SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  99
Télécharger pour lire hors ligne
พ.อ. มารวย ส่งทานินทร์
21 เม.ย. 2555
Brian Tracy






Brian Tracy เป็ นมืออาชีพด้านการพูด การฝึ กอบรม ที่ปรึกษา
และยังเป็ นประธานบริษท Brian Tracy International ตั้งอยูทเมือง
ั
่ ี่
Solana Beach มลรัฐ California
เขาเรียนไม่จบมัธยมศึกษา และได้ออกจากโรงเรียนมาทางาน
หลายปี โดยทางานไม่เลือก ทั้งล้างจาน เรียงกองไม้ ขุดบ่อ
ทางานในโรงงาน และทางานในไร่ในนา
ต่อมาทางานกับเรือสินค้าเป็ นเวลา 8 ปี ได้เยือนประเทศต่าง ๆ
กว่า 80 ประเทศ




ในช่วงอายุยสิบกว่าปี เขาทางานเป็ นพนักงานขายของประเภท
ี่
เคาะประตูตามบ้าน มีความมานะพยายามเรียนรู ้ จนกระทั ่งได้
เป็ นผูจดการฝ่ ายปฏิบตการ ของบริษทที่มีมูลค่า $265 ล้าน
้ั
ั ิ
ั
เหรียญ
ช่วงที่อายุได้สามสิบกว่าปี เขาได้ลงทะเบียนเรียนทีมหาวิทยาลัย
่
Alberta จนได้รบปริญญาตรีดานพาณิชยศาสตร์ และได้รบ
ั
้
ั
ปริญญาโทด้านการบริหารธุรกิจ จากมหาวิทยาลัย Andrew
Jackson ต่อมายังเรียนพูดภาษาฝรั ่งเศส เยอรมัน และ สเปน





เขาได้ทางานร่วมกับบริษทต่าง ๆ กันถึง 42 บริษท จนกระทั ่งปี
ั
ั
ค.ศ. 1981จึงได้เริมสอนหลักการสูความสาเร็จและจัดสัมนาทั ่ว
่
่
ประเทศ
ปั จจุบนเขาได้ประพันธ์หนังสือและมีสื่ออิเล็คโทรนิค ที่มีการแปล
ั
ถึง 35 ภาษา ในกว่า 52 ประเทศ
เขาได้ถายทอดความรูจากประสบการณ์ตรงที่เขามี โดยการ
่
้
ประพันธ์หนังสือกว่า 40 เล่ม เช่น Maximum Achievement,
Advanced Selling Strategies, Focal Point, และ The 100
Absolutely Unbreakable Laws of Business Success เป็ นต้น












INTRODUCTION The Race Is On
CHAPTER 1 The Heart of a Leader
CHAPTER 2 Leaders Know Themselves
CHAPTER 3 Counterattack! Business Lessons from Military Strategy
CHAPTER 4 Masterful Management!
CHAPTER 5 Hire and Keep the Best People
CHAPTER 6 Building Winning Teams
CHAPTER 7 Problem Solving and Decision Making
CHAPTER 8 Communicate with Power
CHAPTER 9 The Leader’s Questionnaire
CHAPTER 10 Simplify Your Life
INTRODUCTION



ในปั จจุบน เราอยูในยุคทีมีความท้าทายสูง ทั้งด้านธุรกิจและ
ั
่
่
เศรษฐกิจอย่างที่ไม่เคยมีมาก่อน
Charles Darwin กล่าวว่า ‘‘สัตว์ชนิดที่อยูรอดได้ ไม่ใช่เพราะ
่
แข็งแรงที่สุดหรือฉลาดที่สุด แต่เป็ นเพราะปรับตัวเข้ากับ
สิ่งแวดล้อมได้ดี’’
ความรับผิดชอบของผูนา 7 ประการ
้
1. การตั้งเป้ าประสงค์และทาให้บรรลุ
2. ส่งเสริมนวัตกรรมและการตลาด
3. แก้ปัญหาและมีการตัดสินใจ
4. ตั้งความสาคัญและเน้นเป้ าหมายที่สาคัญ
5. เป็ นแบบอย่างที่ดี
6. ชักชวน สร้างแรงบันดาลใจ และกระตุนผูอื่นให้กาวตาม
้ ้
้
7. มีท้งผลงานและผลลัพธ์
ั
CHAPTER 1





ภาวะผูนาเป็ นปั จจัยที่สาคัญที่สุดในการนาองค์กรประสบ
้
ความสาเร็จ
ภาวะผูนา เป็ นสิ่งที่คณเป็ น มากกว่าสิ่งที่คุณทา
้
ุ
เมื่อได้รบมอบหมายให้ทาหน้าที่ ในคราใดเมื่อเกิดความไม่แน่ใจ
ั
ให้เลือกทาแต่สิ่งที่ถูกต้อง
คุณสมบัตผนา 7 ประการ
ิ ู้
1.วิสยทัศน์ (Vision): สิ่งสาคัญที่สุดในคุณสมบัตของภาวะผูนา
ั
ิ
้
 ผูนาเป็ นผูทมีวิสยทัศน์ เขาสามารถมองไปในอนาคต โดยตอบ
้
้ ี่ ั
คาถามได้ว่า เราต้องทาอะไรและทาอย่างไร
 จุดเริมต้นในการคิดของผูนาคือค่านิยม (values) ซึ่งเป็ นสิ่งที่
่
้
องค์กรมีความเชื่อ และใช้เป็ นเกณฑ์ในการตัดสินใจ
้
 ผูนาเน้นเป้ าประสงค์ โดยการตังเป้ าหมายที่มีตวชี้วัดและมีการ
้
ั
กาหนดระยะเวลา
2. ความกล้า (Courage) สิ่งที่ผนาทุกคนมีลกษณะเหมือนกัน
ู้
ั
 ความกล้าคือความมุ่งมั ่นที่จะบรรลุเป้ าประสงค์ แม้จะมีความ
เสี่ยงว่าอาจทาไม่สาเร็จ
 อนาคตขององค์กรขึ้นกับผูนาที่กล้าได้กล้าเสีย ในทุกสภาวการณ์
้
 ความกล้าจึงเป็ นคุณสมบัตขอที่สองของผูนาที่ยงใหญ่
ิ ้
้
ิ่
3. การมีจริยธรรม (Integrity) เป็ นคุณสมบัตที่น่ายกย่องของผูนา
ิ
้
ทุกวงการ
 จริยธรรมเป็ นค่านิยมที่สาคัญที่สุดของผูนา ซึ่งมีแก่นแท้คือ
้
ความซื่อสัตย์
 เมื่อเกิดเรืองขึ้นมา การปกปิ ดความจริงจะก่อเกิดความสูญเสีย
่
มากกว่าการบอกความจริงหลายเท่า
 ผูนาที่มีจริยธรรมจะกล่าวว่า “เรืองนี้ผมรับผิดชอบเอง”
้
่
4. อ่อนน้อมถ่อมตน (Humility) ผูนาที่มีความมั ่นใจในตนเองจะ
้
เชื่อมั ่นและยกย่องผูอื่น
้
 ผูนาเรียนรูทจะฟั ง ไม่คิดว่าตนเองรูทุกเรื่อง และสามารถเรียนรู ้
้
้ ี่
้
จากผูอื่นได้ตลอดเวลา
้
 ผูนาไม่หยุดการเรียนรู ้ เพื่อทาตนให้ดีข้ ึน
้
 Jack Welch กล่าวว่า เขาต้องการผูที่ฉลาดกว่าตนเองอยูราย
้
่
รอบตัวเขา
5.สายตายาวไกล (Foresight) ผูนาสามารถมองไปในอนาคตและ
้
เตรียมพร้อมรับมือได้
 ผูนาเป็ นนักคิดแบบกลยุทธ์ สามารถคาดได้ว่าจะมีอะไรเกิดขึ้น
้
 เครื่องมือที่ใช้ช่วยในการคาดการณ์คือแผนการจาลอง
สถานการณ์ (scenario planning)
 ผูนาจะคิดถึงอนาคต
้
6.มีจดเน้น (Focus) คือการทุมเททรัพยากรต่าง ๆ ไปยังจุดที่สาคัญ
ุ
่
ที่สุดขององค์กร
 ผูนาจะเน้นไปที่จดแข็งขององค์กร และเป็ นสิ่งที่องค์กรทาได้ดที่สุด
้
ุ
ี
 ผูนาจะไม่บ่นหรือวิจารณ์ แต่จะมองในแง่บวก และเน้นที่
้
เป้ าประสงค์ขององค์กร
 ผูนาคิดแก้ไขสถานการณ์ มากกว่าจะคอยหาผูกระทาผิด (เพราะไม่
้
้
สามารถเปลี่ยนอดีตได้)
7.สร้างความร่วมมือ (Cooperation) ผูนามีความสามารถในการ
้
ทางานอย่างมีประสิทธิผลร่วมกับผูอื่น
้
 ภาวะผูนาคือ ความสามารถในการทาให้ผอื่นทาตามด้วยความ
้
ู้
สมัครใจ
 คุณมีทางเลือกคือ จะทาเอง หรือให้ผอื่นช่วยทาแทน ให้เลือกเอา
ู้
เอง
 ใช้กฏ 80/20 ที่กล่าวว่ามีผคนร้อยละยี่สิบที่ทาให้เกิดร้อยละ 80
ู้
ของผลลัพธ์









Leaders have a clear vision of where they are going, and they convey this vision to everyone
around them.
Leaders have the courage to take risks, to move forward, to face danger with no guarantee
of success.
Leaders have integrity. They deal honestly and straightforwardly with each person. They tell
the truth, and they always keep their word.
Leaders are humble. They get results by using the strengths and knowledge of those around
them. They know how to listen, and they know how to learn.
Leaders have foresight. They continually look ahead and anticipate what might happen. They
make provisions to guard against possible reversals and put themselves into a position to
take advantage of possible opportunities.
Leaders focus on what’s important. They concentrate their time and resources, and the time
and resources of the company, on the activities that will make the most difference.
Leaders cooperate well with others. They are liked and respected by everyone around them.
CHAPTER 2




คาที่มีความสาคัญต่อการคิดและการกระทาคือ ผลที่ตามมา
(consequences) การกระทาใดจะมีความสาคัญ ขึ้นกับความ
รุนแรงของผลที่ตามมา
คาถามสาคัญที่จะช่วยกระตุนการวิเคราะห์และการตัดสินใจ คือ
้
คุณต้องการอะไร และจะต้องทาอะไร จึงจะประสบผลสาเร็จ
(what you want and what you are going to do to achieve it.)










คาถาม 44 ข้อในการประเมินตนเอง (ข้ออื่น ๆ อยูในหนังสือ)
่
1. ปั จจุบนคุณอยูในตาแหน่งใด
ั
่
2. อะไรคือสิ่งสาคัญ 3 ประการในการทางาน
3. จะวัดความสาเร็จของงานนั้นอย่างไร
4. คุณมีความสามารถพิเศษอะไรบ้าง
5. งานอะไรที่คุณทาได้ดเป็ นพิเศษ
ี
6. เป้ าประสงค์ของงานทีสาคัญ 3 ประการคืออะไร
่
ฯลฯ
ผูนา รูจกตนเอง และรูว่าตนเองต้องการอะไร
้ ้ั
้
 ถ้าคุณตอบคาถามได้ชดเจน ก็จะเห็นตัวตนของตนเองได้ดีข้ ึน
ั
 เมื่อรูจกตนเองที่ชดเจน ก็จะรูว่าจะต้องทาอย่างไร จึงจะบรรลุ
้ั
ั
้
้ั
ผลลัพธ์ตามที่ตนเองได้ตงเป้ าหมายไว้
CHAPTER 3













1. The Principle of the Objective
2. The Principle of the Offensive
3. The Principle of the Mass
4. The Principle of Maneuver
5. The Principle of Intelligence
6. The Principle of Concerted Action
7. The Principle of Unity of Command
8. The Principle of Simplicity
9. The Principle of Security
10. The Principle of Surprise
11. The Principle of Economy
12. The Principle of Exploitation

หลักการทางทหารที่นามาประยุกต์ได้
กับทางธุรกิจ 12 ประการ
1.หลักของวัตถุประสงค์ หมายถึงการมีวตถุประสงค์ที่ชดเจน
ั
ั
 วัตถุประสงค์ (Objectives) คือเป้ าประสงค์รอง ที่มีระยะเวลาสั้น
และระยะกลาง มีผลกระทบต่อเป้ าประสงค์
 มีลาดับเรียกว่า GOSPA Method ที่ยอมาจาก: Goals, Objectives,
่
Strategies, Plans, และ Activities
 เพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ แนะนาให้ใช้ การบริหารโดยมอบ
ั
ความรับผิดชอบ (Manage by responsibility): หมายถึงให้บุคคล
รับผิดชอบต่อผลลัพธ์ โดยการมอบหมายงานและความ
รับผิดชอบ และมีการกาหนดระยะเวลาแล้วเสร็จ
2.หลักการรุก หมายถึงการเข้าโจมตี
 ในการรบต้องเข้าจูโจม รุกไปข้างหน้าอย่างต่อเนื่อง
่
 ในทางธุรกิจ หมายถึงการขายและการตลาด
 ธุรกิจจะประสบความสาเร็จได้ตองเพิ่มยอดขาย
้
3.หลักการรวมกาลัง หมายถึงการรวบรวมสรรพกาลังไปที่จดใดจุด
ุ
หนึ่ง นั ่นคือที่จดอ่อนของศัตรู
ุ
 หลักการรวมกาลังไม่เพียงดูที่จุดอ่อนของศัตรู แต่รวมถึงการ
สร้างความแข็งแกร่งของเราเองด้วย
 ใช้กฏ 80/20 หรือที่เรียกว่า Pareto principle นั ่นคือมุ่งเน้นการ
ใช้ทรัพยากรไปยังจุดที่มีโอกาสในการเติบโตและความสาเร็จ
4.หลักการกรีธาพล หมายถึงการเคลือนพลเข้าโจมตีดวยกาลังที่
่
้
เหนือกว่าไปยังจุดอ่อนของศัตรู
 ชัยชนะในการรบ มักเกิดจากการเข้าโจมตีที่รวดเร็ว
 ในทางธุรกิจหมายถึงการมีนวัตกรรมและความอ่อนตัว
(innovation and flexibility)
 มีหลักการคิดที่เรียกว่า Zero-based thinking นั ่นคือ การถาม
ตนเองว่า จากการที่ได้เรียนรูในตอนนี้ ถ้าจะต้องเริมต้นใหม่ จะ
้
่
ทาอะไรที่ตางไปจากเดิม
่
5.หลักการข่าว หมายถึงการได้มาของข้อมูลข่าวสาร เรื่องการ
ปฏิบตการ และความเคลื่อนไหวที่เป็ นจริงของฝ่ ายตรงข้าม
ั ิ
 ในทางธุรกิจ การรูขอมูลข่าวสารของคูแข่งหรือของตลาดได้มาก
้ ้
่
จะส่งผลให้ประสบความสาเร็จสูง
6.หลักการประสานงาน หมายถึงความสามารถในการบังคับบัญชา
ให้ทุกหน่วยรบ มีการประสานงานร่วมมือกัน ทั้งการรุกและการ
ตั้งรับ
 ในทางธุรกิจ หมายถึงการทางานเป็ นทีม
 การทางานให้สาเร็จเกิดจากทีม บริษทชั้นนาจะมีทีมงานที่ทางาน
ั
อย่างมีประสิทธิผล แล้วได้ผลลัพธ์ที่ดีเลิศ
7.หลักการบังคับบัญชา หมายถึงการมีสายการบังคับบัญชาที่
ชัดเจน ตั้งแต่ระดับบนไล่ลงจนถึงระดับล่าง
 บริษทชั้นนาจะมีผนาทุกระดับที่ชดเจน รูว่าใครเป็ นผูรบผิดชอบ
ั
ู้
ั
้
้ั
 เพื่อความมีประสิทธิผล แต่ละบุคคล ควรมีผบงคับบัญชาเพียง
ู้ ั
คนเดียว คือผูที่ตองรายงานผลให้ทราบ
้ ้
 ผูนาชั้นยอดในบริษทชั้นนา จะมีการประชุมกันบ่อย ๆ เพื่อ
้
ั
แบ่งปั นข้อมูลข่าวสารและวิเคราะห์การงาน
8.หลักความเรียบง่าย หมายถึงคาสั ่งที่ตองชัดเจน ตรงไปตรงมา
้
และแผนการต่าง ๆ จะต้องมีความเข้าใจง่ายสาหรับผูปฏิบติ
้ ั
 สิ่งสาคัญที่จะทาให้เกิดความเรียบง่ายคือการคิดบนกระดาษ
(think on paper) ให้ทุกคนจดสิ่งที่อภิปรายกันไว้ จะได้ไม่มี
ปั ญหาในโอกาสต่อไป
9.หลักความมั ่นคง หมายถึงมีการป้ องกันการถูกโจมตีโดยไม่รูตว
้ ั
หรือมีการป้ องกันการเกิดผลที่ไม่ได้คาดคิดมาก่อน
 หลักการสาคัญในการอยูรอดทางธุรกิจที่อาจถูกมองข้ามไป สิ่ง
่
นั้นคือเงินสด ไม่ใช่ยอดขายหรือผลกาไรที่เป็ นตัวเลขในบัญชี
 การขาดเงินสดหมุนเวียน อาจส่งผลให้ธุรกิจไปไม่รอด
 มีวิธีที่แนะนาคือใช้ scenario planning โดยให้จาลองสถานการณ์
เลวร้ายที่อาจเกิดขึ้น ว่าเรามีแผนรับมืออย่างไร
10.หลักการทาให้แปลกใจ หมายถึงการปฏิบตในสิ่งที่ศตรูไม่ได้
ั ิ
ั
คาดคิดมาก่อน
 ชัยชนะที่ยงใหญ่มกเกิดจากการสร้างความประหลาดใจ นั ่นคือ
ิ่
ั
การทาให้ศตรูเกิดความงงงันและตะลึงพรึงเพริด เพราะคาดไม่ถึง
ั
 ที่สาคัญในการสร้างพลังคือ ความเร็ว (speed)
 ในทางธุรกิจหมายถึงการใช้ความสร้างสรรค์ เช่น ทาให้เร็วกว่า
ดีกว่า ถูกกว่า ในการสร้างผลิตภัณฑ์หรือบริการ
11.หลักเศรษฐศาสตร์ หมายถึงมีการใช้ทรัพยากรอย่างคุมค่า
้
เพื่อให้บรรลุเป้ าหมาย
 ในทางธุรกิจ หมายถึงการทาได้โดยใช้ตนทุนต ่าที่สุด
้
 อย่าใช้จายในสิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้
่
12.หลักการแสวงหาผลประโยชน์ หมายถึงเมื่อได้รบชัยชนะ ให้ใช้
ั
โอกาสในการเป็ นผูชนะอย่างเต็มที่
้
 ในทางธุรกิจ หมายถึงการทุมติดตามความสาเร็จในตลาด หรือ
่
การได้ลกค้าใหม่
ู
CHAPTER 4
บทบาทของผูจดการ 7 ประการ
้ั
 1. การวางแผน (Planning)
 2. การจัดระบบ (Organizing)
 3. การจัดบุคลากร (Staffing)
 4. การมอบหมายงาน (Delegation)
 5. การควบคุมดูแล (Supervising)
 6. การวัดผล (Measuring)
 7. การรายงานผล (Reporting)
1.การวางแผน คือกระบวนการในการตัดสินใจว่าจะต้องทาอะไรบ้าง
 คิดบนกระดาษ (Think on paper) จดรายละเอียดทุกอย่าง ไม่ว่าจะ
เป็ นเป้ าประสงค์ วัตถุประสงค์ ขั้นตอนต่าง ๆ ในการทาให้บรรลุผล
 ทุกอย่างต้องตั้งอยูบนความจริง โดยเฉพาะด้านการเงิน อย่าคาดเดา
่
 อย่าลืมสูตร Six P Formula: Proper Prior Planning Prevents Poor
Performance.
2.การจัดระบบ หมายถึงการจัดผูคนและทรัพยากรที่จาเป็ นในการ
้
ทาให้แผนการสาเร็จตามความมุ่งหมาย
 ง่ายที่สุด คือจดสิ่งที่ตองการทั้งหมดที่ตองการทาให้สาเร็จ ตาม
้
้
ระยะเวลาและงบประมาณที่วางไว้
 เริมที่สวนที่สาคัญที่สุดของแผนงาน
่ ่
3.การจัดบุคลากร คุณต้องทาหน้าที่สรรหาและรักษาบุคคลที่
ต้องการ ในการทางานให้สาเร็จ
 ความสามารถในการจัดจ้างและรักษาบุคลากรที่ถูกต้องไว้ ส่งผล
ทาให้เกิดความสาเร็จได้รอยละ 95
้
 นี่คือหน้าที่ทสาคัญของผูนา
ี่
้
4.การมอบหมายงาน คือทักษะในการมอบหมายงานให้กบบุคคลที่
ั
ถูกต้อง
 เมื่อมอบอานาจไปแล้ว ต้องให้ทรัพยากรที่สามารถทาให้งาน
ลุล่วงไปได้ดวย เช่น เวลา งบประมาณ รวมถึงบุคคลที่จะ
้
ช่วยเหลือให้งานสาเร็จได้ดวยดี
้
5.การควบคุมดูแล เป็ นการทาให้มั ่นใจว่างานสาเร็จตามเวลาและ
งบประมาณที่กาหนดให้
 งานของผูจดการคือทางานให้สาเร็จโดยใช้ผอื่น
้ั
ู้
 เมื่อมอบหมายงานไปแล้ว คุณยังคงมีความรับผิดชอบต่อผลลัพธ์
อยู่
 หลักการจัดการคือ ให้จดการกับผูอื่นเช่นเดียวกับทีตนอยาก
ั
้
่
ได้รบการจัดการ
ั
6.การวัดผล จะต้องมีตวชี้วัดที่เป็ นตัวเลข และมีการตั้งค่ามาตรฐาน
ั
สาหรับทุกงานด้วย
 กฏของ Hawthorne principle กล่าวว่า ถ้าผูคนมีความชัดเจนใน
้
ตัวเลขที่ใช้วด พวกเขาจะทางานเพื่อทาให้ตวเลขเหล่านั้นดีข้ ึน
ั
ั
7.การรายงานผล เพราะนี่คือหน้าที่สาคัญของผูนา ซึ่งจะต้อง
้
รายงานให้บุคคลทั้งภายนอกและภายในให้รบทราบตลอด
ั
 ต้องมั ่นใจว่าพนักงานได้รบรูเรืองราวที่มีผลกระทบกับการทางาน
ั ้ ่
ของพวกเขา โดยจัดการประชุมอย่างสมาเสมอ ทางที่ดีควรเป็ น
่
ทุกสัปดาห์ เพื่อติดตามความก้าวหน้าและทาให้เป็ นปั จจุบน
ั
7 ข้อกาหนดความสาเร็จทางธุรกิจ
 1. Productivity (to do more with less)
 2. Customer Satisfaction (long-term business success)
 3. Profitability (true measure of leadership)
 4. Quality (key to business survival)
 5. Innovation (key to business success)
 6. Organizational Development (ways to get better results)
 7. People-Building (most important asset)
CHAPTER 5





ทักษะการจ้างบุคลากรที่ดีที่สุด เป็ นปั จจัยกาหนดความสาเร็จใน
ฐานะผูนายิงกว่าปั จจัยอื่นใด
้ ่
ในหนังสือขายดีเรือง Good to Great ของ Jim Collins กล่าวว่า สิ่ง
่
สาคัญในการสร้างบริษทที่ยงใหญ่คือ การใช้บุคคลที่ถูกต้องให้
ั ิ่
ถูกกับงาน และกาจัดบุคคลที่ไม่ถูกต้องออกไปเสียจากบริษท
ั
Larry Bossidy กล่าวในหนังสือขายดีเรือง Execution ว่า ให้สรรหา
่
บุคคลที่สามารถทางานให้สาเร็จ ที่ทางานได้เร็วและดี





การสรรหาบุคคลที่ถูกต้อง อย่ากาหนดเส้นตาย ให้ใจเย็น ๆ
ผูนาควรมีส่วนสรรหาบุคคลใหม่ ๆ แต่ไม่จาเป็ นต้องทาเอง
้
ตั้งแต่การสัมภาษณ์ครั้งแรก แต่ทุกคนที่ได้รบการจ้าง จะต้อง
ั
ผ่านการพูดคุยกับคุณก่อนเสมอ
หลักประการหนึ่งของการจ้างงานคือ คัดเลือกช้า ๆ ไล่ออกเร็ว
(Hire slowly and fire fast.) เพราะการคัดคนเป็ นงานศิลปะ ห้าม
รีบร้อน




ให้เขียนคุณภาพของบุคลากรที่ตองการจ้าง เช่น ความซื่อสัตย์
้
มองเชิงบวก ทางานหนัก มีความขยัน มีความสนใจในงาน และ
เป็ นคนเปิ ดใจ (honest, positive, hard-working, energetic,
focused, and open-minded.)
เขียนคุณสมบัตที่ตองการเหล่านี้ โดยเรียงตามความสาคัญและ
ิ ้
ความเหมาะสมกับประเภทของงาน





การเขียนลักษณะงาน ให้เขียนหน้าทีการงานทุกอย่างที่บุคคลนั้น
่
ต้องทาโดยไม่มีการตกหล่น
แบ่งรายการคุณสมบัตที่ตองการว่าเป็ น สิ่งจาเป็ น (Musts) และ
ิ ้
สิ่งที่ตองการ (Wants) เพราะบางสิ่งเป็ นสิ่งที่ขาดไม่ได้ บางสิ่ง
้
เป็ นส่วนเสริมให้ดีข้ ึน
การมีรายการที่ครบถ้วนสาหรับตาแหน่งที่ตองการ ทาให้การคัด
้
สรรบุคคลที่ถูกต้อง มีประสิทธิภาพมากขึ้น






การสัมภาษณ์ ให้ผสมัครทาตัวตามสบายไม่ตองเกร็ง แล้วให้เล่า
ู้
้
ประวัตการทางานที่เคยทาแล้วประสบผลสาเร็จ
ิ
ผูสมัครที่ดีจะแสดงความกระตือรือร้น (curiosity) ด้วยการถาม
้
คาถามเกี่ยวกับคุณ บริษทของคุณ การงาน โอกาสความก้าวหน้า
ั
เป็ นต้น
ให้มองหาคุณสมบัตคือ SWAN: Smart, Works Hard, Ambitious,
ิ
and Nice.
ไม่ตองรีบร้อน ใจเย็น ๆ
้
ให้ใช้กฎของสาม (law of three)
 สัมภาษณ์ผสมัครอย่างน้อยสามคนต่อหนึ่งตาแหน่ง
ู้
 สัมภาษณ์ผสมัครที่คุณชอบอย่างน้อยสามหนหรือสามสถานที่ (ที่
ู้
สานักงาน บริเวณทางเดินหรือห้องแยกต่างหาก และอาจเป็ น
ร้านอาหารใกล้ ๆ สานักงานอีกแห่ง)
 แล้วให้เพื่อนร่วมงานในอนาคตอีกสามคน ได้สมภาษณ์ผสมัครที่
ั
ู้
เลือกไว้






เรืองค่าจ้างนั้น มีคากล่าวว่า การได้คนดีเหมือนได้ของฟรี
่
(‘‘Good people are free.’’) เพราะเขาจะสร้างรายได้ให้กบบริษท
ั
ั
มากกว่าค่าจ้างมาก
ให้ถามผูสมัครว่า ในตาแหน่งนี้คิดว่าค่าจ้างเท่าใดจึงจะเหมาะสม
้
ถ้าซื้อตัวจากบริษทอื่น ค่าจ้างต้องมากกว่าที่เดิมอย่างน้อยร้อยละ
ั
สิบ
อย่ากลัวการต้องจ่ายค่าจ้างให้กบคนทีมีความพิเศษ (talented
ั
่
people)







การเริ่มงานในทันที โดยให้บุคลากรเริมจากรูจกกับ ค่านิยม
่
้ั
พันธกิจ และวิสยทัศน์ของบริษท
ั
ั
แนะนาพนักงานใหม่ให้เป็ นที่รูจกอย่างถ้วนทั ่ว
้ั
จัดพี่เลี้ยงให้กบพนักงาน
ั
จัดงานให้มากหน่อยเพื่อเป็ นการท้าทายความสามารถ
ถ้าพนักงานใหม่ทาได้ดีควรชื่นชมในทันที





ปั ญหาที่พบบ่อยมี 2 ประการคือ ไม่เข้าใจทิศทางของบริษทและ
ั
ขาดการสะท้อนกลับ (lack of direction and lack of feedback)
การไม่แน่ใจในทิศทาง ทาให้พนักงานเกิดความสับสน ว่าคุณ
ต้องการอะไรกันแน่
การไม่มีการสะท้อนกลับของผลการทางาน ทาให้เกิดความ
ยากลาบากในการทางาน
ผูคนต้องการฟั งเสียงสะท้อนกลับว่า เขาทางานได้ดีเพียงใด
้
วิธีการปรับปรุงผลงานแบบมืออาชีพ
 1.นั ่งคุยกันให้เข้าใจเรืองความคาดหวัง
่
 2.ตั้งตัวชี้วัดผลงานที่ได้มาตรฐาน
 3.อย่าคาดเดาว่าพนักงานจะเข้าใจแจ่มแจ้ง
 4.ให้การสะท้อนกลับอย่างสมาเสมอ เรื่องผลการทางานว่า ทาได้
่
ดี หรือต้องทาการปรับปรุง
 5.ตรวจสอบกับความคาดหวัง ถึงแม้คณมอบหมายงานไปแล้วก็
ุ
ตาม คุณยังคงต้องรับผิดชอบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น










เรืองการตั้งใจที่ดี แต่เกิดข้อผิดพลาด ให้ประเมินก่อนว่า
่
พนักงานตั้งใจทาดีอย่างสุดความสามารถ แล้วดาเนินการดังนี้
1.เรียกพนักงานคนนั้นมาพูดคุยในที่เฉพาะเป็ นการส่วนตัว
2.ให้บอกปั ญหาหรือความไม่เข้าใจที่เกิดขึ้น
3.ตั้งใจฟั งสิ่งที่เขาพูดมาทั้งหมด
4.ถ้าเกิดความผิดพลาดจริง ให้ตกลงเรื่องการทาการแก้ไข
5.ติดตามผลสัญญาที่ให้กนไว้
ั
6.อย่าลืมบันทึกเรื่องราว ที่ถกอภิปรายกันไว้ดวย
้



หลักการประชุมอย่างสมาเสมอ คือสมควรจัดให้มีการประชุมกัน
่
อย่างน้อยทุกสัปดาห์
ข้อควรระวัง (A warning): การประชุมไม่ใช่การมานั ่งฟั งผูบริหาร
้
บรรยาย งานหลักของผูนาคือการฟั งไม่ใช่การพูด
้




งานอย่างหนึ่งของผูนาคือการสร้างสิ่งแวดล้อมที่บุคลากรเกิด
้
ความสบายใจ นั ่นคือการสร้างความไว้วางใจ
การไม่กล่าวโทษ หรือไม่ลงโทษ บุคลากรที่มีความตั้งใจพัฒนา
งานให้ดข้ ึน แต่เกิดความผิดพลาดไม่เป็ นไปตามคาดหวังที่วางไว้
ี
แทนที่จะวิจารณ์ ควรช่วยให้พนักงานคนนั้น ระบุการเรียนรูจาก
้
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การเน้นที่บุคลากร คือจุดสาคัญเหนือสิ่งใด
 ถ้าคุณเน้นบุคลากร บุคลากรจะทุ่มเทพลังแรงกายแรงใจ ในการ
ทางานให้ดข้ ึน
ี
 มีคากล่าวว่า ไม่มีพลทหารที่เลว ภายใต้การปกครองของนายพล
ที่ดี (It is said that there are never any bad soldiers under a good
general.)
CHAPTER 6







(จากตาราง 2x2) ช่องมุมบนซ้าย คือบุคลากรที่มีความสามารถ
และความมุ่งมั ่น เรียกว่า ผูมีผลงานดี (outperformers) เป็ นกลุม
้
่
ที่สร้างผลลัพธ์รอยละ 80
้
ช่องมุมบนขวา คือกลุมที่มีความสามารถแต่ไม่มุ่งมั ่น ควรใช้กล
่
ยุทธ์ดึงเข้ามาเป็ นพวก
กลุมล่างซ้าย คือบุคลากรที่มุ่งมั ่น แต่ขาดความสามารถ จึงควร
่
จัดการฝึ กอบรมให้
กลุมล่างขวา คือกลุมที่แย่ ทั้งไม่มุ่งมั ่นและไม่มีความสามารถ
่
่
+
สมควรจาหน่ายออกจากระบบ
Competent

Commit +

Commit Competent -







ปั จจัยการกระตุนบุคลากรมี 4 ประการคือ
้
1.มอบหมายงานที่ทาทายและน่าสนใจ (challenging, interesting
้
work) บุคลากรต้องการขยันทางานอย่างมีความสุข
2.บุคลากรต้องการทางานในบรรยากาศที่มีความไว้วางใจกัน
(high trust environment)
3.บุคลากรต้องการความรับผิดชอบผลงานของตนเอง
(personally responsible for results)
4.บุคลากรต้องการความก้าวหน้าและโอกาสในการเติบโต
(personal growth and promotion)
คุณสมบัตของทีมที่ดี
ิ
 1. มีเป้ าประสงค์รวม (Shared Goals)
่
 2. มีค่านิยมร่วม (Shared Values)
 3. มีแผนการร่วมกัน (Shared Plans)
 4. มีภาวะผูนาที่ชดเจน (Clear Leadership)
้
ั
 5. มีการประเมินสมาเสมอ (Continuous Evaluation and
่
Appraisal)
 สุดท้าย มีความมุ่งมั ่นสูความเป็ นเลิศ (Finally, top teams in both
่
business and sports make a commitment to excellence.)
CHAPTER 7
คุณสมบัติ 3 ประการของอัจฉริยะ
 1. ความสามารถในการมีสมาธิจดจ่ออยูกบสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
่ ั
 2. การมีแนวคิดที่มีความยืดหยุน
่
 3. มีวิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ
ก่อนอื่นต้องมั ่นใจในปั ญหาเสียก่อนว่า
 1. นั ่นคือปั ญหาจริง ๆ
 2. คุณมีหน้าที่แก้ปัญหา
 3. ยังไม่เคยมีใครแก้ปัญหานี้มาก่อน
 4. มีการกาหนดเส้นตายในการแก้ปัญหา
 5. อย่ากาหนดว่าวิธีการแก้ปัญหามีแค่หนทางเดียว
วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็ นระบบ
 1. ระบุปัญหาหรือเป้ าประสงค์ลงบนกระดาษ
 2. ให้ถามว่า มีปัญหาเพิ่มเติมอีกหรือไม่
 3. ปรับคาในปั ญหาเพื่อให้ง่ายต่อการแก้ไข
 4. พยายามหาสาเหตุท้งหมดของปั ญหา
ั
 5. กาหนดวิธีแก้ปัญหาทุกวิถีทางทีเป็ นไปได้
่







6. หลังจากหาสาเหตุและแนวทางแก้ปัญหาทุกแง่มุมแล้ว ถึง
เวลาตัดสินใจ
7. เมื่อตัดสินใจแล้ว ให้มอบหมายความรับผิดชอบ
8. กาหนดเส้นตาย และระบุวนเวลาที่ตองส่งรายงาน
ั
้
9. นาแผนไปปฏิบติ
ั
10. ทบทวนและตรวจสอบว่า การแก้ปัญหาได้ลล่วงไปได้ดวยดี
ุ
้
แนวทาง 3 ประการในการตัดสินใจ
 1.เริมต้นด้วยการถกอภิปรายกันอย่างกว้างขวาง
่
 2.มีการตัดสินใจที่ชดเจน ทุกคนเห็นพ้องต้องกันว่า ใคร ต้องทา
ั
อะไร เมื่อใด และทาอย่างไร
 3.ให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่
วิธีช่วยการตัดสินใจ
 1.ใช้กระดาษสองช่อง (The Balance Sheet Method) หรือที่
เรียกว่า Ben Franklin Method ด้านหนึ่งเขียนข้อดีของวิธีการ
ตัดสินใจ และอีกด้านหนึ่งเขียนข้อเสียของวิธีการตัดสินใจนั้น ๆ
 2.ใช้ระบบให้คะแนน (The Point Scoring System) ให้เขียนทุก
วิธีการตัดสินใจทั้งหมดลงกระดาษ โดยมีคะแนนทั้งหมด 1,000
แต้ม แล้วให้คะแนนแต่ละหัวข้อมากน้อยตามความสาคัญ
โดยรวมคะแนนทุกวิธีแล้วให้ได้ 1,000 แต้ม
วิธีสร้างความสาเร็จให้เป็ นมาตรฐาน
 1. ตั้งเป้ าประสงค์และมีตววัดผลที่เป็ นมาตรฐานที่ชดเจน
ั
ั
 2. ทบทวนติดตามผลอย่างสมาเสมอ
่
 3. พร้อมปรับเปลี่ยนเมื่อมีขอมูลข่าวสารใหม่
้
 4. ยอมรับผลสะท้อนกลับและทาการแก้ไข
 5. มีแผนสารองไว้ ในกรณีที่แผนแรกใช้ไม่ได้ผล
วิธีช่วยบุคลากรตัดสินใจ
 1. ก่อนนาปั ญหามาถก ให้เขียนมาเป็ นลายลักษร์อกษร
ั
 2. เขียนเหตุผลว่าเหตุใดปั ญหาจึงเกิดขึ้น
 3. ระบุแนวทางการแก้ปัญหามาทั้งหมด และให้บุคคลนั้นเลือก
แนวทางที่คิดว่าเป็ นวิธีทดีที่สุดมา 1 วิธี
ี่
การเรียนรูจากทุกสถานการณ์
้
 1. เราทาอะไรได้ดี ‘‘What did I do right?’’ วิเคราะห์ถึงข้อดีของ
วิธีการตัดสินใจทาในสิ่งทีทาทุกสิ่ง แล้วประสบความสาเร็จ
่
 2. เราควรทาอะไรให้ดข้ ึนกว่าเดิม ‘‘What would I do differently?’’
ี
ระบุแนวทางการปรับปรุง ในการทางานครั้งต่อไปให้ดีข้ ึน
CHAPTER 8






Aristotle กล่าวถึงผลสาเร็จของการสื่อสารว่ามี 3 องค์ประกอบคือ
1. Ethos: บุคลิกภาพของผูพูด
้
2. Pathos: การสร้างอารมณ์รวมให้กบผูฟัง
่
ั ้
3. Logos: คาพูดที่ใช้ (สาคัญน้อยที่สุด!).
การนาเสนออย่างมืออาชีพ
 บุคคลรูโดยทันที ว่าคุณเตรียมพร้อมมาดีเพียงใด
้
 ปั จจัยที่สาคัญที่สุดในการสร้างสัมพันธภาพคือ ความชื่นชอบ
(liking) ถ้าผูคนชื่นชอบคุณ คุณก็สามารถชักนาหรือชี้ชวนได้ง่าย
้
 ทั้งนี้ทั้งนั้น คุณจะต้องมีความน่าเชื่อถือ และมีความสามารถด้วย



ความต้องการที่แท้จริงของมนุษย์คือ ความรูสึกว่าตนเองมีคณค่า
้
ุ
และมีความสาคัญ
ดังนั้นควรฝึ กฝน 4A ทุกวัน
 1. การกล่าวขอบคุณ Appreciation.
 2. การชื่นชมเมื่อทาได้ดี Approval.
 3. การยกย่องสรรเสริญ Admiration.
 4. ให้ความใส่ใจ Attention. (ตั้งใจฟั งอย่างอดทน ฟั งเงียบ ๆ ฟั งอย่าง

สงบ ฟั งให้ตลอด อย่าพูดทะลุกลางปล้อง)
การเป็ นนักฟั งที่ยิ่งใหญ่
้
 1. ฟั งอย่างตังใจ โน้มตัวไปข้างหน้า อย่าพูดแทรก
 2. หยุดสักครูก่อนตอบ
่
 a) เพื่อป้ องกันการขัดจังหวะ
 b) ทาให้ฟังได้ลึกซึ้งขึ้น
 c) แสดงถึงมีการใคร่ครวญในสิ่งที่ผูอื่นพูด
้




3. มีการซักถามเพื่อความแน่ใจ
4. สะท้อนกลับด้วยคาพูดของเราเอง
การสื่อสารมีท้งวจนะ และ อวจนะ
ั
 1. ภาษากาย (Body language)—55% ของข้อความ
 2. น้ าเสียง (Tone of voice)—38% ของข้อความ
 3. คาพูด (The words themselves)—7% ของข้อความ
 ถ้าคุณพูดปด ภาษาร่างกายและน้ าเสียงจะแสดงออกมา ไม่ว่าคุณ
จะใช้ถอยคาพูดอย่างไรก็ตาม
้
วิธีการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ 5 ประการ
 1. เตรียมความพร้อมล่วงหน้า จะสร้างประสิทธิภาพ 90%
 2. เสนอแนวคิดและเป้ าประสงค์อย่างชัดเจน ตั้งแต่ตอนเริมต้น
่
 3. ให้เหตุผลประกอบแนวคิด
 4. มีพยานหลักฐานประกอบเหตุผล
 5. ยืนยันแนวคิดอีกครั้ง และเรียกร้องให้มีการปฏิบติ
ั
CHAPTER 9



คาถามสาหรับผูนา ในเรืองยุทธศาสตร์ที่สาคัญ และประเด็นการ
้
่
บริหารงาน บางคาถามอาจคุนเคย บางคาถามอาจแปลกใหม่
้
ผูนาทุกคนสมควรตอบปั ญหาเหล่านี้ด้วยความมั ่นใจ ไม่มีความ
้
ลังเลสงสัย







ตัวอย่างคาถาม (ที่เหลืออยูในหนังสือ)
่
1. คุณอยูในธุรกิจอะไร บริษทคุณทาให้ลกค้ามีชีวิตความเป็ นอยู่
่
ั
ู
ที่ดีข้ ึนได้อย่างไร
2. อะไรคือพันธกิจของบริษท ซึ่งระบุสิ่งที่ตองการบรรลุ
ั
้
หลีกเลี่ยง หรือ อนุรกษ์ สาหรับลูกค้า
ั
3. ลูกค้า คิด พูด หรืออธิบาย ถึงบริษทคุณอย่างไร เขาใช้คาว่า
ั
อะไร
ฯลฯ
CHAPTER 10



ทุกคนมีเรื่องที่จะต้องทาเยอะ แต่ไม่มีเวลาพอ
สิ่งท้าทายในการทาให้ชีวิตเรียบง่ายคือ เลือกทาแต่งานที่มี
ความสาคัญสูง และใช้เวลาให้นอยลงกับงานที่ไม่ค่อยสาคัญ
้





ให้พิจารณาสิ่งที่ความสาคัญในชีวิตของคุณ นั ่นคือเมื่อทาแล้ว
เกิดความสงบในจิตใจ
ถ้าสิ่งใดทาแล้วเกิดความสันติ พอใจ พึงใจ และรูสึกมี
้
ความสาคัญและมีคุณค่า (peace, satisfaction, joy, and the
feeling of value and importance) นั ่นคือสิ่งที่ถูกต้องของคุณ (right
for you)
ถ้าทาแล้วเครียด เสียสมาธิ ไม่มีความสุข หรือรูสึกวุ่นวาย
้
(stress, distraction, unhappiness, or irritation) นั ่นคือสิ่งผิด
สาหรับคุณ (wrong for you)



วิธีการสร้างความสมดุลคือ ทุกกิจกรรมภายนอกที่ทาสอดคล้อง
กับคุณค่าภายในใจ ทาแล้วมีความสุข สงบ รืนเริง ผ่อนคลาย
่
ลองนึกภาพเองว่า ถ้าไม่มีขอจากัด คุณสามารถจะทาอะไรก็ได้
้
สิ่งนั้นคืออะไร





วิธีทาให้สบายใจ คือ ยอมรับว่าตนเองไม่สมบูรณ์แบบ ทาผิดพลาด
ได้ และสามารถเปลี่ยนใจได้
Zero-based Thinking คือ ถ้าให้เลือกทาใหม่ได้ จะไม่ทาอะไรซ้ าอีก
คุณมีทางเลือกคือ เลือกทาในสิ่งที่ทาอยูเพิ่มขึ้น ทาในสิ่งที่ทาอยูให้
่
่
น้อยลง เริมทาในสิ่งที่อยากทา เลิกทาเรืองอื่น ๆ
่
่

 มันคืออะไร?
การเปลี่ยนแปลงแบบพลิกฝ่ ามือ
 1.มอบหมายงานของคุณทุกอย่างที่ไม่จาเป็ นให้ผอื่นทาแทน
ู้
 2.การ outsource งานที่ไม่จาเป็ นทุกอย่าง ที่มีบริษทอื่นทาให้เรา
ั
ได้ดีกว่าที่เราทาเอง
 3.กาจัดกิจกรรมที่ไม่ก่อประโยชน์ หรือมีคณค่าต ่า
ุ
ให้ต้งลาดับความสาคัญของการงาน (ABCDE)
ั
 วิธีดคือ ผลทีตามมา (consequences) ถ้าทาหรือไม่ทาอะไรแล้ว
ู
่
ก่อเกิดผลตามมาที่รุนแรง แสดงว่าสิ่งนั้นมีความสาคัญ ทานอง
เดียวกันถ้าผลที่ตามมาไม่รุนแรงแสดงว่าสิ่งนั้นสาคัญน้อย
 มีกฏอยูว่า อย่าทางาน B จนกว่างาน A จะเสร็จสิ้น
่
ในการวางแผนงานล่วงหน้า
 อย่าลืม 6 P: ‘‘Proper Prior Planning Prevents Poor Performance,’’
 ให้วางแผนล่วงหน้าเป็ นปี สาหรับการหยุดพักผ่อนกับครอบครัว
หรือเพื่อนฝูง
 วางแผนทุกเดือนล่วงหน้า
 วางแผนรายสัปดาห์ก่อนทุกสัปดาห์
 วางแผนรายวันล่วงหน้า โดยเฉพาะคืนก่อนหน้า




ให้ลาดับความสัมพันธ์คือ บุคคลสาคัญที่สุดในชีวิตคุณอยูเหนือ
่
สิ่งอื่นใดทั้งปวง
แล้วให้จนตนาการว่าคุณมีชีวิตเหลือแค่ 6 เดือน คุณจะทา
ิ
อะไรบ้าง จะแบ่งการใช้เวลาอย่างไร
แต่...ไม่ตองรอให้ถกรางวัลเป็ นเงินล้าน หรือเหลือเวลาแค่ 6
้
ู
เดือนจึงจะเริมทาอะไรที่ต้งใจ ให้ทาตอนนี้ ทันที
่
ั
ดูแลสุขภาพคุณให้ดี (อโรคา ปรมา ลาภา)
 กินให้นอยแต่กินให้ดีข้ ึน
้
 กินอาหารที่มีประโยชน์ตอร่างกาย
่
 ออกกาลังกายสมาเสมออย่าให้เป็ นโรคอ้วน
่
 หมั ่นตรวจสุขภาพร่างกายและสุขภาพฟั น






วิธีการแสวงหาความสันโดษ โดยอยูกบตนเองเงียบๆ วันละ
่ ั
30-60 นาที
รูจกตั้งใจฟั งเสียงภายในตนเอง
้ั
เมื่อฝึ กความสันโดษเป็ นประจา คุณจะรูสึกสงบ เกิดความ
้
สร้างสรรค์ และเกิดความผ่อนคลาย
ไม่ตองเสียค่าใช้จายใด ๆ ลองทาดู
้
่
THE END

Next

‘‘People with goals succeed because they know
where they are going.’’ —EARL NIGHTINGALE

Contenu connexe

En vedette

Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการFast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการmaruay songtanin
 
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติTips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติmaruay songtanin
 
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์maruay songtanin
 
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้maruay songtanin
 
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นPmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นmaruay songtanin
 
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีนChinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีนmaruay songtanin
 
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำLeaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำmaruay songtanin
 
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการGeneration y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการmaruay songtanin
 
World is flat โลกราบเรียบ
World is flat โลกราบเรียบWorld is flat โลกราบเรียบ
World is flat โลกราบเรียบmaruay songtanin
 
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร maruay songtanin
 
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEALmaruay songtanin
 
Execution premium การทำให้สำเร็จ
Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ
Execution premium การทำให้สำเร็จ maruay songtanin
 
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ BlazeyBlazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazeymaruay songtanin
 
Five keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง
Five keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงFive keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง
Five keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงmaruay songtanin
 
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมินPmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมินmaruay songtanin
 
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญาWise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญาmaruay songtanin
 
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลางHuman centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลางmaruay songtanin
 
Art of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากร
Art of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากรArt of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากร
Art of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากรmaruay songtanin
 
Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21
Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21
Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21maruay songtanin
 
What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ?
What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ?
What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ? maruay songtanin
 

En vedette (20)

Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการFast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ
 
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติTips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
Tips on journey to excellence คำแนะนำสำหรับผู้สมัครรางวัลคุณภาพแห่งชาติ
 
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์
Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์
 
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
Leadership the hard way frohman ผู้นำที่ไม่ยอมแพ้
 
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็นPmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
Pmk internal assessor 6 แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีนChinese business leaders ตะวันตกมองจีน
Chinese business leaders ตะวันตกมองจีน
 
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำLeaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
Leaders' 10 top blind spots - 10 จุดบอดของผู้นำ
 
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการGeneration y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
Generation y - Gen Y กับการบริหารจัดการ
 
World is flat โลกราบเรียบ
World is flat โลกราบเรียบWorld is flat โลกราบเรียบ
World is flat โลกราบเรียบ
 
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
Pmk internal assessor 2 โครงร่างองค์กร
 
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL
 
Execution premium การทำให้สำเร็จ
Execution premium การทำให้สำเร็จ Execution premium การทำให้สำเร็จ
Execution premium การทำให้สำเร็จ
 
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ BlazeyBlazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
Blazey's scoring guidlines แนวทางการให้คะแนนของ Blazey
 
Five keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง
Five keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูงFive keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง
Five keys to building hpo - 5 เคล็ดลับสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง
 
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมินPmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
Pmk internal assessor 9 คู่มือผู้ตรวจประเมิน
 
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญาWise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา
 
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลางHuman centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง
 
Art of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากร
Art of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากรArt of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากร
Art of engagement การสร้างความผูกพันของบุคลากร
 
Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21
Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21
Management 21 c การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21
 
What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ?
What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ? What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ?
What is a high performance organization (hpo) องค์กร HPO คืออะไร ?
 

Similaire à How the best leaders lead วิถีผู้นำชั้นยอด

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์bussaba_pupa
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......Chalermpon Dondee
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยAon Wallapa
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์mikanokun
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้Tawanat Ruamphan
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนputjohn
 
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศThe 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศmaruay songtanin
 

Similaire à How the best leaders lead วิถีผู้นำชั้นยอด (20)

บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
Get job hop to uccess V2.
Get job hop to uccess V2.Get job hop to uccess V2.
Get job hop to uccess V2.
 
Consult
ConsultConsult
Consult
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่องสรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
สรุปบทความเกี่ยวกับภาวะผู้นำ 3 เรื่อง
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วยค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
ค่ายฮักแพงแบ่งปัน ติวสอบบรรจุครูผู้ช่วย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Sum scbf
Sum scbfSum scbf
Sum scbf
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
ปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษาปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาการศึกษา
 
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้และทฤษฎีการเรียนรู้
 
4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียนการปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
การปฏิบัติงานของครูในโรงเรียน
 
Eb chapter2
Eb chapter2Eb chapter2
Eb chapter2
 
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศThe 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
The 360º Leader ผู้นำทุกทิศ
 

Plus de maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

How the best leaders lead วิถีผู้นำชั้นยอด