour lire hors ligne
คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla!
         การติดตั้งและใชงานเบื้องตนจนถึงระดับกลาง
                                       Step By Step


                                 จัดทําโดย joomlathaiclub.com
2


                         คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla!
         คูมอการติดตั้งและใชงาน joomla CMS ที่ไดจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนคูมือสําหรับผูเริ่มตนใชงาน joomlaCMS ในการทํา
             ื
เว็บไซต เนื้อหาภายในเกี่ยวกับการทดลองติดตั้งและใชงาน joomla ดวยเครื่องมือที่มีอยูภายในตัว joomla การเตรียมความพรอม
กอนลงมือปฏิบัติจริง ศึกษาและเขาใจเครื่องมือตาง ๆ ของ joomla เนือหาสวนใหญเนน รูปประกอบ ทําความเขาใจแลวปฏิบัติตาม
                                                                      ้
         หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูที่สนใจศึกษาการทําเว็บไซตดวย joomlaCMS ผูจัดทํามิไดหวังผล
                                                                                                  
ทางการคา แตอยางใด และไมสงวนลิขสิทธิ์ สําหรับขอความ รูปประกอบ ในทุกสวนของเอกสารฉบับนี้ หากผูใดตองการนําไป
เผยแพรตอ ก็สามารถทําได แตขอใหระบุแหลงที่มาของเอกสาร




                                                                 www.joomlathaiclub.com
3
สารบัญ
ความหมายของ Content Management System (CMS)………………………………………………..……….…….…………………..4
การติดตั้ง Web Server จําลอง ....................................................................................................................................................................7
การติดตั้ง AppServ 2.5.10 …………………………………………………………………………………….……………….……….. 7
การติดตั้ง XAMPP …………………………………………………………………………………………………..…………………..13
เริ่มทําการติดตั้งและใชงาน ........................................................................................................................................................................27
การเขา – ออกระบบ ผูดูแลระบบ .............................................................................................................................................................37
บทบาทหนาที่ของ User Group Access levels for joomla ……………………………………………………………………………… 40
การสรางหมวดหมูไวเก็บเนื้อหาเว็บไซตใน joomla 1.5 ……………………………………………………………………………….. 41
การสรางบทความ (article) ……………………………………………………………………………………………………………... 45
การใสรูปภาพลงในบทความ .................................................................................................................................................................... 47
การใชงาน menu manager ……………………………………………………………………………………………………………… 52
การสรางเมนูใหม ………………………………………………………………………………………………………………………...56
Trash manager …………………………………………………………………………………………………………………………… 57
User Manager …………………………………………………………………………………………………………………………… 58
สรางปายโฆษณา (banner) ……………………………………………………………………………………………………………….. 59
การสรางแบนเนอรโดยใช Banner Code ………………………………………………………………………………………………… 61
การสรางรายชื่อผูติดตอ Contact ………………………………………………………………………………………………………….. 62
News Feed Manager ……………………………………………………………………………………………………………………….65
Search component …………………………………………………………………………………………………………………………72
Web Link Manager ……………………………………………………………………………………………………………………….. 73
Media Manager …………………………………………………………………………………………………………………………… 76
การติดตั้ง Extensions ของ joomla …………………………………………………………………………………………………..…… 78
การถอนการติดตั้ง Extensions ของ joomla (Uninstall) ……………………………………………………………………………..……..79
การสรางโมดูลใหม (ตัวอยางการสรางโมดูลคนหา (Search)) …………………………………………………………………….……… 80
Mass Mail ………………………………………………………………………………………………………………………………… 81
Clean Cache ………………………………………………………………………………………………………………….…...………. 82
Purge Expired Cache ………………………………………………………………………………………………………………….…...83
Syatem Information ………………………………………………………………………………………………………………….…... 83
ลงมือปฏิบัติ ………………………………………………………………………………………………………………….…............... 84
เกร็ดความรูเล็ก ๆ นอย ๆ ……………………………………………………………………………………………………………… 104
ขั้นตอนในการ Upgrade Joomla …………………………………………………………………………………………………………. 104
วิธีการเพิ่มความเร็ว - เพิ่มประสิทธิภาพ Joomla ………………………………………………………………………………………… 107
การใชงาน system legacy …………………………………………………………………………………………………………………109
การปดเว็บไซตชั่วคราวออฟไลท ………………………………………………………………………………………………………… . 110
ทําให url joomla 1.5 เปน search engine friendly …………………………………………………………………………………………. 111
มาเปลี่ยน favicon ให joomla กันเถอะ …………………………………………………………………………….………………………. 112
Upload joomla ที่ทําเสร็จจากเครื่องขึ้น hosting…………………………………………………………………………………………….. 114
 การใชงาน phpmyadmin เบื้องตน ………………………………………………………………………………………………………..... 119
การใชงาน filezilla FTP manager …………………………………………………………………………………………………………... 124
4
                                       คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla 1.5 CMS

ความหมายของ Content Management System (CMS)
ระบบการจัดการเนื้อหาของเว็บไซต(Content Management System : CMS) คือ ระบบที่พัฒนา คิดคนขึ้นมาเพื่อชวยลดทรัพยากร
ในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต ไมวาจะเปนเรื่องของกําลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใชในการ
สรางและควบคุมดูแลไซต
โดยสวนใหญแลว มักจะนําเอา ภาษาสคริปต(Script languages) ตางๆมาใช เพื่อใหวิธีการทํางานเปนแบบอัตโนมัติ ไมวาจะเปน
PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษาอื่นๆ(แลวแตความถนัดของผูพัฒนา) ซึ่งมักตองใชควบคูกันกับโปรแกรมเว็บเซิรฟเวอร(เชน
Apache) และดาตาเบสเซิรฟเวอร(เชน MySQL)
ลักษณะเดนของ CMS ก็คือ มีสวนของ Administration panel(เมนูผูควบคุมระบบ) ที่ใชในการบริหารจัดการสวนการทํางานตางๆ
ในเว็บไซต ทําใหสามารถบริหารจัดการเนือหาไดอยางรวดเร็ว และเนนที่การ จัดการระบบผานเว็บ(Web interface) ในลักษณะ
                                      ้
รูปแบบของ ระบบเว็บทา(Portal Systems) โดย ตัวอยางของฟงกชันการทํางาน ไดแก การนําเสนอบทความ(Articles), เว็บ
ไดเรคทอรี(Web directory), เผยแพรขาวสารตางๆ(News), หัวขอขาว(Headline), รายงานสภาพดินฟาอากาศ(Weather), ขอมูล
ขาวสารที่นาสนใจ(Informations), ถาม/ตอบปญหา(FAQs), หองสนทนา(Chat), กระดานขาว(Forums), การจัดการไฟลในสวน
           
ดาวนโหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ขอมูลสถิติตางๆ(Statistics) และสวนอื่นๆอีกมากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง
แกไขแลวประยุกตนํามาใชงานใหเหมาะสมตามแตรูปแบบและประเภทของเว็บไซตนั้นๆ


Joomla คืออะไร?
Joomla คือระบบที่ชวยในการจัดการเนื้อหา(Content Management System: CMS) บนเว็บไซต เพื่อชวยในการอํานวยความสะดวก
ลดขั้นตอน และความยุงยากในการบริหารจัดการเว็บไซต โดยที่ ผูใชไมจําเปนตองมีความรูในดานการเขียนโปรแกรม หรือ
ออกแบบเว็บไซต ก็สามารถจัดทําเว็บไซตดวยตัวเองได

กอนจะมาเปนจุมลาในปจจุบัน
Mambo หรือชือเดิม Mambo Open Source (MOS) เปนระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Content Management System) แบบโอเพนซอร
                ่
สที่มผูใชจํานวนมาก Mambo เคยชนะการประกวดซอฟตแวรของนิตยสาร Linux Format ในป 2004 และ LinuxWorld เมื่อป 2005
     ี
Mambo เปนซอฟตแวรที่มีความสามารถมากมาย เชน ปฏิทิน, RSS, เว็บบล็อก ปจจุบันมีกลุมนักพัฒนาจํานวนมากสรางโปรแกรม
เสริมใหกับ Mambo การติดตั้ง Mambo จําเปนตองใช Apache HTTP Server, MySQL และ PHP เดิม Mambo พัฒนาโดยบริษัท
Miro Corporation ประเทศออสเตรเลีย แตภายหลัง Miro ไดตั้ง Mambo Foundation ขึ้นมารับหนาที่แทน ใชสัญญาอนุญาตการใช
งานแบบ GPL หลังจากการเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนามาอยูใต Mambo Foundation นักพัฒนาเดิมสวนหนึ่งไดแยกไปตั้งโครงการ
ใหมชื่อวา Joomla จูมลา! (Joomla!) เปนระบบจัดการเนือหาเว็บแบบโอเพนซอรส ที่เขียนดวยภาษาพีเอชพีและใชฐานขอมูล
                                                       ้
MySQL เวอรชน 1.0 ออกเมือวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 2005 ทีมงาน พัฒนาจูมลา! แยกตัวออกมาจากการพัฒนา Mambo ซึ่งเปน
                  ั        ่
ระบบจัดการเนื้อหาเว็บที่ไดรับความนิยมอีกตัวหนึ่ง เนื่องจากมีความคิดเห็นไมตรงกับบริษัท Miro Corporation ในประเทศ
ออสเตรเลีย ซึ่งเปนผูสนับสนุนหลักและเจาของเครื่องหมายการคา Mambo เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2005
5
Joomla นั้นถูกออกแบบเวอรช่น มาอยู 2 แบบดวยกันคือ
                               ั
 Joomla 1.0.xxx เปนเวอรชนที่ถูกพัฒนาตอมาจาก Mambo 4.5.x โดยแยกตัวออกมาทําเปนเวอรช่นของ Joomla โดยรูปแบบการใช
                           ั่                                                                 ั
งานยังคลายคลึงกับ Mambo 4.5.x อยู
Joomla 1.5.xxx เปนเวอรชั่นที่ถูกพัฒนาแตกตาง ออกไปจาก Joomla เวอรชั่น 1.0.xxx อยางสิ้งเชิงทั้งเมนูการใชงานรวมถึงขั้นตอน
การติดตั้ง และโครงสรางการทํางาน จากการทดสอบ ในการโหลดหนาเว็บไซต Joomla 1.5.xxx สามารถทํางานไดเร็วกวา Joomla
1.0.xxx

Content Management System: CMS คืออะไร?
Content Management System หรือ CMS ถาแปลตามตัว Content = เนือหา,บทความ Management=การจัดการ System =ระบบ
                                                                  ้
เพราะฉะนั้นจะไดความหายตามตัวคือ ระบบบริหารการจัดการเนื้อหา แตที่จริงแลว CMS นี้ถูกนํามาใชเรียกงานทางดานเว็บไซต
ซะสวนใหญ เ ขาจึงเรียกระบบนี้วาเปนระบบบริการการจัดการเว็บไซต โดยที่ระบบนี้ นั้นนควาหมาย จะรวมไปถึงการจัดการ
ขอมูลตางๆ ไมวาจะเปน ขอมูลที่เปนตัวอักษร รูปภาพ ไฟลงานตางๆดวย แลวแตผใชงานจะเลือกหรือกําหนดความตองการของ
                                                                             ู
ตัวเอง
Jooma เหมาะกับเว็บไซตแบบไหนบาง?
วาไปแลว Joomla นั้นเราสามารถนํามาประยุกตทําเว็บไซตไดทุกรูปแบบ ตัวอยางเชน
* Corporate Web sites or portals
* Corporate intranets and extranets
* Online magazines, newspapers, and publications
* E-commerce and online reservations
* Government applications
* Small business Web sites
* Non-profit and organizational Web sites
* Community-based portals
* School and church Web sites
* Personal or family homepages
ทําความเขาใจเกี่ยวกับการใชงาน Joomla!
    Joomla ถูกพัฒนาขึ้นดวยภาษา PHP และฐานขอมูล MySQL การที่จะใชงานไดนั้นจําเปนตองมี web server (เครื่องคอมพิวเตอร
ที่ใหบริการเผยแพรขอมูลทางอินเตอรเน็ต) ซึ่งตองรองรับการทํางานของ PHP และ MySQL web server ที่เหมาะสมที่สุดสําหรับ
joomla ก็คือ web server ที่ติดตั้งดวยระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux นอกจากจะถูกกวา web server ที่ติดตั้งดวยระบบปฏิบัติการ
windows server เพราะไมตองเสียคาลิขสิทธิ์ ปญหาการใชงานเล็ก ๆ นอย ๆ ก็ยงมีนอยกวา windows server
                                                                         ั
6
                                                ความตองการของระบบในการติดตั้ง
              Software                    Recommended           Minimum              More information
              PHP*                        5.2 +                 4.3.10               http://www.php.net
              MySQL**                     4.1.x +               3.23                 http://www.mysql.com
              Apache***                   2.x +                 1.3                  http://www.apache.org
              (with mod_mysql, mod_xml,
              and mod_zlib)
              Microsoft IIS****           7                    6                     http://www.iis.net

* ไมควรใช PHP 4.3.9, 4.4.2 หรือ 5.0.4. และ Zend Optimizer 2.5.10 สําหรับ PHP 4.4.x ยังมีขอบกพรองรายแรงและคุณควรขอ
โฮสตของคุณเพื่ออัปเกรดเปนเวอรชันใหม . Joomla ยังไมสามารถทํางานรวมกับ PHP 5.3
** Joomla ยังไมสามารถทํางานรวมกับ MySQL 6.x.
*** เพื่อที่จะใช SEO URL ที่คุณจะตองมี Apache mod_rewrite
**** Joomla จะเหมาะสําหรับ Apache แตยังทํางานบน Microsoft IIS (แตไมสนับสนุนอยางเปนทางการ). ขึ้นอยูกับการตั้งคาของ
                                                                                                       
คุณตอไปนี้
       PHP 5.2
      MySQL 5.1
      Apache 2.2
      Microsoft URL Rewrite Module – ความตองการสําหรับ SEO URLs เทานั้น
      Joomla 1.6 will require PHP 5.2+ and MySQL 5.0.4+.

  จะเห็นวาตองมี web server ที่มความพรอมจริง ๆ ในการลงระบบ joomla หากตองการทําสอบ joomla ในเครื่องคอมพิวเตอรของ
                                 ี
คุณเองสามารถทําไดโดยใชโปรแกรม web server จําลอง ที่มีความสามารถในการจําลองระบบใหเหมือนกับ web server จริง ๆ
โปรแกรม web server มีอยูหลายตัวใหเลือกใชการติดตังงาย ๆ เพียงแค Next ไมกี่ขั้นตอนก็เสร็จเรียบรอย อยางเชน
                                                   ้
                 - AppServ ดาวนโหลดฟรี ๆ ไดที่ http://www.appservnetwork.com/
                 - XAMPP ดาวนโหลดฟรี ๆ ไดที่ http://www.apachefriends.org/
เลือกเอาตัวใดตัวหนึงครับ แตผมจะแนะนําคือ XAMPP ความตางก็คือมีระบบจําลองการทํางานของ FTP Server และ Mail Server
                    ่
มาใหดวยทําใหการใชงานเหมือน server จริง ๆ มาขึ้น
       
7
                                                 การติดตั้ง Web Server จําลอง

การติดตั้ง AppServ 2.5.10
AppServ รุน 2.5.10 มีรายละเอียดดังนี้
    •    Apache 2.2.8
    •    PHP 5.2.6
    •    MySQL 5.0.51b
    •    phpMyAdmin 2.10.3
เหตุที่เลือกตัวนี้เพราะมี php5 ดวยซึ่งการใชงานในปจจุบัน นั้นเริ่มที่จะหลากหลายมากขึ้น แมวาจะมีที่เปนเวอรช่น php6 แลวก็ตาม
                                                                                                                 ั
อีกอีกยาวไกลกวาจะมีความนิยมอยางหลากหลาย กอนอืนก็ดาวนโหลดตัวติดตั้งที่ http://www.appservnetwork.com/ ตัวนี้คนไทย
                                                        ่
เปนผูพัฒนาครับ และไดรับความนิยมอยางแพรหลาย
หมายเหตุ กอนอื่นตองแนใจวาคุณไมเคยติดตั้งโปรแกรมจําลองเครื่องเปน Server หากเคยใหถอนออกกอนการติดตั้ง หากติดตั้ง
IIS ไวตองปดการทํางานกอนเชนกัน

เริ่มติดตัง
          ้

1. ดับเบิลคลิ๊กappserv-win32-x.x.x.exe เพือติดตั้ง AppServ บนเครื่องPC
                                          ่
8
2. คลิ๊ก Next จะพบกับหนาจอ ประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ซึ่งเปน ลิขสิทธิ์แบบ GNU/GPL License




3. เมื่อคลิ๊กI Agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์แลว ก็จะเขาสูหนาเลือกโฟลเดอร และไดรฟ ที่จะติดตั้ง ในที่นี้เปน C:AppServ
9
4. เมื่อคลิ๊กNext จะเขาสูหนาเลือก คอมโพเนนที่จะติดตั้ง ในที่นี้คลิ๊กใหหมดทุกตัว




5. หนาServer Information




ชอง Server Name ใหใสlocalhost

ชอง Admin Email ใหใสemail ของเราไป

ชอง HTTP Port ใหใสหมายเลข Port ที่ตองการเผยแพรเขาไป ในที่นแนะนําเปน 80 จากนั้นคลิ๊ก Next
                                                                ี้
10
6. ตั้งคา MySQL




ชองEnter Root Password ใสรหัสผานสําหรับ Account User: root


หมายเหตุ กรุณาใสรหัสที่คณจําไดงายๆ
                         ุ
Re-Enter Root Password ใสรหัสผานสําหรับ root อีกครั้งใหเหมือนเดิม
ชอง Character Sets เลือกเปน TIS620 Thai เพื่อใชงานกับภาษาไทย หรือ UTF-8 ก็ได แต เวลาใชงานจริงบนโอสติ้งตอง
ตรวจสอบกอนวาโฮสเราสนับสนุน UTF-8 หรือไม
จากนั้นคลิ๊กInstall
11
7. จากนั้นโปรแกรมจะถูกติดตั้ง รอจนครบ 100% ในระหวางนี้ หาก Windows มีการสอบถามเรื่องการ Block โปรแกรม ใหคลิ๊ก
Unblock โปรแกรมจะถูกติดตั้งอยางสมบูรณ




8. เมื่อระบบติดตั้งจนครบ 100 % ก็จะเขาสูหนาสุดทาย ระบบจะถามวา จะเริ่มให Apache และ MySQL ทํางานหรือไม จากนั้น
คลิ๊ก Finish
12
9. เมื่อติดตั้งเสร็จ ใหเปด Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox ขึ้นมา ชอง Address พิมพ http://localhost เพื่อทดสอบ หาก
สําเร็จ จะมีหนาจอดังภาพ




โครงสรางของโฟลเดอร เราจะเก็บ joomla ไวใน โฟลเดอร www (c:appservwww)
13
การติดตั้ง XAMPP




XAMPP for windows เปนโปรแกรมจําลอง web serverเอาไวสําหรับทดสอบ สคริปหรือเว็บไซต ที่เราพัฒนาภายในเครื่องของเรา
เอง เวอรชั่นทีจะแนะนําคือ XAMPP 1.6.8 bate 2 ซึ่งเปนเวอรชั่นทดลองใชอยูแตเทาที่ใชดูก็โอเค ดีครับ ในตัวนี้มี
               ่

* Apache HTTPD 2.2.9 + Openssl 0.9.8i
* MySQL 5.0.67
* PHP 5.2.6
* PHP 4.4.9
* phpMyAdmin 2.11.9.2
* FileZilla FTP Server 0.9.27
* Mercury Mail Transport System 4.52

          สามารถสลับระหวาง PHP 4 และ PHP 5 ทําการดาวนโหลดตัวติดตั้งไดที่ http://www.apachefriends.org/
 ขนาด ไฟลประมาณ 38 MB เมื่อทําการดาวนโหลดเสร็จสิ้นทําการติดตั้งเลยครับ โดยดับเบิ้ลคลิ๊กที่ xampp-win32-1.6.8-installer-
                                                    beta2.exe




                                                    1.เลือกภาษาติดตั้ง




                                                          2.next
14




3.กําหนดพาทที่จะติดตั้ง ปกติ อยูที่ c:xampp
15

4.เลือกติดตั้ง service ทั้งหมด next ตอไป




       5.เริ่มทําการติดตั้งรอสักครู
16
6.ทําการติดตั้งเสร็จเรียบรอย กด finish




7.โฟลเดอรที่ใชเก็บขอมูลจะอยูที่ C:xampphtdocs ลองเขาบราวดเซอร http://localhost เลือกภาษาที่จะใชงาน จะพบหนาจะดังรูป
17
8.เขาเมนู Security เพื่อจัดการกําหนดรหัสผานสําหรับเขาใชงาน server และฐานขอมูล




9.คลิ๊กที่ http://localhost/security/xamppsecurity.php
18




10.กําหนดรหัสผาน ของ MySQL SuperUser หรือ root ยืนยันรหัสผานอีกครั้ง กด password changing




11.กําหนดชื่อผูใชงาน ไดเรกทอรี (เมื่อตองการ กําหนดหรือไมก็ได)
19




12.ระบบจะทําการบันทึกรหัสผานไวที่ไฟล ดังกลาว




13.ถาเรากําหนดรหัสผานการเขาใชไดเรกทอรี เวลาเขา http://localhost จะถามชื่อล็อกอินและรหัสผานดว




14.เมื่อเขา http://localhost/phpmyadmin/ รหัสตามที่ตั้งไว
20

15.เขาปรับแตง FTP server (C:xamppFileZillaFTPFileZilla Server Interface.exe)




16.กําหนดรหัสผาน เสร็จแลว กด ok
21




17.เขาเมนู edit > users > General เลือกยูส แกไขรหัสผานใหม เสร็จแลวกด ok




18.ตรวจดู พาท ของ FTP วาถูกตองหรือไม ปกติจะอยูที่ C:xampphtdocs
22


19.ทําการสตารทเซอรวิส ทั้งหมด โดยคลิ๊กที่ รูป ดานบน




20.ทดสอบ ทําการงาน ของ FTP Server เขาที่โปรแกรม FTP

- host = localhost
- username = newuser
- password = ตามที่ไดตั้งไว
23




21.เขาปรับแตงโปรแกรม mail server คลิ๊กที่ admin ดังในรูปดานลางนี้




22.เมนู configruation > manage local user
24




23.เลือกที่ newuser กดchange
25
24.เปลี่ยน password ใหม




25.เขาใชงาน mail server ไดที่ http://127.0.0.1/xampp/mailform.php (newuser@localhost)




26.เปดใหสามารถใชงาน mod_rewrite ได เขาไปแกที่ C:xamppapacheconfhttpd.conf
ใน บรรทัด #LoadModule rewrite_module modules/mod_rewrite.so เอาเครื่องหมาย # ออก ทําการเซฟ สั่ง stop apache เสร็จ สั่ง
start apache ใหมอีกรอบ
26




เมื่อ บูตเครื่องใหม โปรแกรม FTP อาจจะไมทํางาน ตองสั่งใหมนทํางานดวยมือเอง ที่ C:xamppxampp-control.exe สั่งสตารท ทั้ง
                                                            ั
FTP และ โปรแกรม mail server
27

                                          เริ่มทําการติดตั้งและใชงาน

 กอนทําการติดตั้งนั้นตองทําการดาวนโหลดสตริปสําหรับติดตั้งกอนครับ โดยสามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.joomla.org
เลือกเวอรชน joomla 1.5.14
           ั




                                               คลิ๊กที่รูป Download Jomla




                                    เลือกดาวนโหลดแบบ Full Package คลิ๊กที่ลิ้งก ZIP
28




                                              เลือก Save ไฟลไวในเครื่อง




                                              รอจนดาวนโหลดเสร็จสิ้น




เมื่อดาวนโหลดไฟลเสร็จเรียบรอยแลวจะไดไฟลที่มีนามสกุล *.zip ใหทําการแตกไฟลออก โดยใชโปรแกรมจัดการไฟลบีบอัด
อยางเชน 7zip, winzip, winRAR ฯลฯ
29




ทําการแตกไฟลบีบอัด




 จะไดไฟลดังในรูป
30
ใหกอปปไฟลทั้งหมด นําไปวางไปบน web server จําลองที่ไดติดตั้งไวแลวตาม เนื้อหากอนหนานี้ (XAMPP)
    ็ 
โฟลเดอร c:xampphtdocs ทําการสรางโฟลเดอรใหมทชื่อวา joomla แลวนําไฟลที่ไดก็อปปไวแลวดังขางตน นํามาวางในโฟล
                                                    ี่
เดอร joomla นี้




                                          รูปโฟลเดอรที่ทําการสรางขึ้นในชื่อ joomla

       เมื่อทําการก็อปปแลวใหเขาที่โปรแกรมเบราวเซอร (browser) พิมพในชอง address http://localhost/phpmyadmin เพื่อเขา
จัดการสรางฐาน MySQL เอาไวสาหรับติดตั้ง joomla
                                 ํ




        พิมพช่อ User name เปน root, password ตามที่ตั้งไวตอนติดตั้งโปรแกรม XAMPP จากนั้นคลิ๊กปุม Go เพื่อล็อกอินเขา
               ื
ระบบ
31




          จะเขามาสูหนานี้ ในชอง Create new database ใหพิมพชื่อฐานขอมูลตามตองการ (ในที่นี้ขอตั้งชือเปน joomla) จากนั้น
                                                                                                         ่
คลิ๊กปุม Create




                       เมื่อขึ้นเครื่องหมายถูกพรอมกรอบสีเขียวแสดงวา การสรางฐานขอมูลเสร็จเรียบรอย




         จากนั้นพิมพในชื่อ address วา http://localhost/joomla สคริปติดตั้งจะนําพามาสูหนาติดตั้งโดยอัตโนมัติ ใหทําการเลือกภา
ที่ใชในการติดตั้ง ในที่น้ขอเลือกเปนภาษาอังกฤษ จากนันคลิ๊กปุม Next (ดานมุมบนขวามือ)
                          ี                               ้
32




ตัวหนังสือสีแดงที่ข้นวา no ใหปลอยไวยงไมตองสนใจในสวนนี้ ใหคลิ๊ก Next เพื่อไปขั้นตอนถัดไป
                    ึ                   ั




                 หนานี้เปนการบอกถึงลิขสิทธิ์การใชงาน joomla CMS ใหคลิ๊ก NEXT ตอไป
33




ในสวนนี้ใหใสรายละเอียดเกี่ยวกับฐานขอมูล
   - host name ใสช่อของ host สวนมากเปน localhost
                     ื
   - User Name ใสชื่อผูใชงานฐานขอมูล คือ root
   - Password ใสพาสเวิรดตามที่ตองไว
   - Data Base ชื่อฐานขอมูลตามที่สรางไวใน phpmyadmin
จากนั้นคลิ๊ก Next




สวนของการกําหนดคา FTP ยังไมใชงานวางไวกอน จากนั้น คลิ๊กปุม Next
                                            
34




ในสวนนี้เปนการกําหนดคาในขั้นตอนสุดทาย
   - site name ใสชอเว็บไซต กําหนดชื่อตามตองการ
                     ่ื
   - you E-mail ใสอีเมลของผูดูแลระบบ
   - admin password ใสรหัสผานในการเขาระบบของผูดูแลระบบ
   - confirm admin password ยืนยันรหัสผานอีกครับ
ในชองลงมา หากตองการติดตั้งขอมูลตัวอยางก็ใหคลิ๊กที่ install sample data (ในที่นไมขอติดตั้งขอมูลตัวอยาง)
                                                                                   ้ี
ตากนั้นคลิ๊ก Next จากนั้นจะมีหนาตางขึ้นมาใหยนยันวาขอมูลดังกลาวถูกตอง ให คลิก OK
                                               ื                                      ๊




เขามาสูหนานี้ ระบบจะบอกวา ชื่อผูใชงานของคุณคือ admin ระบบจะบอกใหทําการลบหรือเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร installation
ยังไมตองไปไหนในขั้นตอนนี้ใหทําการยอหนาตางเบราวเซอรไวกอน แลวใหทําการลบโฟลเดอร installation ทิ้งกอน
                                                               
35




                                                  ทําการลบโฟลเดอร installation ทิ้ง




จากนั้นมาทีเ่ บราวเซอร คลิ๊กที่ site เพื่อเขาดูหนาเว็บไซต หรือ admin เพื่อล็อกอินเขาระบบ




                                              หนาเว็บไซตแรกที่ยังไมมีขอมูลใด ๆ เลย
36

Note คําที่ใชตอนตอไป
    - Front end คือสวนหนาเว็บไซต ผูใชทั่วไปที่ไมตองลงทะเบียนหรือมีหนาที่ดแลระบบสามารถเขาถึงได
                                                                                 ู




    - Back end คือสวนดานในเว็บไซตที่ผูดูแลระบบใชจัดการตั้งคาระบบ พิมพเนื้อหาบทความตาง ๆ ผูใชทั่วไปไมสามารถ
      เขาถึงหนานี้ได




    - admin menu คือสวนของเมนูที่อยูดานบน




- cpanel หรือ control panel คือสวนของ back end ทั้งหมด
37

การเขา – ออกระบบ ผูดแลระบบ
                         ู
         การเขาสู cpanel สามารถทําไดโดยเขา หนา front end ตามปกติแลวพิมพช่อพาธ /administrator ตามหลัง
                                                                                ื



       จากนั้นกด enter ก็จะเขาสูหนาล็อกอินของ back end




       จากนั้นพิมพ User Name คือ admin, password ตามที่ตั้งไวตอนติดตั้ง จากนั้นคลิ๊ก login




       ก็จะเขาสูหนา cpanel
                 
38
การออกจากระบบ




คลิ๊กที่ logout ดานมุมบนขวามือของหนาจอ



การตั้งคาเบื้องตน




ทําการล็อกอินเขาหนา back end ของระบบ จากนั้นคลิ๊กที่ Global Configuration หรือไปที่ admin menu >> Global Configuration




จะเขามาสูหนานี้
39




ในชอง
- Global Site Meta Description ใสคาอธิบายเกียวกับเว็บไซต วาเปนเว็บไซตอะไร กําหนดตามตองการ
                                       ํ         ่
- Global Site Meta Keywords ใสคาคนหาหลักสําหรับเว็บไซตและสําคัญสําหรับ Search Engine (เว็บทีใหบริการคนหา เชน
                                     ํ                                                             ่
Google, yahoo เปนตน) กําหนดเปนคํา ๆ หรือประโยคที่สั้นเขาใจงายสามารถใสเทาไหรก็ไดโดยการเวนขึ้นคําใหมใหใช (,)
จุลภาค ขั้นไว เชน joomla, joomla thai เปนตน การใสจลภาคควรเวนวรรค (เคาะ Space Bar 1 ที) แลวตามดวยคําตอไป
                                                       ุ




        เลื่อนมาที่แท็บเมนู server
        ตั้งคาโซนเวลา ตามประเทศที่ตองการ หากเปนเมืองไทย เลือกเปน (UTC +07.00) Bangkok, Hanoi, Jakata
        จากนั้นคลิ๊ก save เพื่อบันทึกการตั้งคาที่ไดกระทําลงไป
40
บทบาทหนาที่ของ User Group Access levels for joomla
         joomla ไดแบงระดับการเขาถึงขอมูลไว 2 ระดับ คือ Front-end groups และ Administration section groups ซึ่งมีระดับการ
เขาถึงและจัดการที่แตกตางกันไป
Front-end groups มีดวยกัน 4 กลุม
ในกลุมนี้สามารถเขาจัดการในสวนใด ทางดานหนาเว็บไซต
        Registered - ผูลงทะเบียน กลุมนี้อนุญาตใหผูใชเขาสูระบบไปยังสวนหนาอินเตอรเฟส. ผูใชที่ลงทะเบียนไมสามารถมี
รวมกับเนื้อหาแตพวกเขาอาจจะเขาสวนจัดการ อื่น ๆ ได เชน เว็บบอรดหรือสวนดาวนโหลดสวนถาเว็บไซตของทานมี.
       Author - ผูแตง กลุมนี้อนุญาตใหโพสตเนือหาผานทางลิ้งกในเมนูผูใช พวกเขาสามารถสงเนื้อหาใหมเลือกตัวเลือกการ
                                                 ้
แสดงรายการในหนาแรกและเลือกวัน ที่สําหรับการเผยแพรแตพวกเขาไมสามารถเผยแพรเนื้อหาไดโดยตรง เมื่อเนื้อหาถูกสงโดย
ระดับพวกเขาจะไดรับขอความ ""ขอขอบคุณที่ใหการสง. การสงของคุณจะถูกตรวจสอบกอนที่การโพสตไปยังไซต" พวกเขา
สามารถแกไขบทความของพวกเขาเองเทานั้นแตเฉพาะเมื่อบทความทีไดรับ การเผยแพรและเห็นชอบ
                                                                  ่
          Editor - ผูแกไขหรือผูตรวจสอบ กลุม นี้อนุญาตใหผูใชโพสตและแกไขใดๆ (ที่ไมใชเฉพาะของตัวเอง) จากเนื้อหารายการ
จากดานหนาเว็บไซต นอกจากนี้ยังสามารถแกไขเนื้อหาที่ไมไดรับการเผยแพร ถาไซตของคุณใชการติดตั้งดีฟอลตของตัวเลือกเมนู
"ขาว" ซึ่งเปนตารางรายการ - สวนเนื้อหาประเภทบรรณาธิการยกเลิกการเผยแพรจะเห็นบทความในรายการที่พวกเขา สามารถเลือก
สําหรับการแกไขที่ในฐานะผูเ ขียนหรือผูเผยแพร (ที่ยังไมไดลงทะเบียน)
       Publisher - กลุมนี้อนุญาตใหผใชโพสตการแกไขและเผยแพรใด ๆ (ไมใชเฉพาะของตัวเอง) ผูเผยแพรสามารถทบทวน
                                      ู
บทความทั้งหมดแกไขและเปลี่ยนการเผยแพร ยังสามารถพิจารณาเมื่อมีการบทความเพื่อเผยแพรเมือมีผูเขียน หรือผูที่ยังไม
                                                                                         ่
ลงทะเบียนสงบทความเขามา
Administration section groups ระดับผูบริหารเว็บไซต มีดวยกัน 3 ระดับ
ในกลุมนี้สามารถเขาจัดการในสวนใด ทางดานหลังเว็บไซต
         Manager - ผูจัดการ กลุมนี้อนุญาตใหถึงการสรางขอมูล และระบบขอมูลอื่น ๆ ทางดานหลังเว็บไซต พวกเขาสามารถเขาสู
ระบบผานอินเตอรเฟสผูดูแลระบบแตสิทธิของตนเองและการ เขาถึงถูกจํากัด ในการจัดการเนื้อหา พวกเขาสามารถสรางหรือแกไข
เนื้อหา, การเขาใชบางสวนเฉพาะคุณสมบัติเชนเพิ่มการลบและแกไขหนาและเมนูแตพวก เขาไมมการเขาถึง "Mechanics" ของ
                                                                                            ี
Joomla เชนการจัดการผูใชหรือความสามารถในการติดตังองคประกอบหรือโมดูล
                                                       ้
         Administrator - ผูดแลระบบ กลุมนี้อนุญาตใหเขาถึงฟงกชนการบริหารสูงสุด ผูดูแลระบบมรสิทธิ์ในการจัดการ
                              ู                                   ั
ผูใช สามารถเขาถึงตั้งคาในการติดตั้ง/ลบ คอมโพเนนท โมดูล ปลั๊กอิน สามารถเขาถึงและดูสถิติเว็บไซต สิ่งที่พวกเขาไมาสามารถ
ดําเนินการไดคือ ติดตั้ง เทมเพลต
        Super Administrator - ผูดูแลระบบแบบซุปเปอร กลุมนี้อนุญาตใหเขาถึงการจัดการฟงกชั่นทั้งหมด
41
การสรางหมวดหมูไวเก็บเนื้อหาเว็บไซตใน joomla 1.5
        โครงสรางการจัดเก็บเนื้อหาของ joomla แบงไดดังนี้




        Section คือหมวดหมูใหญทสุด ซึ่งขางในจะเปนทีเ่ ก็บ Category ยอย ๆ ภายใน
                                       ี่
        Category คือหมวดหมูที่ใชสําหรับเก็บเนือหา บทความไวภายใน Category จะอยูภายใน Section
                                                    ้
        Content คือ พื้นที่ ที่ใชเก็บเนื้อหา Content จะอยูภายใน Category
                                                           

       Tip : คุณสามารถสรางเนื้อหาโดยไมตองกําหนด Section และ Category โดยการกําหนดเปน Uncategorised แทน

        เมื่อเขาใจโครงสรางของ joomla แลว ตอไปก็มาเริ่มสราง Section และ Category กัน

การสราง Section ทําการล็อกอินเขาระบบ back end




        คลิ๊กที่ Section manager หรือ เขาที่ admin menu >> content >> section manager
42




จากนั้นคลิ๊กทีปุม new
              ่




กําหนดรายละเอียดของ Section
- Title ชื่อของ section
- Alias ชื่อแทนของ section ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด
- Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น section ได
         - Access Level กําหนดเปน
         - Public บุคคลทั่วไปเห็นหรือเขาใชงานได
         - Registered บุคคลที่ทําการสมัครสมาชิกและล็อกอินเขาระบบจึงจะสามารถเห็นหรือเขาใชได
         - Special เฉพาะบุคคลที่เขาถึงหนา back end ไดเทานั้น
- Image รูปสําหรับ section สามารถใสรูปให section ได (ไมตองกําหนดก็ได)
- Image Position กําหนดตําแหนงของรูปภาพ (ไมตองกําหนดก็ได)
- Description รายละเอียด ของ section (ไมตองกําหนดก็ได)
43

          เมื่อใสรายละเอียดครบหมดแลว ใหทําการ save
เมื่อได Section แลวตอไปก็ทําการสราง Category

การสราง Category ขั้นตอนจะคลายการสราง Section




        คลิ๊กที่ Section manager หรือ เขาที่ admin menu >> content >> section manager




        จากนั้นคลิ๊ก New        เพื่อสราง Category ใหม
44




กําหนดรายละเอียดของ Category
- Title ชื่อของ Category
- Alias ชื่อแทนของ Category ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด
- Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น Category ได
- Section เลือก Section ที่ทําการเก็บ Category
- Access Level กําหนดเปน
         - Public บุคคลทั่วไปเห็นหรือเขาใชงานได
         - Registered บุคคลที่ทําการสมัครสมาชิกและล็อกอินเขาระบบจึงจะสามารถเห็นหรือเขาใชได
         - Special เฉพาะบุคคลที่เขาถึงหนา back end ไดเทานั้น
- Image รูปสําหรับ Category สามารถใสรูปให Category ได (ไมตองกําหนดก็ได)
- Image Position กําหนดตําแหนงของรูปภาพ (ไมตองกําหนดก็ได)
- Description รายละเอียด ของ Category (ไมตองกําหนดก็ได)

เมื่อใสรายละเอียดครบหมดแลว ใหทําการ Save
45
การสรางบทความ (article)
        หลังจากไดทําการสราง Section และ Category เพื่อใชเก็บ ตอไปก็ทําการสรางบทความ (article)




        คลิ๊กที่ Add new Article




        หรือเขาที่ Admin menu >> Content >> Article Manager




        จากนั้นคลิ๊กที่ New
46




       - Title ชื่อของบทความ
       - Alias ชื่อแทนของ บทความ ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด ถาปลอยวางไว joomla จะนําวันที่ เวลาที่บันทึกการ
สรางบทความนี้มาใสแทน เชน 2009-09-09-01-12 และจะแสดงที่ลิ้งก ทําใหลิ้งกของบทความไมสวย เพราะฉะนั้นกําหนดจะดีกวา
       - Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น section ได
       - Front Page กําหนดเปน yes คือกําหนดใหบทความนีแสดงที่ดานหนาสุดของเว็บ (home page) ถากําหนดเปน no คือ
                                                           ้
บทความนี้จะไมแสดงที่หนาเว็บไซต (home page)
       - Section เลือก Section ที่ทําการเก็บบทความ
       - Category เลือก Category ที่ทําการเก็บบทความ




       สวนนี้สาหรับพิมพ ขอความบทความตาง ๆ ใสรูปภาพ หรืออะไรที่ตองการได
               ํ                                                    
47
การใสรูปภาพลงในบทความ
         การใสรปภาพ โดยใชรูปภาพที่มีอยูแลว หรืออัพโหลดจากเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ
                ู




        คลิ๊กที่ Image




          เลือกรูปที่ตองการจาก โฟลเดอรที่มี หรืออัพโหลดจากเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ โดยการ Browser เมื่อเลือกภาพไดแลวก็
คลิ๊ก start upload
          เมื่อเลือกรูปได แลวใหคลิ๊ก insert เพื่อแทรกรูปภาพลงบนบทความ

                                Tip : โฟลเดอรที่ใชเก็บรูปภาพของ joomla คือ /images/stories


การแทรกภาพลงบนบทความดวยลิ้งก URL




        คลิ๊กที่รูปตนไม จะขึ้นหนาตางใหใสรายละเอียด
48




       ใส Full URL ของรูปภาพ เชน http://www.google.com/images.jpg

การสรางลิ้งก อานตอ Read more
        เปนการสรางบทความในสวนของไตเติ้ล กลาวนํากอนแลวใหผูอานเขามาอานตอดานใน




       ตองการจะตัดบทความใหเขามาอานตอตรงสวนไหน ก็นําเคอรเซอรมาวางแลว คลิ๊กที่ read more




       จะเกิดเสนขึ้นใหเราเห็นวาสวนนี้ลงไปเปนสวนที่ตองเขามาอานตอ
49




       รูปแบบการใช read more ในบทความ

การแบง บทความออกเปนหนา ๆ (Page Break)
        ในกรณีที่บทความหนึ่ง ๆ มีความยาวมาก ๆ และตองการแบงออกเปนสวน ๆ เพื่อใหดูดี หรือไมยาวเกินไป




       ตองการจะแบงบทความตรงสวนไหน ก็นําเคอรเซอรมาวางแลว คลิ๊กที่ Page Break




       จะปรากฏหนาตางนี้ข้นมา page title ใสช่อตามตองการ Table of contents alias ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษ จะดีที่สุด
                           ึ                   ื
50




       รูปแบบการแสดงผลจะเปนแบบนี้ มีสารบัญอยูดานขางของบทความ
การไมใช เครืองมือ editor
              ่
       สามารถทําไดโดยไมใช เครื่องมือ editor หรือเครื่องมือในการสรางบทความ แถบเครื่องมือที่เห็นมีหนาที่อํานวยความสะ
วกในการแทรกคําสั่ง ตาง ๆ ลงไปไดรวดเร็วขึ้นโดยทีไมตองมานั่งพิมพ แท็กคําสั่งเอง ทั้งหมด
                                                   ่




       หากตองการแทรกคําสั่ง HTML เองก็สามารถทําไดโดย คลิ๊กที่ Toggle Editor




       จะเห็นคําสั่งที่สามารถแกไขไดเอง




       การกําหนดพารามิเตอรของบทความ Parameters Article
51




            สวนนี้เปนการกําหนดชื่อผูเขียน ชื่อแทนผูเขียน วันที่ทําการสรางบทความ คุณสามารถกําหนดวันที่ งดเผยแพรบทความได
ที่น่ดวย
     ี
            การกําหนดพารามิเตอรแบบ advanced




            เปนการกําหนด ใหคาหรือไมแสดง รายละเอียดตาง ๆ ในบทความ

            การกําหนด metadata information




            ในสวนนี้มีประโยชนตอการคนหา ทั้งใน Search Engine และในเว็บไซต
                       - Description ใสคําอธิบายเกี่ยวกับบทความ วาเปนบทความอะไร กําหนดตามตองการ
                       - Keywords ใสคําคนหาหลักสําหรับบทความ กําหนดเปนคํา ๆ หรือประโยคที่สั้นเขาใจงายสามารถใสเทาไหร
            ก็ไดโดยการเวนขึ้นคําใหมใหใช (,) จุลภาค ขั้นไว เชน joomla, joomla thai เปนตน
                       - robots เปนคําสั่งที่ใชบอก robots (โปรแกรมสําหรับคนหาของ Search Engine) วาวรจะตองทําอะไรในบทความ
            นี้ คําสั่งหลัก ๆ มีดังนี้
                               - index ใหนําบทความนี้ไปแสดงที่ Search Engine
                               - follow ใหคนหาตอ กรณีมีลิ้งกในบทความและตองการให robots ไปตามลิ้งก URL ปลายทาง
                                               
52
                           - noindex ไมใหนําบทความนี้ไปแสดงที่ Search Engine
                           - nofollow ไมใหคนหาตอ กรณีมีลิ้งกในบทความและไมตองการให robots ไปตามลิ้งก URL ปลายทาง
        ใสคําสั่งใดคําสั่งหนึ่งก็ได หรือใสทั้งสองคําสั่งโดยใช (,) ขั้นระหวางคําสั่ง

การใชงาน menu manager
        การสรางเมนูลิ้งกไปหาบทความ section และ category ทําไดโดยคลิกที่ menu manager
                                                                      ๊




หรือเขาที่ admin menu >> menus >> main menu       main menu เปนเมนูหลักที่มีอยูแลวไมจําเปนตองสรางใหม
                                                                                 




จากนั้นคลิ๊กที่ new เพื่อทําการสรางเมนูยอย ใน main menu
53




คลิ๊กเลือก Articles




จะปรากฏเมนูยอยลงมา
   - Archive คือลิ้งกไปหาบทความที่ถูกเก็บ
   - Article คือลิ้งกไปหาบทความ
   - Category คือลิ้งกไปหา Category
   - Section คือลิ้งกไปหา Section

รูปแบบการแสดงผล
54
        จะเห็นวามีสวนของ blog layout และ list layout
blog layout จะเปนแบบรูปดานลางเหมือนหนา front page




list layout แสดงในสวนหัวขอบทความเทานั้น




เมื่อเขาใจรูปแบบการแสดงผลแลวตอไปก็ทําเมนูลิ้งกไปหาบทความตามตองการ ในที่นี้จะทําลิ้งกไปหา section




       ใสช่อ title , alias ตามตองการ
            ื
55




เลือก section ที่ตองการ เมื่อกําหนดเรียบรอยแลวก็คลิ๊ก save เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง




                                          จะเห็นเมนูที่สรางขึ้นดังในรูป

การสรางลิ้งกเมนูอื่น ๆ ก็ทําลักษณะคลาย ๆ กันนี้
56
การสรางเมนูใหม
        เมนูนี้มีลักษณะการทํางานเหมือนกับ main menu ไปที่ admin menu >> menu manager




       คลิ๊กที่ new เพื่อสรางเมนูใหม




       กําหนดชื่อตาง ๆ ตามตองการ




        เมนูที่สรางใหม นี้จะไปปรากฏที่ โมดูล (module) ซึ่งโมดูลนี้สามารถจะเคลื่อนยายไป วางตําแหนงไหนของเทมเพลท
(template) ก็ได เมื่อกําหนดชื่อเรียบรอยแลว ก็ทําการ save
57
       การใชงานเมนูที่สรางนี้ จะเหมือนกับการใชงาน main menu ดังที่กลาวมาแลวในขางตน




       เมนูที่สรางใหม จะกลายเปนโมดูล ไปโดยอัตโนมัติ

Trash manager
        ทํางานเปนถังขยะ มีในสวนของ article และ menu เทานั้น ประโยชนคือเมื่อคุณทําการลบ บทความหรือเมนู บทความหรือ
เมนูดังกลาวจะลงมาอยูในถังขยะ เพื่อปองกันความผิดพลาดกรณีลบผิดหรือตองการนํามาใชใหม ได ถาทําการลบออกจาก ถังขยะนี้
บทความหรือเมนูน้นจะหายไปและไมสามารถกูไดอีกตอไป
                  ั




Front page manager
       สวนนี้เอาไวสาหรับจัดการ การเผยแพรบทความดานหนาเว็บ
                     ํ
58
User Manager
        สวนจัดการผูใช สามารถลบ แกไขชื่อ รหัสผาน กําหนดสิทธิการใชงาน เพิ่มผูใชงานใหมไดที่น่ี ผูทมสิทธิใชในสวนนี้คือ
                                                                                                          ี่ ี
administrator และ super administrator




การเพิ่มผูใชงานใหม คลิ๊กที่ New กรอกรายละเอียด name, username, e-mail, password กําหนด group จากนั้นคลิก save
                                                                                                          ๊
59
สรางปายโฆษณา (banner)
ไปที่ admin menu >> component >> banner




เลื่อนมาที่แท็บเมนู categories เพื่อสราง categories กอนเพื่อใชในการเก็บ banner clients
คลิ๊กที่ new เพื่อสราง categories
60
ตั้งชื่อตามตองการเหมือนขั้นตอนการสราง section




เลื่อนมาแท็บเมนู clients คลิ๊ก new เพื่อสราง banner clients ใหม กําหนดชื่อ ชื่อผูติดตอ อีเมล และคําอธิบายเกี่ยวกับแบนเนอร
จากนั้นทําการ save




เลื่อนมาแท็บเมนู banners คลิ๊ก new สราง banner ใหม จากนั้นทกหาร save

              Tip : สามารถใชรูปในเว็บไซตมาทําแบนเนอรได โฟลเดอรสําหรับเก็บแบนเนอรอยูที่ /images/banners
                                                                                          
61
การสรางแบนเนอรโดยใช Banner Code




       นําโคดปายโฆษณามาใสในชอง Custom Banner Code

การสรางแบนเนอรแบบใชรปภาพจากภายนอก
                        ู
         สามารถสรางโดยใช URL รูปภาพจากที่อน และสงลิ้งกไปยังเว็บปลายทาง ทําไดโดยการสราง code ขึ้นมาแลวนําไปใสใน
                                            ื่
ชอง Custom Banner Code
ตัวอยาง code

 <a href="http://www.domain.com (URL ปลายทาง)" target="_blank"><img
 src="http://www.domain.org/images/banners/shop-ad-books.jpg(URL ของรูป)" " alt="ปายโฆษณา" /></a>

       วิธน้จะสงลิ้งกตรง ไปหาเว็บไซตปลายทางโดยไมผานการ redirect (เปลี่ยนเสนทาง)
          ี ี



         การใสล้งกปลายทางในชองนี้ ตองผานการ redirect กอน เชน เมื่อคลิกที่แบนเนอรจะเปน URL นี้
                  ิ                                                         ๊
http://127.0.0.1/joomla/index.php?option=com_banners&task=click&bid=1 กอน เสร็จแลวจะเปลียนเสนทางไปยัง URL
                                                                                               ่
ปลายทาง
62
การสรางรายชือผูติดตอ Contact
             ่
ไปที่ admin menu >> component >> contacts




คลิ๊กแท็บเมนู Categories จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใหม




ใส title และ alias จากนั้น Save
63
คลิ๊กแท็บเมนู Contacts จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสรางชื่อผูติดตอ




        - ใส name, alias
        - เลือก Category
        - linked to user สามารถกําหนดใหสงขอความติดตอไปหาผูใชงานที่ลงทะเบียนในบัญชี joomla ได
                                         




ในชอง information ใสรายละเอียดเกี่ยวกับที่อยูติดตอ
64
กําหนดพารามิเตอร ตองการจะแสดงหรือไมแสดงในสวนไหนของ contact ใหผูเยียมชมเว็บไซตเห็น
                                                                        ่




Advanced Parameter สําหรับเลือกรูปไอคอน
65

e-mail parameter ใชสําหรับใสรายชื่ออีเมลที่ไมตองการใหติดตอมา (banned) การใชงานสามารถกําหนดไดหลายอีเมลแลวคั่นดวย
เซมิโครอน (;)




News Feed Manager
         มีไวสําหรับดึงบทความ จากเว็บไซตอื่น ๆ มาแสดงที่เว็บไซตเรา การที่จะดึงมาไดเว็บไซตนั้น ๆ ตองเปดใหบริการ rss feed
ดวย ตัวอยางเว็บไซตที่เปดใหบริการ rss feed ของไทย คือ http://www.rssthai.com รูปแบบ URL feed ที่สามารถจะดึงบทความได
คือ ตองเปนนามสกุล XML เชน http://www.rssthai.com/rss/lastest.xml
66
การใชงาน Feed Manager
        ไปที่ admin menu >> components >> news feeds




คลิ๊กแท็บเมนู Categories จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใหม




ใสช่อ title, alias, description จากนั้น save
     ื
67
คลิ๊กแท็บเมนู Feeds คลิ๊ก New เพื่อสราง Feed ใหม




ใส name, alias, เลือก category , ใส link เมื่อกําหนดทุกอยางเสร็จ คลิ๊ก svae
68
ตัวอยางลิ้งก feed




การใชงาน Component News Feeds
        การใชงานตองสรางเมนูเพื่อลิ้งกไปหา feed ที่ไดสรางไว ไปที่ admin memu >> menus >> meun ของคุณ




จากนั้นคลิ๊ก new สรางเมนูใหม คลิ๊กเลือก news feed
69




เลือกรูปแบบการแสดงผล
70
ตั้งชื่อ title, alias เลือก feed ทําการ save




การแสดงผลดาน front end




การสรางโพลสํารวจ
        ไปที่ admin menu >> components >> polls
71


คลิ๊ก New




Option ของ poll มีทั้งหมด 12 ตัวเลือก
    - title ตั้งชื่อ poll
    - alias ชื่อแทน
    - lag กําหนดเวลาความถี่ในการโหวตครั้งตอไป หนวยเปนวินาที
    - Published เลือกเปน yes
จากนั้นทําการ save




การใชงานโพล ใหแสดงผลหนาเว็บไซต ตองสรางเปน โมดูล (module) ไวแสดงผลโพล ซึ่งจะกลาวตอไป
72
Search component




    เปนสวนเก็บสถิติการคนหาภายในเว็บไซต ปกติจะปดการทํางาน สามารถเปดการทํางานไดโดยคลิ๊กตั้งคาที่ parameter




    คลิ๊ก yes จากนั้น save




    ระบบจะทําการเก็บขอมูล คําคนหาที่ผูใช ใชคนหา จํานวนครั้งที่ทําการคนหา
                                                
73
Web Link Manager
      สําหรับเก็บลิ้งก URL ของเว็บไซตตาง ๆ ใหเปนหมวดหมู งายตอการใชงาน




       ไปที่ admin menu >> component >> web links




       คลิ๊กที่แท็บเมนู Categories จากนั้น คลิ๊ก new เพื่อสราง Categories




       ใสช่อ tile, alias
            ื
74




        คลิ๊กที่แท็บเมนู links จากนัน คลิ๊ก new เพื่อสราง links
                                    ้




        ใสขอมูลตาง ๆ ของลิ้งก ตามตองการ จากนั้น save
            




เลือกรูปแบบการแสดงผล
- all category การแสดงผลรวมทุก ๆ category
- category การแสดงเฉพาะ category ที่ระบุ
- web link submission layout สําหรับใสเว็บลิ้งกใหม ในหนา front end
75




ตั้งชื่อ title, alias เลือก category ทําการ save




รูปแบบการแสดงผลดาน front end
76
Media Manager
       สวนนี้มีไวสําหรับจัดการเกียวกับรูปภาพตาง ๆ ทั้งสรางโฟลเดอรสาหรับเก็บไฟลภาพ อัพโหลดรูปภาพ ลบรูปภาพ
                                   ่                                    ํ




การสรางโฟลเดอรสาหรับรูปภาพ พิมพชอที่ตองการแลวคลิ๊ก Create Folder
                  ํ                 ่ื
77
การอัพโหลดรูปภาพ




คลิ๊ก Browser จะปรากฏหนาตางสําหรับเลือกไฟลภายในเครื่อง จากนั้นกด open คลิ๊ก Start Upload
การลบรูปภาพ




คลิ๊กเลือกรูปที่ตองการลบจากนั้นคลิ๊ก Delete กรณีตองการลบหลายรูป การลบรูปเดียวใหคลิ๊กเครื่องหมายกากบาทสีแดงใตรูปภาพ
78
การติดตั้ง Extensions ของ joomla
การติดตั้ง extensions หรือตัวเสริมตาง ๆ เชนโมดูล เทมเพลท คอมโพเนนท ภาษา ทําไดดังนี้
เขาที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall




จากนั้นเลือกไฟล extensions ที่ดาวนโหลดมาจากในเครื่องคอมพิวเตอรของทาน เสร็จแลวกด upload file & install




หากทําการติดตั้งสําเร็จจะขึนขอความ Install ....... Success
                           ้




   Note : Extensions ของ joomla มี 2 เวอรชน ที่ใชงานกับ joomla 1.0 กับที่ใชงานบน joomla 1.5 และที่สามารถใชงานไดบน
                                           ั่
   joomla 1.0 และ joomla 1.5 ในโหมด legacy ตองแนใจวาใชงานกับเวอรชั่นไหน ไมเชนนั้นจะไมสามารถติดตั้งได
79
การถอนการติดตั้ง Extensions ของ joomla (Uninstall)
เขาที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall




เลือกแท็บเมนู Extensions ที่ตองการถอนการติดตั้ง
                             




คลิ๊กเลือก extension ที่ตองการ จากนั้น คลิ๊ก uninstall
80
การสรางโมดูลใหม (ตัวอยางการสรางโมดูลคนหา (Search))
        ทําการสรางเมนูคนหา (Search) มาที่ menu manager คลิ๊กที่ new เพื่อสรางโมดูลใหม




คลิ๊กเลือกที่ Search จากนันคลิ๊ก Next
                          ้
81




    -   title ตั้งชื่อใหกบโมดูล
                          ั
    -   Show title เลือกเปน no เพื่อไมใหแสดงชื่อโมดูลที่หนาเว็บไซต
    -   Enable เลือกเปน yes เพื่อเปดโมดูลใหใชงานได
    -   Position เลือกตําแหนงในการจัดวาง (User4)




Mass Mail
      ฟงกช่นที่ชวยใหคณสง อีเมล ไปยังกลุมผูใชงานไดงาย ๆ
             ั         ุ
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms
คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms

Contenu connexe

Tendances

สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpresskruburapha2012
 
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xคู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xPisan Chueachatchai
 
JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla!
JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla! JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla!
JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla! Akarawuth Tamrareang
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่Manop Kongoon
 
Joomla Mastering at NetDesign School
Joomla Mastering at NetDesign SchoolJoomla Mastering at NetDesign School
Joomla Mastering at NetDesign SchoolAkarawuth Tamrareang
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ Cupid Eros
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sruphochai
 
20080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-920080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-9Nong ton
 

Tendances (19)

Joomla 3.2 workshop at PIM.ac.th
Joomla 3.2 workshop at PIM.ac.thJoomla 3.2 workshop at PIM.ac.th
Joomla 3.2 workshop at PIM.ac.th
 
Joomla 2.5-netdesign
Joomla 2.5-netdesignJoomla 2.5-netdesign
Joomla 2.5-netdesign
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpressสร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
สร้างเว็บไซต์ด้วยWordpress
 
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.xคู่มือ อบรม Joomla! 3.x
คู่มือ อบรม Joomla! 3.x
 
Joomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP PortableJoomla3 : XAMPP Portable
Joomla3 : XAMPP Portable
 
JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla!
JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla! JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla!
JoomlaDay Bangkok 2014 - Various Solutions by Joomla!
 
Blog with Wordpress
Blog with WordpressBlog with Wordpress
Blog with Wordpress
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
Wordpress day01 MoT
Wordpress day01 MoTWordpress day01 MoT
Wordpress day01 MoT
 
Joomla 3.7 Workshop 1 Day
Joomla 3.7 Workshop 1 Day Joomla 3.7 Workshop 1 Day
Joomla 3.7 Workshop 1 Day
 
Joomla Mastering at NetDesign School
Joomla Mastering at NetDesign SchoolJoomla Mastering at NetDesign School
Joomla Mastering at NetDesign School
 
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
คู่มือการติดตั้ง Wordpress บน AppServ
 
Book sru
Book sruBook sru
Book sru
 
20080306 Joomla
20080306 Joomla20080306 Joomla
20080306 Joomla
 
20080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-920080306joomla 1214552387011563-9
20080306joomla 1214552387011563-9
 
Web Development with Joomla
Web Development with JoomlaWeb Development with Joomla
Web Development with Joomla
 
Joomla NetDesign2
Joomla NetDesign2Joomla NetDesign2
Joomla NetDesign2
 
Ch20
Ch20Ch20
Ch20
 

Similaire à คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms

อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaอบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaKrukeng Smedu III
 
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshopการบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla WorkshopSatapon Yosakonkun
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!Nakharin Inphiban
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!Nakharin Inphiban
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installationSo Pias
 
Joomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok UniversityJoomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok UniversityAkarawuth Tamrareang
 
Introduction Software Factory v1.1
Introduction Software Factory v1.1Introduction Software Factory v1.1
Introduction Software Factory v1.1Lek Pongpatimet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6arachaporn
 
Joomla
JoomlaJoomla
JoomlaNipon
 
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์Nakharin Inphiban
 

Similaire à คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms (20)

อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomlaอบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
อบรมการสร้างเว็บไซต์ระบบ Cms ด้วย joomla
 
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshopการบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
การบริการสารสนเทศบนเว็บด้วย OSS : Joomla Workshop
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
หน่วยที่ 1 รู้จักกับ joomla!
 
20121102 joomla2-5
20121102 joomla2-520121102 joomla2-5
20121102 joomla2-5
 
Joomla-installation
Joomla-installationJoomla-installation
Joomla-installation
 
Joomla 56 km
Joomla 56 kmJoomla 56 km
Joomla 56 km
 
Joomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok UniversityJoomla present at Bangkok University
Joomla present at Bangkok University
 
Introduction Software Factory v1.1
Introduction Software Factory v1.1Introduction Software Factory v1.1
Introduction Software Factory v1.1
 
Joomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-managerJoomla2-5-article-manager
Joomla2-5-article-manager
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
Joomla
JoomlaJoomla
Joomla
 
02 การสมัครใช้งาน word press
02 การสมัครใช้งาน word press02 การสมัครใช้งาน word press
02 การสมัครใช้งาน word press
 
joomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appservjoomla-2-5-install-appserv
joomla-2-5-install-appserv
 
Many Solutions with Joomla!
Many Solutions with Joomla!Many Solutions with Joomla!
Many Solutions with Joomla!
 
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
หน่วยที่ 9 จัดการหน้าแรกให้กับเว็บไซต์
 
Cms
CmsCms
Cms
 
Joomla Template
Joomla TemplateJoomla Template
Joomla Template
 

คู่มือการติดตั้งและใช้งานJoomla cms

  • 1. คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla! การติดตั้งและใชงานเบื้องตนจนถึงระดับกลาง Step By Step จัดทําโดย joomlathaiclub.com
  • 2. 2 คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla! คูมอการติดตั้งและใชงาน joomla CMS ที่ไดจัดทําขึ้นเพื่อใชเปนคูมือสําหรับผูเริ่มตนใชงาน joomlaCMS ในการทํา ื เว็บไซต เนื้อหาภายในเกี่ยวกับการทดลองติดตั้งและใชงาน joomla ดวยเครื่องมือที่มีอยูภายในตัว joomla การเตรียมความพรอม กอนลงมือปฏิบัติจริง ศึกษาและเขาใจเครื่องมือตาง ๆ ของ joomla เนือหาสวนใหญเนน รูปประกอบ ทําความเขาใจแลวปฏิบัติตาม ้ หวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับนี้จะเปนประโยชนแกผูที่สนใจศึกษาการทําเว็บไซตดวย joomlaCMS ผูจัดทํามิไดหวังผล  ทางการคา แตอยางใด และไมสงวนลิขสิทธิ์ สําหรับขอความ รูปประกอบ ในทุกสวนของเอกสารฉบับนี้ หากผูใดตองการนําไป เผยแพรตอ ก็สามารถทําได แตขอใหระบุแหลงที่มาของเอกสาร www.joomlathaiclub.com
  • 3. 3 สารบัญ ความหมายของ Content Management System (CMS)………………………………………………..……….…….…………………..4 การติดตั้ง Web Server จําลอง ....................................................................................................................................................................7 การติดตั้ง AppServ 2.5.10 …………………………………………………………………………………….……………….……….. 7 การติดตั้ง XAMPP …………………………………………………………………………………………………..…………………..13 เริ่มทําการติดตั้งและใชงาน ........................................................................................................................................................................27 การเขา – ออกระบบ ผูดูแลระบบ .............................................................................................................................................................37 บทบาทหนาที่ของ User Group Access levels for joomla ……………………………………………………………………………… 40 การสรางหมวดหมูไวเก็บเนื้อหาเว็บไซตใน joomla 1.5 ……………………………………………………………………………….. 41 การสรางบทความ (article) ……………………………………………………………………………………………………………... 45 การใสรูปภาพลงในบทความ .................................................................................................................................................................... 47 การใชงาน menu manager ……………………………………………………………………………………………………………… 52 การสรางเมนูใหม ………………………………………………………………………………………………………………………...56 Trash manager …………………………………………………………………………………………………………………………… 57 User Manager …………………………………………………………………………………………………………………………… 58 สรางปายโฆษณา (banner) ……………………………………………………………………………………………………………….. 59 การสรางแบนเนอรโดยใช Banner Code ………………………………………………………………………………………………… 61 การสรางรายชื่อผูติดตอ Contact ………………………………………………………………………………………………………….. 62 News Feed Manager ……………………………………………………………………………………………………………………….65 Search component …………………………………………………………………………………………………………………………72 Web Link Manager ……………………………………………………………………………………………………………………….. 73 Media Manager …………………………………………………………………………………………………………………………… 76 การติดตั้ง Extensions ของ joomla …………………………………………………………………………………………………..…… 78 การถอนการติดตั้ง Extensions ของ joomla (Uninstall) ……………………………………………………………………………..……..79 การสรางโมดูลใหม (ตัวอยางการสรางโมดูลคนหา (Search)) …………………………………………………………………….……… 80 Mass Mail ………………………………………………………………………………………………………………………………… 81 Clean Cache ………………………………………………………………………………………………………………….…...………. 82 Purge Expired Cache ………………………………………………………………………………………………………………….…...83 Syatem Information ………………………………………………………………………………………………………………….…... 83 ลงมือปฏิบัติ ………………………………………………………………………………………………………………….…............... 84 เกร็ดความรูเล็ก ๆ นอย ๆ ……………………………………………………………………………………………………………… 104 ขั้นตอนในการ Upgrade Joomla …………………………………………………………………………………………………………. 104 วิธีการเพิ่มความเร็ว - เพิ่มประสิทธิภาพ Joomla ………………………………………………………………………………………… 107 การใชงาน system legacy …………………………………………………………………………………………………………………109 การปดเว็บไซตชั่วคราวออฟไลท ………………………………………………………………………………………………………… . 110 ทําให url joomla 1.5 เปน search engine friendly …………………………………………………………………………………………. 111 มาเปลี่ยน favicon ให joomla กันเถอะ …………………………………………………………………………….………………………. 112 Upload joomla ที่ทําเสร็จจากเครื่องขึ้น hosting…………………………………………………………………………………………….. 114 การใชงาน phpmyadmin เบื้องตน ………………………………………………………………………………………………………..... 119 การใชงาน filezilla FTP manager …………………………………………………………………………………………………………... 124
  • 4. 4 คูมือการติดตั้งและใชงาน Joomla 1.5 CMS ความหมายของ Content Management System (CMS) ระบบการจัดการเนื้อหาของเว็บไซต(Content Management System : CMS) คือ ระบบที่พัฒนา คิดคนขึ้นมาเพื่อชวยลดทรัพยากร ในการพัฒนา(Development) และบริหาร(Management)เว็บไซต ไมวาจะเปนเรื่องของกําลังคน ระยะเวลา และเงินทอง ที่ใชในการ สรางและควบคุมดูแลไซต โดยสวนใหญแลว มักจะนําเอา ภาษาสคริปต(Script languages) ตางๆมาใช เพื่อใหวิธีการทํางานเปนแบบอัตโนมัติ ไมวาจะเปน PHP, Perl, ASP, Python หรือภาษาอื่นๆ(แลวแตความถนัดของผูพัฒนา) ซึ่งมักตองใชควบคูกันกับโปรแกรมเว็บเซิรฟเวอร(เชน Apache) และดาตาเบสเซิรฟเวอร(เชน MySQL) ลักษณะเดนของ CMS ก็คือ มีสวนของ Administration panel(เมนูผูควบคุมระบบ) ที่ใชในการบริหารจัดการสวนการทํางานตางๆ ในเว็บไซต ทําใหสามารถบริหารจัดการเนือหาไดอยางรวดเร็ว และเนนที่การ จัดการระบบผานเว็บ(Web interface) ในลักษณะ ้ รูปแบบของ ระบบเว็บทา(Portal Systems) โดย ตัวอยางของฟงกชันการทํางาน ไดแก การนําเสนอบทความ(Articles), เว็บ ไดเรคทอรี(Web directory), เผยแพรขาวสารตางๆ(News), หัวขอขาว(Headline), รายงานสภาพดินฟาอากาศ(Weather), ขอมูล ขาวสารที่นาสนใจ(Informations), ถาม/ตอบปญหา(FAQs), หองสนทนา(Chat), กระดานขาว(Forums), การจัดการไฟลในสวน  ดาวนโหลด(Downloads), แบบสอบถาม(Polls), ขอมูลสถิติตางๆ(Statistics) และสวนอื่นๆอีกมากมาย ที่สามารถเพิ่มเติม ดัดแปลง แกไขแลวประยุกตนํามาใชงานใหเหมาะสมตามแตรูปแบบและประเภทของเว็บไซตนั้นๆ Joomla คืออะไร? Joomla คือระบบที่ชวยในการจัดการเนื้อหา(Content Management System: CMS) บนเว็บไซต เพื่อชวยในการอํานวยความสะดวก ลดขั้นตอน และความยุงยากในการบริหารจัดการเว็บไซต โดยที่ ผูใชไมจําเปนตองมีความรูในดานการเขียนโปรแกรม หรือ ออกแบบเว็บไซต ก็สามารถจัดทําเว็บไซตดวยตัวเองได กอนจะมาเปนจุมลาในปจจุบัน Mambo หรือชือเดิม Mambo Open Source (MOS) เปนระบบจัดการเนื้อหาเว็บ (Content Management System) แบบโอเพนซอร ่ สที่มผูใชจํานวนมาก Mambo เคยชนะการประกวดซอฟตแวรของนิตยสาร Linux Format ในป 2004 และ LinuxWorld เมื่อป 2005 ี Mambo เปนซอฟตแวรที่มีความสามารถมากมาย เชน ปฏิทิน, RSS, เว็บบล็อก ปจจุบันมีกลุมนักพัฒนาจํานวนมากสรางโปรแกรม เสริมใหกับ Mambo การติดตั้ง Mambo จําเปนตองใช Apache HTTP Server, MySQL และ PHP เดิม Mambo พัฒนาโดยบริษัท Miro Corporation ประเทศออสเตรเลีย แตภายหลัง Miro ไดตั้ง Mambo Foundation ขึ้นมารับหนาที่แทน ใชสัญญาอนุญาตการใช งานแบบ GPL หลังจากการเปลี่ยนรูปแบบการพัฒนามาอยูใต Mambo Foundation นักพัฒนาเดิมสวนหนึ่งไดแยกไปตั้งโครงการ ใหมชื่อวา Joomla จูมลา! (Joomla!) เปนระบบจัดการเนือหาเว็บแบบโอเพนซอรส ที่เขียนดวยภาษาพีเอชพีและใชฐานขอมูล ้ MySQL เวอรชน 1.0 ออกเมือวันที่ 16 กันยายน ค.ศ. 2005 ทีมงาน พัฒนาจูมลา! แยกตัวออกมาจากการพัฒนา Mambo ซึ่งเปน ั ่ ระบบจัดการเนื้อหาเว็บที่ไดรับความนิยมอีกตัวหนึ่ง เนื่องจากมีความคิดเห็นไมตรงกับบริษัท Miro Corporation ในประเทศ ออสเตรเลีย ซึ่งเปนผูสนับสนุนหลักและเจาของเครื่องหมายการคา Mambo เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม ค.ศ. 2005
  • 5. 5 Joomla นั้นถูกออกแบบเวอรช่น มาอยู 2 แบบดวยกันคือ ั Joomla 1.0.xxx เปนเวอรชนที่ถูกพัฒนาตอมาจาก Mambo 4.5.x โดยแยกตัวออกมาทําเปนเวอรช่นของ Joomla โดยรูปแบบการใช ั่ ั งานยังคลายคลึงกับ Mambo 4.5.x อยู Joomla 1.5.xxx เปนเวอรชั่นที่ถูกพัฒนาแตกตาง ออกไปจาก Joomla เวอรชั่น 1.0.xxx อยางสิ้งเชิงทั้งเมนูการใชงานรวมถึงขั้นตอน การติดตั้ง และโครงสรางการทํางาน จากการทดสอบ ในการโหลดหนาเว็บไซต Joomla 1.5.xxx สามารถทํางานไดเร็วกวา Joomla 1.0.xxx Content Management System: CMS คืออะไร? Content Management System หรือ CMS ถาแปลตามตัว Content = เนือหา,บทความ Management=การจัดการ System =ระบบ ้ เพราะฉะนั้นจะไดความหายตามตัวคือ ระบบบริหารการจัดการเนื้อหา แตที่จริงแลว CMS นี้ถูกนํามาใชเรียกงานทางดานเว็บไซต ซะสวนใหญ เ ขาจึงเรียกระบบนี้วาเปนระบบบริการการจัดการเว็บไซต โดยที่ระบบนี้ นั้นนควาหมาย จะรวมไปถึงการจัดการ ขอมูลตางๆ ไมวาจะเปน ขอมูลที่เปนตัวอักษร รูปภาพ ไฟลงานตางๆดวย แลวแตผใชงานจะเลือกหรือกําหนดความตองการของ  ู ตัวเอง Jooma เหมาะกับเว็บไซตแบบไหนบาง? วาไปแลว Joomla นั้นเราสามารถนํามาประยุกตทําเว็บไซตไดทุกรูปแบบ ตัวอยางเชน * Corporate Web sites or portals * Corporate intranets and extranets * Online magazines, newspapers, and publications * E-commerce and online reservations * Government applications * Small business Web sites * Non-profit and organizational Web sites * Community-based portals * School and church Web sites * Personal or family homepages ทําความเขาใจเกี่ยวกับการใชงาน Joomla! Joomla ถูกพัฒนาขึ้นดวยภาษา PHP และฐานขอมูล MySQL การที่จะใชงานไดนั้นจําเปนตองมี web server (เครื่องคอมพิวเตอร ที่ใหบริการเผยแพรขอมูลทางอินเตอรเน็ต) ซึ่งตองรองรับการทํางานของ PHP และ MySQL web server ที่เหมาะสมที่สุดสําหรับ joomla ก็คือ web server ที่ติดตั้งดวยระบบปฏิบัติการ Unix หรือ Linux นอกจากจะถูกกวา web server ที่ติดตั้งดวยระบบปฏิบัติการ windows server เพราะไมตองเสียคาลิขสิทธิ์ ปญหาการใชงานเล็ก ๆ นอย ๆ ก็ยงมีนอยกวา windows server  ั
  • 6. 6 ความตองการของระบบในการติดตั้ง Software Recommended Minimum More information PHP* 5.2 + 4.3.10 http://www.php.net MySQL** 4.1.x + 3.23 http://www.mysql.com Apache*** 2.x + 1.3 http://www.apache.org (with mod_mysql, mod_xml, and mod_zlib) Microsoft IIS**** 7 6 http://www.iis.net * ไมควรใช PHP 4.3.9, 4.4.2 หรือ 5.0.4. และ Zend Optimizer 2.5.10 สําหรับ PHP 4.4.x ยังมีขอบกพรองรายแรงและคุณควรขอ โฮสตของคุณเพื่ออัปเกรดเปนเวอรชันใหม . Joomla ยังไมสามารถทํางานรวมกับ PHP 5.3 ** Joomla ยังไมสามารถทํางานรวมกับ MySQL 6.x. *** เพื่อที่จะใช SEO URL ที่คุณจะตองมี Apache mod_rewrite **** Joomla จะเหมาะสําหรับ Apache แตยังทํางานบน Microsoft IIS (แตไมสนับสนุนอยางเปนทางการ). ขึ้นอยูกับการตั้งคาของ  คุณตอไปนี้ PHP 5.2 MySQL 5.1 Apache 2.2 Microsoft URL Rewrite Module – ความตองการสําหรับ SEO URLs เทานั้น Joomla 1.6 will require PHP 5.2+ and MySQL 5.0.4+. จะเห็นวาตองมี web server ที่มความพรอมจริง ๆ ในการลงระบบ joomla หากตองการทําสอบ joomla ในเครื่องคอมพิวเตอรของ ี คุณเองสามารถทําไดโดยใชโปรแกรม web server จําลอง ที่มีความสามารถในการจําลองระบบใหเหมือนกับ web server จริง ๆ โปรแกรม web server มีอยูหลายตัวใหเลือกใชการติดตังงาย ๆ เพียงแค Next ไมกี่ขั้นตอนก็เสร็จเรียบรอย อยางเชน  ้ - AppServ ดาวนโหลดฟรี ๆ ไดที่ http://www.appservnetwork.com/ - XAMPP ดาวนโหลดฟรี ๆ ไดที่ http://www.apachefriends.org/ เลือกเอาตัวใดตัวหนึงครับ แตผมจะแนะนําคือ XAMPP ความตางก็คือมีระบบจําลองการทํางานของ FTP Server และ Mail Server ่ มาใหดวยทําใหการใชงานเหมือน server จริง ๆ มาขึ้น 
  • 7. 7 การติดตั้ง Web Server จําลอง การติดตั้ง AppServ 2.5.10 AppServ รุน 2.5.10 มีรายละเอียดดังนี้ • Apache 2.2.8 • PHP 5.2.6 • MySQL 5.0.51b • phpMyAdmin 2.10.3 เหตุที่เลือกตัวนี้เพราะมี php5 ดวยซึ่งการใชงานในปจจุบัน นั้นเริ่มที่จะหลากหลายมากขึ้น แมวาจะมีที่เปนเวอรช่น php6 แลวก็ตาม ั อีกอีกยาวไกลกวาจะมีความนิยมอยางหลากหลาย กอนอืนก็ดาวนโหลดตัวติดตั้งที่ http://www.appservnetwork.com/ ตัวนี้คนไทย ่ เปนผูพัฒนาครับ และไดรับความนิยมอยางแพรหลาย หมายเหตุ กอนอื่นตองแนใจวาคุณไมเคยติดตั้งโปรแกรมจําลองเครื่องเปน Server หากเคยใหถอนออกกอนการติดตั้ง หากติดตั้ง IIS ไวตองปดการทํางานกอนเชนกัน เริ่มติดตัง ้ 1. ดับเบิลคลิ๊กappserv-win32-x.x.x.exe เพือติดตั้ง AppServ บนเครื่องPC ่
  • 8. 8 2. คลิ๊ก Next จะพบกับหนาจอ ประกาศเรื่องลิขสิทธิ์ ซึ่งเปน ลิขสิทธิ์แบบ GNU/GPL License 3. เมื่อคลิ๊กI Agree เพื่อยอมรับลิขสิทธิ์แลว ก็จะเขาสูหนาเลือกโฟลเดอร และไดรฟ ที่จะติดตั้ง ในที่นี้เปน C:AppServ
  • 9. 9 4. เมื่อคลิ๊กNext จะเขาสูหนาเลือก คอมโพเนนที่จะติดตั้ง ในที่นี้คลิ๊กใหหมดทุกตัว 5. หนาServer Information ชอง Server Name ใหใสlocalhost ชอง Admin Email ใหใสemail ของเราไป ชอง HTTP Port ใหใสหมายเลข Port ที่ตองการเผยแพรเขาไป ในที่นแนะนําเปน 80 จากนั้นคลิ๊ก Next ี้
  • 10. 10 6. ตั้งคา MySQL ชองEnter Root Password ใสรหัสผานสําหรับ Account User: root หมายเหตุ กรุณาใสรหัสที่คณจําไดงายๆ ุ Re-Enter Root Password ใสรหัสผานสําหรับ root อีกครั้งใหเหมือนเดิม ชอง Character Sets เลือกเปน TIS620 Thai เพื่อใชงานกับภาษาไทย หรือ UTF-8 ก็ได แต เวลาใชงานจริงบนโอสติ้งตอง ตรวจสอบกอนวาโฮสเราสนับสนุน UTF-8 หรือไม จากนั้นคลิ๊กInstall
  • 11. 11 7. จากนั้นโปรแกรมจะถูกติดตั้ง รอจนครบ 100% ในระหวางนี้ หาก Windows มีการสอบถามเรื่องการ Block โปรแกรม ใหคลิ๊ก Unblock โปรแกรมจะถูกติดตั้งอยางสมบูรณ 8. เมื่อระบบติดตั้งจนครบ 100 % ก็จะเขาสูหนาสุดทาย ระบบจะถามวา จะเริ่มให Apache และ MySQL ทํางานหรือไม จากนั้น คลิ๊ก Finish
  • 12. 12 9. เมื่อติดตั้งเสร็จ ใหเปด Internet Explorer หรือ Mozilla Firefox ขึ้นมา ชอง Address พิมพ http://localhost เพื่อทดสอบ หาก สําเร็จ จะมีหนาจอดังภาพ โครงสรางของโฟลเดอร เราจะเก็บ joomla ไวใน โฟลเดอร www (c:appservwww)
  • 13. 13 การติดตั้ง XAMPP XAMPP for windows เปนโปรแกรมจําลอง web serverเอาไวสําหรับทดสอบ สคริปหรือเว็บไซต ที่เราพัฒนาภายในเครื่องของเรา เอง เวอรชั่นทีจะแนะนําคือ XAMPP 1.6.8 bate 2 ซึ่งเปนเวอรชั่นทดลองใชอยูแตเทาที่ใชดูก็โอเค ดีครับ ในตัวนี้มี ่ * Apache HTTPD 2.2.9 + Openssl 0.9.8i * MySQL 5.0.67 * PHP 5.2.6 * PHP 4.4.9 * phpMyAdmin 2.11.9.2 * FileZilla FTP Server 0.9.27 * Mercury Mail Transport System 4.52 สามารถสลับระหวาง PHP 4 และ PHP 5 ทําการดาวนโหลดตัวติดตั้งไดที่ http://www.apachefriends.org/ ขนาด ไฟลประมาณ 38 MB เมื่อทําการดาวนโหลดเสร็จสิ้นทําการติดตั้งเลยครับ โดยดับเบิ้ลคลิ๊กที่ xampp-win32-1.6.8-installer- beta2.exe 1.เลือกภาษาติดตั้ง 2.next
  • 15. 15 4.เลือกติดตั้ง service ทั้งหมด next ตอไป 5.เริ่มทําการติดตั้งรอสักครู
  • 16. 16 6.ทําการติดตั้งเสร็จเรียบรอย กด finish 7.โฟลเดอรที่ใชเก็บขอมูลจะอยูที่ C:xampphtdocs ลองเขาบราวดเซอร http://localhost เลือกภาษาที่จะใชงาน จะพบหนาจะดังรูป
  • 17. 17 8.เขาเมนู Security เพื่อจัดการกําหนดรหัสผานสําหรับเขาใชงาน server และฐานขอมูล 9.คลิ๊กที่ http://localhost/security/xamppsecurity.php
  • 18. 18 10.กําหนดรหัสผาน ของ MySQL SuperUser หรือ root ยืนยันรหัสผานอีกครั้ง กด password changing 11.กําหนดชื่อผูใชงาน ไดเรกทอรี (เมื่อตองการ กําหนดหรือไมก็ได)
  • 19. 19 12.ระบบจะทําการบันทึกรหัสผานไวที่ไฟล ดังกลาว 13.ถาเรากําหนดรหัสผานการเขาใชไดเรกทอรี เวลาเขา http://localhost จะถามชื่อล็อกอินและรหัสผานดว 14.เมื่อเขา http://localhost/phpmyadmin/ รหัสตามที่ตั้งไว
  • 20. 20 15.เขาปรับแตง FTP server (C:xamppFileZillaFTPFileZilla Server Interface.exe) 16.กําหนดรหัสผาน เสร็จแลว กด ok
  • 21. 21 17.เขาเมนู edit > users > General เลือกยูส แกไขรหัสผานใหม เสร็จแลวกด ok 18.ตรวจดู พาท ของ FTP วาถูกตองหรือไม ปกติจะอยูที่ C:xampphtdocs
  • 22. 22 19.ทําการสตารทเซอรวิส ทั้งหมด โดยคลิ๊กที่ รูป ดานบน 20.ทดสอบ ทําการงาน ของ FTP Server เขาที่โปรแกรม FTP - host = localhost - username = newuser - password = ตามที่ไดตั้งไว
  • 23. 23 21.เขาปรับแตงโปรแกรม mail server คลิ๊กที่ admin ดังในรูปดานลางนี้ 22.เมนู configruation > manage local user
  • 25. 25 24.เปลี่ยน password ใหม 25.เขาใชงาน mail server ไดที่ http://127.0.0.1/xampp/mailform.php (newuser@localhost) 26.เปดใหสามารถใชงาน mod_rewrite ได เขาไปแกที่ C:xamppapacheconfhttpd.conf ใน บรรทัด #LoadModule rewrite_module modules/mod_rewrite.so เอาเครื่องหมาย # ออก ทําการเซฟ สั่ง stop apache เสร็จ สั่ง start apache ใหมอีกรอบ
  • 26. 26 เมื่อ บูตเครื่องใหม โปรแกรม FTP อาจจะไมทํางาน ตองสั่งใหมนทํางานดวยมือเอง ที่ C:xamppxampp-control.exe สั่งสตารท ทั้ง ั FTP และ โปรแกรม mail server
  • 27. 27 เริ่มทําการติดตั้งและใชงาน กอนทําการติดตั้งนั้นตองทําการดาวนโหลดสตริปสําหรับติดตั้งกอนครับ โดยสามารถดาวนโหลดไดที่ http://www.joomla.org เลือกเวอรชน joomla 1.5.14 ั คลิ๊กที่รูป Download Jomla เลือกดาวนโหลดแบบ Full Package คลิ๊กที่ลิ้งก ZIP
  • 28. 28 เลือก Save ไฟลไวในเครื่อง รอจนดาวนโหลดเสร็จสิ้น เมื่อดาวนโหลดไฟลเสร็จเรียบรอยแลวจะไดไฟลที่มีนามสกุล *.zip ใหทําการแตกไฟลออก โดยใชโปรแกรมจัดการไฟลบีบอัด อยางเชน 7zip, winzip, winRAR ฯลฯ
  • 30. 30 ใหกอปปไฟลทั้งหมด นําไปวางไปบน web server จําลองที่ไดติดตั้งไวแลวตาม เนื้อหากอนหนานี้ (XAMPP) ็  โฟลเดอร c:xampphtdocs ทําการสรางโฟลเดอรใหมทชื่อวา joomla แลวนําไฟลที่ไดก็อปปไวแลวดังขางตน นํามาวางในโฟล ี่ เดอร joomla นี้ รูปโฟลเดอรที่ทําการสรางขึ้นในชื่อ joomla เมื่อทําการก็อปปแลวใหเขาที่โปรแกรมเบราวเซอร (browser) พิมพในชอง address http://localhost/phpmyadmin เพื่อเขา จัดการสรางฐาน MySQL เอาไวสาหรับติดตั้ง joomla ํ พิมพช่อ User name เปน root, password ตามที่ตั้งไวตอนติดตั้งโปรแกรม XAMPP จากนั้นคลิ๊กปุม Go เพื่อล็อกอินเขา ื ระบบ
  • 31. 31 จะเขามาสูหนานี้ ในชอง Create new database ใหพิมพชื่อฐานขอมูลตามตองการ (ในที่นี้ขอตั้งชือเปน joomla) จากนั้น ่ คลิ๊กปุม Create เมื่อขึ้นเครื่องหมายถูกพรอมกรอบสีเขียวแสดงวา การสรางฐานขอมูลเสร็จเรียบรอย จากนั้นพิมพในชื่อ address วา http://localhost/joomla สคริปติดตั้งจะนําพามาสูหนาติดตั้งโดยอัตโนมัติ ใหทําการเลือกภา ที่ใชในการติดตั้ง ในที่น้ขอเลือกเปนภาษาอังกฤษ จากนันคลิ๊กปุม Next (ดานมุมบนขวามือ) ี ้
  • 32. 32 ตัวหนังสือสีแดงที่ข้นวา no ใหปลอยไวยงไมตองสนใจในสวนนี้ ใหคลิ๊ก Next เพื่อไปขั้นตอนถัดไป ึ ั หนานี้เปนการบอกถึงลิขสิทธิ์การใชงาน joomla CMS ใหคลิ๊ก NEXT ตอไป
  • 33. 33 ในสวนนี้ใหใสรายละเอียดเกี่ยวกับฐานขอมูล - host name ใสช่อของ host สวนมากเปน localhost ื - User Name ใสชื่อผูใชงานฐานขอมูล คือ root - Password ใสพาสเวิรดตามที่ตองไว - Data Base ชื่อฐานขอมูลตามที่สรางไวใน phpmyadmin จากนั้นคลิ๊ก Next สวนของการกําหนดคา FTP ยังไมใชงานวางไวกอน จากนั้น คลิ๊กปุม Next 
  • 34. 34 ในสวนนี้เปนการกําหนดคาในขั้นตอนสุดทาย - site name ใสชอเว็บไซต กําหนดชื่อตามตองการ ่ื - you E-mail ใสอีเมลของผูดูแลระบบ - admin password ใสรหัสผานในการเขาระบบของผูดูแลระบบ - confirm admin password ยืนยันรหัสผานอีกครับ ในชองลงมา หากตองการติดตั้งขอมูลตัวอยางก็ใหคลิ๊กที่ install sample data (ในที่นไมขอติดตั้งขอมูลตัวอยาง) ้ี ตากนั้นคลิ๊ก Next จากนั้นจะมีหนาตางขึ้นมาใหยนยันวาขอมูลดังกลาวถูกตอง ให คลิก OK ื ๊ เขามาสูหนานี้ ระบบจะบอกวา ชื่อผูใชงานของคุณคือ admin ระบบจะบอกใหทําการลบหรือเปลี่ยนชื่อโฟลเดอร installation ยังไมตองไปไหนในขั้นตอนนี้ใหทําการยอหนาตางเบราวเซอรไวกอน แลวใหทําการลบโฟลเดอร installation ทิ้งกอน 
  • 35. 35 ทําการลบโฟลเดอร installation ทิ้ง จากนั้นมาทีเ่ บราวเซอร คลิ๊กที่ site เพื่อเขาดูหนาเว็บไซต หรือ admin เพื่อล็อกอินเขาระบบ หนาเว็บไซตแรกที่ยังไมมีขอมูลใด ๆ เลย
  • 36. 36 Note คําที่ใชตอนตอไป - Front end คือสวนหนาเว็บไซต ผูใชทั่วไปที่ไมตองลงทะเบียนหรือมีหนาที่ดแลระบบสามารถเขาถึงได ู - Back end คือสวนดานในเว็บไซตที่ผูดูแลระบบใชจัดการตั้งคาระบบ พิมพเนื้อหาบทความตาง ๆ ผูใชทั่วไปไมสามารถ เขาถึงหนานี้ได - admin menu คือสวนของเมนูที่อยูดานบน - cpanel หรือ control panel คือสวนของ back end ทั้งหมด
  • 37. 37 การเขา – ออกระบบ ผูดแลระบบ ู การเขาสู cpanel สามารถทําไดโดยเขา หนา front end ตามปกติแลวพิมพช่อพาธ /administrator ตามหลัง ื จากนั้นกด enter ก็จะเขาสูหนาล็อกอินของ back end จากนั้นพิมพ User Name คือ admin, password ตามที่ตั้งไวตอนติดตั้ง จากนั้นคลิ๊ก login ก็จะเขาสูหนา cpanel 
  • 38. 38 การออกจากระบบ คลิ๊กที่ logout ดานมุมบนขวามือของหนาจอ การตั้งคาเบื้องตน ทําการล็อกอินเขาหนา back end ของระบบ จากนั้นคลิ๊กที่ Global Configuration หรือไปที่ admin menu >> Global Configuration จะเขามาสูหนานี้
  • 39. 39 ในชอง - Global Site Meta Description ใสคาอธิบายเกียวกับเว็บไซต วาเปนเว็บไซตอะไร กําหนดตามตองการ ํ ่ - Global Site Meta Keywords ใสคาคนหาหลักสําหรับเว็บไซตและสําคัญสําหรับ Search Engine (เว็บทีใหบริการคนหา เชน ํ ่ Google, yahoo เปนตน) กําหนดเปนคํา ๆ หรือประโยคที่สั้นเขาใจงายสามารถใสเทาไหรก็ไดโดยการเวนขึ้นคําใหมใหใช (,) จุลภาค ขั้นไว เชน joomla, joomla thai เปนตน การใสจลภาคควรเวนวรรค (เคาะ Space Bar 1 ที) แลวตามดวยคําตอไป ุ เลื่อนมาที่แท็บเมนู server ตั้งคาโซนเวลา ตามประเทศที่ตองการ หากเปนเมืองไทย เลือกเปน (UTC +07.00) Bangkok, Hanoi, Jakata จากนั้นคลิ๊ก save เพื่อบันทึกการตั้งคาที่ไดกระทําลงไป
  • 40. 40 บทบาทหนาที่ของ User Group Access levels for joomla joomla ไดแบงระดับการเขาถึงขอมูลไว 2 ระดับ คือ Front-end groups และ Administration section groups ซึ่งมีระดับการ เขาถึงและจัดการที่แตกตางกันไป Front-end groups มีดวยกัน 4 กลุม ในกลุมนี้สามารถเขาจัดการในสวนใด ทางดานหนาเว็บไซต Registered - ผูลงทะเบียน กลุมนี้อนุญาตใหผูใชเขาสูระบบไปยังสวนหนาอินเตอรเฟส. ผูใชที่ลงทะเบียนไมสามารถมี รวมกับเนื้อหาแตพวกเขาอาจจะเขาสวนจัดการ อื่น ๆ ได เชน เว็บบอรดหรือสวนดาวนโหลดสวนถาเว็บไซตของทานมี. Author - ผูแตง กลุมนี้อนุญาตใหโพสตเนือหาผานทางลิ้งกในเมนูผูใช พวกเขาสามารถสงเนื้อหาใหมเลือกตัวเลือกการ ้ แสดงรายการในหนาแรกและเลือกวัน ที่สําหรับการเผยแพรแตพวกเขาไมสามารถเผยแพรเนื้อหาไดโดยตรง เมื่อเนื้อหาถูกสงโดย ระดับพวกเขาจะไดรับขอความ ""ขอขอบคุณที่ใหการสง. การสงของคุณจะถูกตรวจสอบกอนที่การโพสตไปยังไซต" พวกเขา สามารถแกไขบทความของพวกเขาเองเทานั้นแตเฉพาะเมื่อบทความทีไดรับ การเผยแพรและเห็นชอบ ่ Editor - ผูแกไขหรือผูตรวจสอบ กลุม นี้อนุญาตใหผูใชโพสตและแกไขใดๆ (ที่ไมใชเฉพาะของตัวเอง) จากเนื้อหารายการ จากดานหนาเว็บไซต นอกจากนี้ยังสามารถแกไขเนื้อหาที่ไมไดรับการเผยแพร ถาไซตของคุณใชการติดตั้งดีฟอลตของตัวเลือกเมนู "ขาว" ซึ่งเปนตารางรายการ - สวนเนื้อหาประเภทบรรณาธิการยกเลิกการเผยแพรจะเห็นบทความในรายการที่พวกเขา สามารถเลือก สําหรับการแกไขที่ในฐานะผูเ ขียนหรือผูเผยแพร (ที่ยังไมไดลงทะเบียน) Publisher - กลุมนี้อนุญาตใหผใชโพสตการแกไขและเผยแพรใด ๆ (ไมใชเฉพาะของตัวเอง) ผูเผยแพรสามารถทบทวน ู บทความทั้งหมดแกไขและเปลี่ยนการเผยแพร ยังสามารถพิจารณาเมื่อมีการบทความเพื่อเผยแพรเมือมีผูเขียน หรือผูที่ยังไม ่ ลงทะเบียนสงบทความเขามา Administration section groups ระดับผูบริหารเว็บไซต มีดวยกัน 3 ระดับ ในกลุมนี้สามารถเขาจัดการในสวนใด ทางดานหลังเว็บไซต Manager - ผูจัดการ กลุมนี้อนุญาตใหถึงการสรางขอมูล และระบบขอมูลอื่น ๆ ทางดานหลังเว็บไซต พวกเขาสามารถเขาสู ระบบผานอินเตอรเฟสผูดูแลระบบแตสิทธิของตนเองและการ เขาถึงถูกจํากัด ในการจัดการเนื้อหา พวกเขาสามารถสรางหรือแกไข เนื้อหา, การเขาใชบางสวนเฉพาะคุณสมบัติเชนเพิ่มการลบและแกไขหนาและเมนูแตพวก เขาไมมการเขาถึง "Mechanics" ของ ี Joomla เชนการจัดการผูใชหรือความสามารถในการติดตังองคประกอบหรือโมดูล ้ Administrator - ผูดแลระบบ กลุมนี้อนุญาตใหเขาถึงฟงกชนการบริหารสูงสุด ผูดูแลระบบมรสิทธิ์ในการจัดการ ู ั ผูใช สามารถเขาถึงตั้งคาในการติดตั้ง/ลบ คอมโพเนนท โมดูล ปลั๊กอิน สามารถเขาถึงและดูสถิติเว็บไซต สิ่งที่พวกเขาไมาสามารถ ดําเนินการไดคือ ติดตั้ง เทมเพลต Super Administrator - ผูดูแลระบบแบบซุปเปอร กลุมนี้อนุญาตใหเขาถึงการจัดการฟงกชั่นทั้งหมด
  • 41. 41 การสรางหมวดหมูไวเก็บเนื้อหาเว็บไซตใน joomla 1.5 โครงสรางการจัดเก็บเนื้อหาของ joomla แบงไดดังนี้ Section คือหมวดหมูใหญทสุด ซึ่งขางในจะเปนทีเ่ ก็บ Category ยอย ๆ ภายใน  ี่ Category คือหมวดหมูที่ใชสําหรับเก็บเนือหา บทความไวภายใน Category จะอยูภายใน Section ้ Content คือ พื้นที่ ที่ใชเก็บเนื้อหา Content จะอยูภายใน Category  Tip : คุณสามารถสรางเนื้อหาโดยไมตองกําหนด Section และ Category โดยการกําหนดเปน Uncategorised แทน เมื่อเขาใจโครงสรางของ joomla แลว ตอไปก็มาเริ่มสราง Section และ Category กัน การสราง Section ทําการล็อกอินเขาระบบ back end คลิ๊กที่ Section manager หรือ เขาที่ admin menu >> content >> section manager
  • 42. 42 จากนั้นคลิ๊กทีปุม new ่ กําหนดรายละเอียดของ Section - Title ชื่อของ section - Alias ชื่อแทนของ section ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด - Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น section ได - Access Level กําหนดเปน - Public บุคคลทั่วไปเห็นหรือเขาใชงานได - Registered บุคคลที่ทําการสมัครสมาชิกและล็อกอินเขาระบบจึงจะสามารถเห็นหรือเขาใชได - Special เฉพาะบุคคลที่เขาถึงหนา back end ไดเทานั้น - Image รูปสําหรับ section สามารถใสรูปให section ได (ไมตองกําหนดก็ได) - Image Position กําหนดตําแหนงของรูปภาพ (ไมตองกําหนดก็ได) - Description รายละเอียด ของ section (ไมตองกําหนดก็ได)
  • 43. 43 เมื่อใสรายละเอียดครบหมดแลว ใหทําการ save เมื่อได Section แลวตอไปก็ทําการสราง Category การสราง Category ขั้นตอนจะคลายการสราง Section คลิ๊กที่ Section manager หรือ เขาที่ admin menu >> content >> section manager จากนั้นคลิ๊ก New เพื่อสราง Category ใหม
  • 44. 44 กําหนดรายละเอียดของ Category - Title ชื่อของ Category - Alias ชื่อแทนของ Category ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด - Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น Category ได - Section เลือก Section ที่ทําการเก็บ Category - Access Level กําหนดเปน - Public บุคคลทั่วไปเห็นหรือเขาใชงานได - Registered บุคคลที่ทําการสมัครสมาชิกและล็อกอินเขาระบบจึงจะสามารถเห็นหรือเขาใชได - Special เฉพาะบุคคลที่เขาถึงหนา back end ไดเทานั้น - Image รูปสําหรับ Category สามารถใสรูปให Category ได (ไมตองกําหนดก็ได) - Image Position กําหนดตําแหนงของรูปภาพ (ไมตองกําหนดก็ได) - Description รายละเอียด ของ Category (ไมตองกําหนดก็ได) เมื่อใสรายละเอียดครบหมดแลว ใหทําการ Save
  • 45. 45 การสรางบทความ (article) หลังจากไดทําการสราง Section และ Category เพื่อใชเก็บ ตอไปก็ทําการสรางบทความ (article) คลิ๊กที่ Add new Article หรือเขาที่ Admin menu >> Content >> Article Manager จากนั้นคลิ๊กที่ New
  • 46. 46 - Title ชื่อของบทความ - Alias ชื่อแทนของ บทความ ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษจะดีที่สุด ถาปลอยวางไว joomla จะนําวันที่ เวลาที่บันทึกการ สรางบทความนี้มาใสแทน เชน 2009-09-09-01-12 และจะแสดงที่ลิ้งก ทําใหลิ้งกของบทความไมสวย เพราะฉะนั้นกําหนดจะดีกวา - Published กําหนดเปน yes เพื่อเปดเผยแพร ถากําหนดเปน no บุคคลภายนอกจะไมสามารถเห็น section ได - Front Page กําหนดเปน yes คือกําหนดใหบทความนีแสดงที่ดานหนาสุดของเว็บ (home page) ถากําหนดเปน no คือ ้ บทความนี้จะไมแสดงที่หนาเว็บไซต (home page) - Section เลือก Section ที่ทําการเก็บบทความ - Category เลือก Category ที่ทําการเก็บบทความ สวนนี้สาหรับพิมพ ขอความบทความตาง ๆ ใสรูปภาพ หรืออะไรที่ตองการได ํ 
  • 47. 47 การใสรูปภาพลงในบทความ การใสรปภาพ โดยใชรูปภาพที่มีอยูแลว หรืออัพโหลดจากเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ ู คลิ๊กที่ Image เลือกรูปที่ตองการจาก โฟลเดอรที่มี หรืออัพโหลดจากเครื่องคอมพิวเตอรของคุณ โดยการ Browser เมื่อเลือกภาพไดแลวก็ คลิ๊ก start upload เมื่อเลือกรูปได แลวใหคลิ๊ก insert เพื่อแทรกรูปภาพลงบนบทความ Tip : โฟลเดอรที่ใชเก็บรูปภาพของ joomla คือ /images/stories การแทรกภาพลงบนบทความดวยลิ้งก URL คลิ๊กที่รูปตนไม จะขึ้นหนาตางใหใสรายละเอียด
  • 48. 48 ใส Full URL ของรูปภาพ เชน http://www.google.com/images.jpg การสรางลิ้งก อานตอ Read more เปนการสรางบทความในสวนของไตเติ้ล กลาวนํากอนแลวใหผูอานเขามาอานตอดานใน ตองการจะตัดบทความใหเขามาอานตอตรงสวนไหน ก็นําเคอรเซอรมาวางแลว คลิ๊กที่ read more จะเกิดเสนขึ้นใหเราเห็นวาสวนนี้ลงไปเปนสวนที่ตองเขามาอานตอ
  • 49. 49 รูปแบบการใช read more ในบทความ การแบง บทความออกเปนหนา ๆ (Page Break) ในกรณีที่บทความหนึ่ง ๆ มีความยาวมาก ๆ และตองการแบงออกเปนสวน ๆ เพื่อใหดูดี หรือไมยาวเกินไป ตองการจะแบงบทความตรงสวนไหน ก็นําเคอรเซอรมาวางแลว คลิ๊กที่ Page Break จะปรากฏหนาตางนี้ข้นมา page title ใสช่อตามตองการ Table of contents alias ควรกําหนดเปนภาษาอังกฤษ จะดีที่สุด ึ ื
  • 50. 50 รูปแบบการแสดงผลจะเปนแบบนี้ มีสารบัญอยูดานขางของบทความ การไมใช เครืองมือ editor ่ สามารถทําไดโดยไมใช เครื่องมือ editor หรือเครื่องมือในการสรางบทความ แถบเครื่องมือที่เห็นมีหนาที่อํานวยความสะ วกในการแทรกคําสั่ง ตาง ๆ ลงไปไดรวดเร็วขึ้นโดยทีไมตองมานั่งพิมพ แท็กคําสั่งเอง ทั้งหมด ่ หากตองการแทรกคําสั่ง HTML เองก็สามารถทําไดโดย คลิ๊กที่ Toggle Editor จะเห็นคําสั่งที่สามารถแกไขไดเอง การกําหนดพารามิเตอรของบทความ Parameters Article
  • 51. 51 สวนนี้เปนการกําหนดชื่อผูเขียน ชื่อแทนผูเขียน วันที่ทําการสรางบทความ คุณสามารถกําหนดวันที่ งดเผยแพรบทความได ที่น่ดวย ี การกําหนดพารามิเตอรแบบ advanced เปนการกําหนด ใหคาหรือไมแสดง รายละเอียดตาง ๆ ในบทความ การกําหนด metadata information ในสวนนี้มีประโยชนตอการคนหา ทั้งใน Search Engine และในเว็บไซต - Description ใสคําอธิบายเกี่ยวกับบทความ วาเปนบทความอะไร กําหนดตามตองการ - Keywords ใสคําคนหาหลักสําหรับบทความ กําหนดเปนคํา ๆ หรือประโยคที่สั้นเขาใจงายสามารถใสเทาไหร ก็ไดโดยการเวนขึ้นคําใหมใหใช (,) จุลภาค ขั้นไว เชน joomla, joomla thai เปนตน - robots เปนคําสั่งที่ใชบอก robots (โปรแกรมสําหรับคนหาของ Search Engine) วาวรจะตองทําอะไรในบทความ นี้ คําสั่งหลัก ๆ มีดังนี้ - index ใหนําบทความนี้ไปแสดงที่ Search Engine - follow ใหคนหาตอ กรณีมีลิ้งกในบทความและตองการให robots ไปตามลิ้งก URL ปลายทาง 
  • 52. 52 - noindex ไมใหนําบทความนี้ไปแสดงที่ Search Engine - nofollow ไมใหคนหาตอ กรณีมีลิ้งกในบทความและไมตองการให robots ไปตามลิ้งก URL ปลายทาง ใสคําสั่งใดคําสั่งหนึ่งก็ได หรือใสทั้งสองคําสั่งโดยใช (,) ขั้นระหวางคําสั่ง การใชงาน menu manager การสรางเมนูลิ้งกไปหาบทความ section และ category ทําไดโดยคลิกที่ menu manager ๊ หรือเขาที่ admin menu >> menus >> main menu main menu เปนเมนูหลักที่มีอยูแลวไมจําเปนตองสรางใหม  จากนั้นคลิ๊กที่ new เพื่อทําการสรางเมนูยอย ใน main menu
  • 53. 53 คลิ๊กเลือก Articles จะปรากฏเมนูยอยลงมา - Archive คือลิ้งกไปหาบทความที่ถูกเก็บ - Article คือลิ้งกไปหาบทความ - Category คือลิ้งกไปหา Category - Section คือลิ้งกไปหา Section รูปแบบการแสดงผล
  • 54. 54 จะเห็นวามีสวนของ blog layout และ list layout blog layout จะเปนแบบรูปดานลางเหมือนหนา front page list layout แสดงในสวนหัวขอบทความเทานั้น เมื่อเขาใจรูปแบบการแสดงผลแลวตอไปก็ทําเมนูลิ้งกไปหาบทความตามตองการ ในที่นี้จะทําลิ้งกไปหา section ใสช่อ title , alias ตามตองการ ื
  • 55. 55 เลือก section ที่ตองการ เมื่อกําหนดเรียบรอยแลวก็คลิ๊ก save เพื่อบันทึกการเปลี่ยนแปลง จะเห็นเมนูที่สรางขึ้นดังในรูป การสรางลิ้งกเมนูอื่น ๆ ก็ทําลักษณะคลาย ๆ กันนี้
  • 56. 56 การสรางเมนูใหม เมนูนี้มีลักษณะการทํางานเหมือนกับ main menu ไปที่ admin menu >> menu manager คลิ๊กที่ new เพื่อสรางเมนูใหม กําหนดชื่อตาง ๆ ตามตองการ เมนูที่สรางใหม นี้จะไปปรากฏที่ โมดูล (module) ซึ่งโมดูลนี้สามารถจะเคลื่อนยายไป วางตําแหนงไหนของเทมเพลท (template) ก็ได เมื่อกําหนดชื่อเรียบรอยแลว ก็ทําการ save
  • 57. 57 การใชงานเมนูที่สรางนี้ จะเหมือนกับการใชงาน main menu ดังที่กลาวมาแลวในขางตน เมนูที่สรางใหม จะกลายเปนโมดูล ไปโดยอัตโนมัติ Trash manager ทํางานเปนถังขยะ มีในสวนของ article และ menu เทานั้น ประโยชนคือเมื่อคุณทําการลบ บทความหรือเมนู บทความหรือ เมนูดังกลาวจะลงมาอยูในถังขยะ เพื่อปองกันความผิดพลาดกรณีลบผิดหรือตองการนํามาใชใหม ได ถาทําการลบออกจาก ถังขยะนี้ บทความหรือเมนูน้นจะหายไปและไมสามารถกูไดอีกตอไป ั Front page manager สวนนี้เอาไวสาหรับจัดการ การเผยแพรบทความดานหนาเว็บ ํ
  • 58. 58 User Manager สวนจัดการผูใช สามารถลบ แกไขชื่อ รหัสผาน กําหนดสิทธิการใชงาน เพิ่มผูใชงานใหมไดที่น่ี ผูทมสิทธิใชในสวนนี้คือ ี่ ี administrator และ super administrator การเพิ่มผูใชงานใหม คลิ๊กที่ New กรอกรายละเอียด name, username, e-mail, password กําหนด group จากนั้นคลิก save ๊
  • 59. 59 สรางปายโฆษณา (banner) ไปที่ admin menu >> component >> banner เลื่อนมาที่แท็บเมนู categories เพื่อสราง categories กอนเพื่อใชในการเก็บ banner clients คลิ๊กที่ new เพื่อสราง categories
  • 60. 60 ตั้งชื่อตามตองการเหมือนขั้นตอนการสราง section เลื่อนมาแท็บเมนู clients คลิ๊ก new เพื่อสราง banner clients ใหม กําหนดชื่อ ชื่อผูติดตอ อีเมล และคําอธิบายเกี่ยวกับแบนเนอร จากนั้นทําการ save เลื่อนมาแท็บเมนู banners คลิ๊ก new สราง banner ใหม จากนั้นทกหาร save Tip : สามารถใชรูปในเว็บไซตมาทําแบนเนอรได โฟลเดอรสําหรับเก็บแบนเนอรอยูที่ /images/banners 
  • 61. 61 การสรางแบนเนอรโดยใช Banner Code นําโคดปายโฆษณามาใสในชอง Custom Banner Code การสรางแบนเนอรแบบใชรปภาพจากภายนอก ู สามารถสรางโดยใช URL รูปภาพจากที่อน และสงลิ้งกไปยังเว็บปลายทาง ทําไดโดยการสราง code ขึ้นมาแลวนําไปใสใน ื่ ชอง Custom Banner Code ตัวอยาง code <a href="http://www.domain.com (URL ปลายทาง)" target="_blank"><img src="http://www.domain.org/images/banners/shop-ad-books.jpg(URL ของรูป)" " alt="ปายโฆษณา" /></a> วิธน้จะสงลิ้งกตรง ไปหาเว็บไซตปลายทางโดยไมผานการ redirect (เปลี่ยนเสนทาง) ี ี การใสล้งกปลายทางในชองนี้ ตองผานการ redirect กอน เชน เมื่อคลิกที่แบนเนอรจะเปน URL นี้ ิ ๊ http://127.0.0.1/joomla/index.php?option=com_banners&task=click&bid=1 กอน เสร็จแลวจะเปลียนเสนทางไปยัง URL ่ ปลายทาง
  • 62. 62 การสรางรายชือผูติดตอ Contact ่ ไปที่ admin menu >> component >> contacts คลิ๊กแท็บเมนู Categories จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใหม ใส title และ alias จากนั้น Save
  • 63. 63 คลิ๊กแท็บเมนู Contacts จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสรางชื่อผูติดตอ - ใส name, alias - เลือก Category - linked to user สามารถกําหนดใหสงขอความติดตอไปหาผูใชงานที่ลงทะเบียนในบัญชี joomla ได  ในชอง information ใสรายละเอียดเกี่ยวกับที่อยูติดตอ
  • 64. 64 กําหนดพารามิเตอร ตองการจะแสดงหรือไมแสดงในสวนไหนของ contact ใหผูเยียมชมเว็บไซตเห็น ่ Advanced Parameter สําหรับเลือกรูปไอคอน
  • 65. 65 e-mail parameter ใชสําหรับใสรายชื่ออีเมลที่ไมตองการใหติดตอมา (banned) การใชงานสามารถกําหนดไดหลายอีเมลแลวคั่นดวย เซมิโครอน (;) News Feed Manager มีไวสําหรับดึงบทความ จากเว็บไซตอื่น ๆ มาแสดงที่เว็บไซตเรา การที่จะดึงมาไดเว็บไซตนั้น ๆ ตองเปดใหบริการ rss feed ดวย ตัวอยางเว็บไซตที่เปดใหบริการ rss feed ของไทย คือ http://www.rssthai.com รูปแบบ URL feed ที่สามารถจะดึงบทความได คือ ตองเปนนามสกุล XML เชน http://www.rssthai.com/rss/lastest.xml
  • 66. 66 การใชงาน Feed Manager ไปที่ admin menu >> components >> news feeds คลิ๊กแท็บเมนู Categories จากนั้นคลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใหม ใสช่อ title, alias, description จากนั้น save ื
  • 67. 67 คลิ๊กแท็บเมนู Feeds คลิ๊ก New เพื่อสราง Feed ใหม ใส name, alias, เลือก category , ใส link เมื่อกําหนดทุกอยางเสร็จ คลิ๊ก svae
  • 68. 68 ตัวอยางลิ้งก feed การใชงาน Component News Feeds การใชงานตองสรางเมนูเพื่อลิ้งกไปหา feed ที่ไดสรางไว ไปที่ admin memu >> menus >> meun ของคุณ จากนั้นคลิ๊ก new สรางเมนูใหม คลิ๊กเลือก news feed
  • 70. 70 ตั้งชื่อ title, alias เลือก feed ทําการ save การแสดงผลดาน front end การสรางโพลสํารวจ ไปที่ admin menu >> components >> polls
  • 71. 71 คลิ๊ก New Option ของ poll มีทั้งหมด 12 ตัวเลือก - title ตั้งชื่อ poll - alias ชื่อแทน - lag กําหนดเวลาความถี่ในการโหวตครั้งตอไป หนวยเปนวินาที - Published เลือกเปน yes จากนั้นทําการ save การใชงานโพล ใหแสดงผลหนาเว็บไซต ตองสรางเปน โมดูล (module) ไวแสดงผลโพล ซึ่งจะกลาวตอไป
  • 72. 72 Search component เปนสวนเก็บสถิติการคนหาภายในเว็บไซต ปกติจะปดการทํางาน สามารถเปดการทํางานไดโดยคลิ๊กตั้งคาที่ parameter คลิ๊ก yes จากนั้น save ระบบจะทําการเก็บขอมูล คําคนหาที่ผูใช ใชคนหา จํานวนครั้งที่ทําการคนหา 
  • 73. 73 Web Link Manager สําหรับเก็บลิ้งก URL ของเว็บไซตตาง ๆ ใหเปนหมวดหมู งายตอการใชงาน ไปที่ admin menu >> component >> web links คลิ๊กที่แท็บเมนู Categories จากนั้น คลิ๊ก new เพื่อสราง Categories ใสช่อ tile, alias ื
  • 74. 74 คลิ๊กที่แท็บเมนู links จากนัน คลิ๊ก new เพื่อสราง links ้ ใสขอมูลตาง ๆ ของลิ้งก ตามตองการ จากนั้น save  เลือกรูปแบบการแสดงผล - all category การแสดงผลรวมทุก ๆ category - category การแสดงเฉพาะ category ที่ระบุ - web link submission layout สําหรับใสเว็บลิ้งกใหม ในหนา front end
  • 75. 75 ตั้งชื่อ title, alias เลือก category ทําการ save รูปแบบการแสดงผลดาน front end
  • 76. 76 Media Manager สวนนี้มีไวสําหรับจัดการเกียวกับรูปภาพตาง ๆ ทั้งสรางโฟลเดอรสาหรับเก็บไฟลภาพ อัพโหลดรูปภาพ ลบรูปภาพ ่ ํ การสรางโฟลเดอรสาหรับรูปภาพ พิมพชอที่ตองการแลวคลิ๊ก Create Folder ํ ่ื
  • 77. 77 การอัพโหลดรูปภาพ คลิ๊ก Browser จะปรากฏหนาตางสําหรับเลือกไฟลภายในเครื่อง จากนั้นกด open คลิ๊ก Start Upload การลบรูปภาพ คลิ๊กเลือกรูปที่ตองการลบจากนั้นคลิ๊ก Delete กรณีตองการลบหลายรูป การลบรูปเดียวใหคลิ๊กเครื่องหมายกากบาทสีแดงใตรูปภาพ
  • 78. 78 การติดตั้ง Extensions ของ joomla การติดตั้ง extensions หรือตัวเสริมตาง ๆ เชนโมดูล เทมเพลท คอมโพเนนท ภาษา ทําไดดังนี้ เขาที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall จากนั้นเลือกไฟล extensions ที่ดาวนโหลดมาจากในเครื่องคอมพิวเตอรของทาน เสร็จแลวกด upload file & install หากทําการติดตั้งสําเร็จจะขึนขอความ Install ....... Success ้ Note : Extensions ของ joomla มี 2 เวอรชน ที่ใชงานกับ joomla 1.0 กับที่ใชงานบน joomla 1.5 และที่สามารถใชงานไดบน ั่ joomla 1.0 และ joomla 1.5 ในโหมด legacy ตองแนใจวาใชงานกับเวอรชั่นไหน ไมเชนนั้นจะไมสามารถติดตั้งได
  • 79. 79 การถอนการติดตั้ง Extensions ของ joomla (Uninstall) เขาที่ admin menu >> extensions >> install/uninstall เลือกแท็บเมนู Extensions ที่ตองการถอนการติดตั้ง  คลิ๊กเลือก extension ที่ตองการ จากนั้น คลิ๊ก uninstall
  • 80. 80 การสรางโมดูลใหม (ตัวอยางการสรางโมดูลคนหา (Search)) ทําการสรางเมนูคนหา (Search) มาที่ menu manager คลิ๊กที่ new เพื่อสรางโมดูลใหม คลิ๊กเลือกที่ Search จากนันคลิ๊ก Next ้
  • 81. 81 - title ตั้งชื่อใหกบโมดูล ั - Show title เลือกเปน no เพื่อไมใหแสดงชื่อโมดูลที่หนาเว็บไซต - Enable เลือกเปน yes เพื่อเปดโมดูลใหใชงานได - Position เลือกตําแหนงในการจัดวาง (User4) Mass Mail ฟงกช่นที่ชวยใหคณสง อีเมล ไปยังกลุมผูใชงานไดงาย ๆ ั  ุ