SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์
25 กุมภาพันธ์ 2557



INNOVATION: การสร้างนวัตกรรม
“การสร้างนวัตกรรม” หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อ
ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ กระบวนการหรือประสิทธิผลขององค์กร รวมทั้ง
สร้างมูลค่าใหม่ให้แก่ผมีสวนได้สวนเสีย การสร้างนวัตกรรมเป็ นการ
ู้ ่
่
รับเอาความคิด กระบวนการ เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ หรือแนวทางใน
การดาเนินธุรกิจ/กิจการ ซึ่งอาจเป็ นของใหม่หรือนามาปรับเพื่อการ
ใช้งานในรูปแบบใหม่
 ผลลัพธ์ของการสร้างนวัตกรรมเป็ นการฉีกแนวหรือการเปลี่ยนอย่าง
ก้าวกระโดดในด้านผลลัพธ์ผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการ การสร้าง
นวัตกรรมใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุน กระบวนการใน
การระบุโอกาสเชิงกลยุทธ์ และความเต็มใจที่จะดาเนินการตามความ
เสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด






การสร้างนวัตกรรมที่ประสบความสาเร็จในระดับองค์กรเป็ น
กระบวนการที่ประกอบด้วยหลายขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา
และการแบ่งปั นความรู ้ การตัดสินใจที่จะดาเนินการ การดาเนินการ
การประเมินผล และการเรียนรู ้
แม้ว่าการสร้างนวัตกรรมมักเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี แต่การสร้าง
นวัตกรรมสามารถเกิดได้ในทุกกระบวนการที่สาคัญขององค์กร ซึ่ง
อาจได้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงผ่านการสร้างนวัตกรรม ไม่ว่า
จะเป็ นการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดดหรือการเปลี่ยนแปลงแนวทาง
หรือผลผลิต
การสร้างนวัตกรรมอาจรวมถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของ
โครงสร้างองค์กร หรือรูปแบบธุรกิจ/กิจการเพื่อให้บรรลุงานของ
องค์กรอย่างมีประสิทธิผลยิงขึ้น
่
INTELLIGENT RISKS : ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด
 “ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด” หมายถึง โอกาสที่จะ
ได้รบประโยชน์มีสูงกว่าโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย หรือหากไม่นาโอกาส
ั
นั้นมาพิจารณาจะบั ่นทอนความยั ่งยืนขององค์กร
 ความกล้าเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด องค์กรต้อง
สามารถยอมรับความล้มเหลว และองค์กรต้องยอมรับว่าไม่สามารถคาดหวัง
ให้เกิดนวัตกรรม หากดาเนินการเฉพาะเรืองที่มีโอกาสสาเร็จเท่านั้นในระยะ
่
เริมต้น องค์กรต้องลงทุนในเรื่องที่มีโอกาสสาเร็จ และในขณะเดียวกันต้อง
่
ตระหนักถึงความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้น
 ระดับของความเสี่ยงที่จะรับได้อาจแตกต่างกันตามจังหวะและระดับของภัย
คุกคาม และโอกาสในธุรกิจ สาหรับธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
ในเรื่องผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่หรือรูปแบบทางธุรกิจใหม่
องค์กรจาเป็ นต้องลงทุนด้านทรัพยากรมากกว่าธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงช้า ซึ่งใน
ธุรกิจประเภทหลังนี้องค์กรยังคงต้องเฝ้ าติดตามและสารวจการเติบโตและ
การเปลี่ยนแปลง แต่โดยส่วนมากมีแนวโน้มที่จะใช้ทรัพยากรน้อยกว่า
STRATEGIC OPPORTUNITIES: โอกาสเชิงกลยุทธ์
 “โอกาสเชิงกลยุทธ์” หมายถึง ภาพอนาคตที่เกิดจากการคิดนอก
กรอบ การระดมสมอง การใช้ประโยชน์จากความบังเอิญ
กระบวนการวิจยและสร้างนวัตกรรม การประมาณการอย่างฉีกแนว
ั
จากสภาพปั จจุบน และแนวทางอื่นๆ เพือมองอนาคตที่แตกต่าง
ั
่
ออกไปจากเดิม
 การเกิดความคิดที่นาไปสูโอกาสเชิงกลยุทธ์ มักเกิดจาก
่
สภาพแวดล้อมที่กระตุนให้เกิดความคิดอย่างอิสระโดยไม่ถูกชี้นา
้
 การเลือกว่าจะดาเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์ใด ต้องพิจารณาถึง
ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) ด้านภาระการเงิน และด้านอื่นๆ
จากนั้นจึงตัดสินใจอย่างรอบคอบ (ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผล
ได้ผลเสียอย่างฉลาด – Intelligent Risks)
1. ลักษณะองค์กร (Organizational Description):
 ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร (Organizational Relationships)
 (3) ผูส่งมอบและพันธมิตร (Suppliers and PARTNERS) ผูส่งมอบ
้
้
พันธมิตร และผูให้ความร่วมมือเหล่านี้มีสวนร่วมอะไรในการ
้
่
สร้างนวัตกรรมให้แก่องค์กร
2. สภาวการณ์ขององค์กร (Organizational Situation):
 ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน (Competitive Environment)
 (2) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน
(Competitiveness Changes) การเปลี่ยนแปลงที่สร้างโอกาส
สาหรับการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือคืออะไร



1.1 การนาองค์กรโดยผูนาระดับสูง (Senior Leadership): ผูนา
้
้
ระดับสูงนาองค์กรอย่างไร
อธิบายวิธีการที่ผนาระดับสูงสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิด
ู้
ความผูกพันกับลูกค้า การสร้างนวัตกรรม และผลการดาเนินการ
ที่ดี (HIGH PERFORMANCE)





ก. วิสยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (Vision, Values, and Mission)
ั
(3) การสร้างองค์กรที่ยั ่งยืน (Creating a SUSTAINABLE
Organization) ผูนาระดับสูงดาเนินการอย่างไรที่จะทาให้องค์กรมี
้
ความยั ่งยืน ผูนาระดับสูงดาเนินการในเรืองต่อไปนี้อย่างไร
้
่
สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรม ยอมรับความ
เสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด (INTELLIGENT
RISK taking) การบรรลุวตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC
ั
OBJECTIVES) และความคล่องตัวขององค์กร (Organizational
Agility)
1.1ข. การสือสารและผลการดาเนินการขององค์กร
่
 1.1ข(2) การทาให้เกิดการปฏิบตการอย่างจริงจัง ผูนาระดับสูง
ั ิ
้
ดาเนินการอย่างไรในการทาให้เกิดการปฏิบตการอย่างจริงจัง
ั ิ
เพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ขององค์กร ปรับปรุงการดาเนินการ ทา
ั
ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมและยอมรับความเสี่ยงที่ผ่านการ
ประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด รวมถึงการบรรลุวิสยทัศน์ของ
ั
องค์กร




2.1 การจัดทากลยุทธ์ (Strategy Development): องค์กรมีวิธีการ
อย่างไรในการจัดทากลยุทธ์
ก. กระบวนการการจัดทากลยุทธ์ (Strategy Development
PROCESS)
(2) นวัตกรรม (INNOVATION) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการ
สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม องค์กรมี
วิธีการอย่างไรในการกาหนดโอกาสเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC
OPPORTUNITES) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการตัดสินใจว่าจะ
ดาเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์หรือความเสี่ยงทีผ่านการ
่
ประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด (INTELLIGENT RISK) ใน
ประเด็นใด โอกาสเชิงกลยุทธ์ที่สาคัญขององค์กรคืออะไร
หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า (Customer Focus)
 ในหมวดการมุ่งเน้นลูกค้า เกณฑ์ถามว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไร
ในการสร้างความผูกพันกับลูกค้าเพื่อความสาเร็จด้านตลาดใน
ระยะยาว ครอบคลุมถึงวิธีการที่องค์กรรับฟั ง เสียงของลูกค้า
สร้างความสัมพันธ์กบลูกค้า และใช้สารสนเทศลูกค้าเพื่อ
ั
ปรับปรุงและค้นหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรม






4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดาเนินการ
ขององค์กร (Measurement, Analysis, and Improvement of
Organizational Performance): องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการวัด
วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร
ก. การวัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE Measurement)
(1) ตัววัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE MEASURES)
องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการใช้ขอมูลและสารสนเทศเหล่านี้
้
เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับองค์กร การปรับปรุงอย่าง
ต่อเนื่อง และการสร้างนวัตกรรม





ก. การวัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE Measurement)
(2) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Data) เพื่อสนับสนุน
การตัดสินใจในระดับปฏิบตการและระดับกลยุทธ์ รวมทั้งการ
ั ิ
สร้างนวัตกรรม
(3) ข้อมูลลูกค้า (CUSTOMER Data) เพื่อสร้างวัฒนธรรมที่
มุ่งเน้นลูกค้ายิงขึ้น และเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ
่
ปฏิบตการและระดับกลยุทธ์ รวมทั้งการสร้างนวัตกรรม
ั ิ



ค. การปรับปรุงผลการดาเนินการ (PERFORMANCE
Improvement)
(3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสร้างนวัตกรรม (Continuous
Improvement and INNOVATION) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการใช้
ผลการทบทวนผลการดาเนินการ ไปใช้จดลาดับความสาคัญของ
ั
เรื่องที่ตองปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และนาไปเป็ นโอกาสในการ
้
สร้างนวัตกรรม






4.2 การจัดการความรู ้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
(Knowledge Management, Information, and Information
Technology): องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการสินทรัพย์ทาง
ความรูขององค์กร สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ
้
ก. ความรูขององค์กร (Organizational Knowledge)
้
(1) การจัดการความรู ้ (Knowledge Management) องค์กรมี
วิธีการอย่างไรในการรวบรวมและถ่ายทอดความรูที่เกี่ยวข้องเพื่อ
้
ใช้ในการสร้างนวัตกรรมและกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์





5.2 ความผูกพันของบุคลากร (Workforce Engagement): องค์กร
มีวิธีการอย่างไรในการสร้างความผูกพันกับบุคลากร เพื่อให้
บรรลุความสาเร็จในระดับองค์กร และระดับบุคคล
ก. ผลการปฏิบตงานของบุคลากร (WORKFORCE
ั ิ
PERFORMANCE)
(3) การจัดการผลการปฏิบตงาน (PERFORMANCE
ั ิ
Management) ระบบการจัดการผลการปฏิบตงานของบุคลากร
ั ิ
สร้างเสริมยอมรับความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสีย
อย่างฉลาด (INTELLIGENT RISK taking) ที่นาไปสูการสร้าง
่
นวัตกรรม สร้างเสริมการมุ่งเน้นลูกค้าและธุรกิจ/กิจการ และ
สร้างเสริมการบรรลุผลสาเร็จของแผนปฏิบตการอย่างไร
ั ิ



ค. การพัฒนาบุคลากรและผูนา (WORKFORCE and Leader
้
Development)
(1) ระบบการเรียนรูและการพัฒนา (LEARNING and
้
Development System) ระบบการเรียนรูและการพัฒนาของ
้
องค์กรดาเนินการสนับสนุนการปรับปรุงผลการดาเนินการของ
องค์กรและการสร้างนวัตกรรมอย่างไร


6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบตการ (Operational Effectiveness):
ั ิ
องค์กรมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้มั ่นใจว่ามีการบริหารจัดการการ
ปฏิบตการอย่างมีประสิทธิผลทั้งในปั จจุบนและในอนาคต
ั ิ
ั
 ง. การจัดการนวัตกรรม (INNOVATION Management)
 องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการนวัตกรรม องค์กรมีวิธีการ
อย่างไรในการพิจารณาโอกาสเชิงกลยุทธ์ที่องค์กรกาหนดว่าเป็ น
ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด (INTELLIGENT
RISKS) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการทาให้ทรัพยากรด้านการเงิน
และด้านอื่นๆ พร้อมใช้ในการดาเนินการสนับสนุนโอกาสเหล่านี้
องค์กรมีวิธีการพิจารณายุติโอกาสเชิงกลยุทธ์ในเวลาที่เหมาะสมเพือ
่
ไปสนับสนุนโอกาสที่มีลาดับความสาคัญเหนือกว่าอย่างไร


7.1 ผลลัพธ์ดานผลิตภัณฑ์และกระบวนการ (Product and Process
้
Results): ผลการดาเนินการด้านผลิตภัณฑ์และประสิทธิผลของ
กระบวนการเป็ นอย่างไร
 ข. ผลลัพธ์ดานประสิทธิผลของกระบวนการทางาน (WORK PROCESS
้
EFFECTIVENESS RESULTS)
 (1) ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ (PROCESS
EFFECTIVENESS and Efficiency) ระดับปั จจุบนและแนวโน้มของตัววัด
ั
หรือตัวชี้วัดที่สาคัญของผลการดาเนินการด้านการปฏิบตการของ
ั ิ
กระบวนการทางานและกระบวนการสนับสนุนที่สาคัญ รวมทั้งผลิต
ภาพ รอบเวลา และตัววัดอื่นๆ ที่เหมาะสมด้านประสิทธิผล
ประสิทธิภาพ และนวัตกรรมของกระบวนการเป็ นอย่างไร
1. SLT Commitment
7. New Product and
Process Results

2. CIIO Information
Generation

6. COO Operational
Effectiveness

3. SPT Strategy
Development

5. HRM Learning &
Development

4. IT & KM –
Measurement &
Analysis

fictional
CIIO - Information Generation
SPT - Strategy Development
(Strategic Opportunities &
Intelligent Risks)

PLAN
SLT – Commitment
Monitoring, Rewards &
Recognition

Strategy

ACT

Vision &
Values

HRM - Learning & Development
COO - Operational Effectiveness
DO (Results of New Product s and
Processes or Business Models)

CHECK
IT & KM – Measurement & Analysis
of Performance

fictional
CIIO
Information
Generation
-Ideas
- R&D
-VOC, VOS

SPT Strategy
Development
-VMV
-Strategic
Opportunities
- Intelligent
Risks

SLT Commitment
-Review & Monitoring
-Rewards & Recognition

HRM
Learning &
Development
-IDP
-Empower
-Diversity
Team

COO
Operational
Effectiveness
-PDCA
-LSS
-ISO
-QIT

Results
-New
Products and
Processes
-New
Business
Models

IT & KM – Measurement
& Analysis of performance

fictional
ทาเป็ นระบบ (Systematic)
 Approach = ROME (Repeatable, Orderly, Measurable,
Effectiveness)
 Deploy (Breadth & Depth)
 Learning (PDCA, Innovation, Sharing)
 Integration (Across Items, Organizational Goals)


ข้อคิด เว้าอย่างที่เฮ็ด (ใน Application) และ เฮ็ดอย่างที่เว้า
(ตอน Site Visit)
Andrew Carnegie

Contenu connexe

Tendances

บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3niralai
 
แหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมแหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมTongsamut vorasan
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาniralai
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งTongsamut vorasan
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติTongsamut vorasan
 
แหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดาแหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดาTongsamut vorasan
 
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์rungnapa260332
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2tayanon
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAOnprapa Wannasut
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่Isara Chiawiriyabunya
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่niralai
 

Tendances (20)

บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
บทยรรยายแสงเทียนแด่แม่3
 
แหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรมแหล่กฏแห่งกรรม
แหล่กฏแห่งกรรม
 
กสพท. สังคม 2560
กสพท. สังคม 2560กสพท. สังคม 2560
กสพท. สังคม 2560
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการทรงตัว การเคลื่อนไหว การจ ากัดการเคลื...
 
แหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่งแหล่กัณหาสั่ง
แหล่กัณหาสั่ง
 
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผนความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและแผน
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
 
แหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดาแหล่พาอมิตตดา
แหล่พาอมิตตดา
 
Cpg cervical cancer
Cpg cervical cancerCpg cervical cancer
Cpg cervical cancer
 
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
โหลดแนวข้อสอบ สภาพัฒน์
 
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
แนวข้อสอบนักพัฒนาชุมชน 2
 
ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2ฉันทศาสตร์ 2
ฉันทศาสตร์ 2
 
ภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากAภาวะมีบุตรยากA
ภาวะมีบุตรยากA
 
Eye medication slide
Eye medication slideEye medication slide
Eye medication slide
 
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
กระบวนการบำบัดรักษาผู้ป่วยยาและสารเสพติดแนวใหม่
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริงบรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
บรรณานุกรม วิทยานิพนธ์ จริง
 

En vedette

หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity
หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity
หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity maruay songtanin
 
Lean 3 เบื้องลึกโตโยต้า
Lean 3 เบื้องลึกโตโยต้าLean 3 เบื้องลึกโตโยต้า
Lean 3 เบื้องลึกโตโยต้าmaruay songtanin
 
ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement
ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement
ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement maruay songtanin
 
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้าLean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้าmaruay songtanin
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3maruay songtanin
 
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader maruay songtanin
 
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016 เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016 maruay songtanin
 
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity maruay songtanin
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4) maruay songtanin
 
การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management
การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management
การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management maruay songtanin
 
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons maruay songtanin
 
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap maruay songtanin
 
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำDecoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำmaruay songtanin
 
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1 ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1 maruay songtanin
 
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing maruay songtanin
 
ดีจากภายใน Inside out
ดีจากภายใน Inside out ดีจากภายใน Inside out
ดีจากภายใน Inside out maruay songtanin
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management maruay songtanin
 
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century maruay songtanin
 
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership maruay songtanin
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy maruay songtanin
 

En vedette (20)

หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity
หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity
หนทางสู่ความสำเร็จ Ultimate productivity
 
Lean 3 เบื้องลึกโตโยต้า
Lean 3 เบื้องลึกโตโยต้าLean 3 เบื้องลึกโตโยต้า
Lean 3 เบื้องลึกโตโยต้า
 
ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement
ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement
ความผูกพันของบุคลากร Employee engagement
 
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้าLean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
Lean 2 เรียนรู้จาก โตโยต้า
 
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
Lean 5 การแก้ปัญหาด้วยกระดาษ A3
 
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
ผู้นำที่ใช้ปัญญา Wise leader
 
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016 เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
 
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
การเพิ่มผลิตภาพโดยใช้มนุษย์เป็นศูนย์กลาง Human centered productivity
 
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4) การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
การเขียนรายงาน How to write application report (part 1 of 4)
 
การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management
การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management
การบริหารจัดการด้านบริการกับการตลาด Service management
 
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
บทเรียนผู้นำจากหน่วย SEAL 7 leadership lessons
 
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
หลุมพรางการพัฒนา Escape the improvement trap
 
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำDecoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
Decoding leadership ถอดรหัสผู้นำ
 
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1 ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
ค่านิยมหลักและแนวคิดของ Baldrige - PMK internal assessor 1
 
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
การเขียนรายงานแนวใหม่ 2014 Baldrige comment writing
 
ดีจากภายใน Inside out
ดีจากภายใน Inside out ดีจากภายใน Inside out
ดีจากภายใน Inside out
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ การบริหารโครงการ Fast track project management
 
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
การบริหารจัดการในศตวรรษที่ 21 - Management 21 Century
 
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
ผู้นำแบบคมในฝัก Quiet leadership
 
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy ทางด่วนสู่ความสำเร็จ  ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
ทางด่วนสู่ความสำเร็จ ยุทธศาสตร์ Fast track strategy
 

Similaire à การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent risks, and strategic opportunities

Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3pantapong
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneurtorprae
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsTeetut Tresirichod
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Pamtimas Jumpalad
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWC Triumph
 
Summary of CIM 23052015 BUS7150
Summary of CIM 23052015 BUS7150Summary of CIM 23052015 BUS7150
Summary of CIM 23052015 BUS7150pantapong
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Wichien Juthamongkol
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลาkullasab
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence maruay songtanin
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Areté Partners
 

Similaire à การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent risks, and strategic opportunities (20)

Innovation Design Methods
Innovation Design MethodsInnovation Design Methods
Innovation Design Methods
 
Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3Communication innovation swu week#3
Communication innovation swu week#3
 
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
(Oishi Group) Business Strategy for Entrepreneur
 
Chapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizationsChapter 2 innovation development in business organizations
Chapter 2 innovation development in business organizations
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Summary of CIM 23052015 BUS7150
Summary of CIM 23052015 BUS7150Summary of CIM 23052015 BUS7150
Summary of CIM 23052015 BUS7150
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
บริหารเวลา
บริหารเวลาบริหารเวลา
บริหารเวลา
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมงานกลุ่มวิชานวัตกรรม
งานกลุ่มวิชานวัตกรรม
 
วิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรมวิชานวัตกรรม
วิชานวัตกรรม
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 

Plus de maruay songtanin

241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 
223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....maruay songtanin
 
222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docxmaruay songtanin
 

Plus de maruay songtanin (20)

241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
241 สัพพทาฐิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
240 มหาปิงคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
238 เอกปทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
237 สาเกตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
236 พกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
235 วัจฉนขชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
234 อสิตาภูชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
233 วิกัณณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
232 วีณาถูณชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
231 อุปาหนชาดกพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
230 ทุติยปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬ...
 
229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
229 ปลายิตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
228 กามนีตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
227 คูถปาณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
226 โกสิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
225 ขันติวัณณนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
224 กุมภีลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
223 ปุฏภัตตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
222 จูฬนันทิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
221 กาสาวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 

การสร้างนวัตกรรม ความเสี่ยงที่ฉลาด โอกาสเชิงกลยุทธ์ Innovation, intelligent risks, and strategic opportunities

  • 2.   INNOVATION: การสร้างนวัตกรรม “การสร้างนวัตกรรม” หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่สาคัญเพื่อ ปรับปรุงผลิตภัณฑ์ กระบวนการหรือประสิทธิผลขององค์กร รวมทั้ง สร้างมูลค่าใหม่ให้แก่ผมีสวนได้สวนเสีย การสร้างนวัตกรรมเป็ นการ ู้ ่ ่ รับเอาความคิด กระบวนการ เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ์ หรือแนวทางใน การดาเนินธุรกิจ/กิจการ ซึ่งอาจเป็ นของใหม่หรือนามาปรับเพื่อการ ใช้งานในรูปแบบใหม่  ผลลัพธ์ของการสร้างนวัตกรรมเป็ นการฉีกแนวหรือการเปลี่ยนอย่าง ก้าวกระโดดในด้านผลลัพธ์ผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการ การสร้าง นวัตกรรมใช้ประโยชน์จากสภาพแวดล้อมที่เกื้อหนุน กระบวนการใน การระบุโอกาสเชิงกลยุทธ์ และความเต็มใจที่จะดาเนินการตามความ เสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด
  • 3.    การสร้างนวัตกรรมที่ประสบความสาเร็จในระดับองค์กรเป็ น กระบวนการที่ประกอบด้วยหลายขั้นตอนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา และการแบ่งปั นความรู ้ การตัดสินใจที่จะดาเนินการ การดาเนินการ การประเมินผล และการเรียนรู ้ แม้ว่าการสร้างนวัตกรรมมักเกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี แต่การสร้าง นวัตกรรมสามารถเกิดได้ในทุกกระบวนการที่สาคัญขององค์กร ซึ่ง อาจได้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงผ่านการสร้างนวัตกรรม ไม่ว่า จะเป็ นการปรับปรุงอย่างก้าวกระโดดหรือการเปลี่ยนแปลงแนวทาง หรือผลผลิต การสร้างนวัตกรรมอาจรวมถึงการเปลี่ยนแปลงพื้นฐานของ โครงสร้างองค์กร หรือรูปแบบธุรกิจ/กิจการเพื่อให้บรรลุงานของ องค์กรอย่างมีประสิทธิผลยิงขึ้น ่
  • 4. INTELLIGENT RISKS : ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด  “ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด” หมายถึง โอกาสที่จะ ได้รบประโยชน์มีสูงกว่าโอกาสที่จะเกิดความเสียหาย หรือหากไม่นาโอกาส ั นั้นมาพิจารณาจะบั ่นทอนความยั ่งยืนขององค์กร  ความกล้าเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด องค์กรต้อง สามารถยอมรับความล้มเหลว และองค์กรต้องยอมรับว่าไม่สามารถคาดหวัง ให้เกิดนวัตกรรม หากดาเนินการเฉพาะเรืองที่มีโอกาสสาเร็จเท่านั้นในระยะ ่ เริมต้น องค์กรต้องลงทุนในเรื่องที่มีโอกาสสาเร็จ และในขณะเดียวกันต้อง ่ ตระหนักถึงความล้มเหลวที่อาจเกิดขึ้น  ระดับของความเสี่ยงที่จะรับได้อาจแตกต่างกันตามจังหวะและระดับของภัย คุกคาม และโอกาสในธุรกิจ สาหรับธุรกิจที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ในเรื่องผลิตภัณฑ์ใหม่ หรือกระบวนการใหม่หรือรูปแบบทางธุรกิจใหม่ องค์กรจาเป็ นต้องลงทุนด้านทรัพยากรมากกว่าธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงช้า ซึ่งใน ธุรกิจประเภทหลังนี้องค์กรยังคงต้องเฝ้ าติดตามและสารวจการเติบโตและ การเปลี่ยนแปลง แต่โดยส่วนมากมีแนวโน้มที่จะใช้ทรัพยากรน้อยกว่า
  • 5. STRATEGIC OPPORTUNITIES: โอกาสเชิงกลยุทธ์  “โอกาสเชิงกลยุทธ์” หมายถึง ภาพอนาคตที่เกิดจากการคิดนอก กรอบ การระดมสมอง การใช้ประโยชน์จากความบังเอิญ กระบวนการวิจยและสร้างนวัตกรรม การประมาณการอย่างฉีกแนว ั จากสภาพปั จจุบน และแนวทางอื่นๆ เพือมองอนาคตที่แตกต่าง ั ่ ออกไปจากเดิม  การเกิดความคิดที่นาไปสูโอกาสเชิงกลยุทธ์ มักเกิดจาก ่ สภาพแวดล้อมที่กระตุนให้เกิดความคิดอย่างอิสระโดยไม่ถูกชี้นา ้  การเลือกว่าจะดาเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์ใด ต้องพิจารณาถึง ความเสี่ยงสัมพัทธ์ (Relative Risk) ด้านภาระการเงิน และด้านอื่นๆ จากนั้นจึงตัดสินใจอย่างรอบคอบ (ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผล ได้ผลเสียอย่างฉลาด – Intelligent Risks)
  • 6. 1. ลักษณะองค์กร (Organizational Description):  ข. ความสัมพันธ์ระดับองค์กร (Organizational Relationships)  (3) ผูส่งมอบและพันธมิตร (Suppliers and PARTNERS) ผูส่งมอบ ้ ้ พันธมิตร และผูให้ความร่วมมือเหล่านี้มีสวนร่วมอะไรในการ ้ ่ สร้างนวัตกรรมให้แก่องค์กร 2. สภาวการณ์ขององค์กร (Organizational Situation):  ก. สภาพแวดล้อมด้านการแข่งขัน (Competitive Environment)  (2) การเปลี่ยนแปลงความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness Changes) การเปลี่ยนแปลงที่สร้างโอกาส สาหรับการสร้างนวัตกรรมและความร่วมมือคืออะไร
  • 7.   1.1 การนาองค์กรโดยผูนาระดับสูง (Senior Leadership): ผูนา ้ ้ ระดับสูงนาองค์กรอย่างไร อธิบายวิธีการที่ผนาระดับสูงสร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิด ู้ ความผูกพันกับลูกค้า การสร้างนวัตกรรม และผลการดาเนินการ ที่ดี (HIGH PERFORMANCE)
  • 8.    ก. วิสยทัศน์ ค่านิยม และพันธกิจ (Vision, Values, and Mission) ั (3) การสร้างองค์กรที่ยั ่งยืน (Creating a SUSTAINABLE Organization) ผูนาระดับสูงดาเนินการอย่างไรที่จะทาให้องค์กรมี ้ ความยั ่งยืน ผูนาระดับสูงดาเนินการในเรืองต่อไปนี้อย่างไร ้ ่ สร้างสภาพแวดล้อมเพื่อให้เกิดการสร้างนวัตกรรม ยอมรับความ เสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด (INTELLIGENT RISK taking) การบรรลุวตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC ั OBJECTIVES) และความคล่องตัวขององค์กร (Organizational Agility)
  • 9. 1.1ข. การสือสารและผลการดาเนินการขององค์กร ่  1.1ข(2) การทาให้เกิดการปฏิบตการอย่างจริงจัง ผูนาระดับสูง ั ิ ้ ดาเนินการอย่างไรในการทาให้เกิดการปฏิบตการอย่างจริงจัง ั ิ เพื่อให้บรรลุวตถุประสงค์ขององค์กร ปรับปรุงการดาเนินการ ทา ั ให้เกิดการสร้างนวัตกรรมและยอมรับความเสี่ยงที่ผ่านการ ประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด รวมถึงการบรรลุวิสยทัศน์ของ ั องค์กร
  • 10.    2.1 การจัดทากลยุทธ์ (Strategy Development): องค์กรมีวิธีการ อย่างไรในการจัดทากลยุทธ์ ก. กระบวนการการจัดทากลยุทธ์ (Strategy Development PROCESS) (2) นวัตกรรม (INNOVATION) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการ สร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการสร้างนวัตกรรม องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการกาหนดโอกาสเชิงกลยุทธ์ (STRATEGIC OPPORTUNITES) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการตัดสินใจว่าจะ ดาเนินการตามโอกาสเชิงกลยุทธ์หรือความเสี่ยงทีผ่านการ ่ ประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด (INTELLIGENT RISK) ใน ประเด็นใด โอกาสเชิงกลยุทธ์ที่สาคัญขององค์กรคืออะไร
  • 11. หมวด 3 การมุ่งเน้นลูกค้า (Customer Focus)  ในหมวดการมุ่งเน้นลูกค้า เกณฑ์ถามว่าองค์กรมีวิธีการอย่างไร ในการสร้างความผูกพันกับลูกค้าเพื่อความสาเร็จด้านตลาดใน ระยะยาว ครอบคลุมถึงวิธีการที่องค์กรรับฟั ง เสียงของลูกค้า สร้างความสัมพันธ์กบลูกค้า และใช้สารสนเทศลูกค้าเพื่อ ั ปรับปรุงและค้นหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรม
  • 12.    4.1 การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดาเนินการ ขององค์กร (Measurement, Analysis, and Improvement of Organizational Performance): องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการวัด วิเคราะห์ และปรับปรุงผลการดาเนินการขององค์กร ก. การวัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE Measurement) (1) ตัววัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE MEASURES) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการใช้ขอมูลและสารสนเทศเหล่านี้ ้ เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับองค์กร การปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง และการสร้างนวัตกรรม
  • 13.    ก. การวัดผลการดาเนินการ (PERFORMANCE Measurement) (2) ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Data) เพื่อสนับสนุน การตัดสินใจในระดับปฏิบตการและระดับกลยุทธ์ รวมทั้งการ ั ิ สร้างนวัตกรรม (3) ข้อมูลลูกค้า (CUSTOMER Data) เพื่อสร้างวัฒนธรรมที่ มุ่งเน้นลูกค้ายิงขึ้น และเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในระดับ ่ ปฏิบตการและระดับกลยุทธ์ รวมทั้งการสร้างนวัตกรรม ั ิ
  • 14.   ค. การปรับปรุงผลการดาเนินการ (PERFORMANCE Improvement) (3) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสร้างนวัตกรรม (Continuous Improvement and INNOVATION) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการใช้ ผลการทบทวนผลการดาเนินการ ไปใช้จดลาดับความสาคัญของ ั เรื่องที่ตองปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และนาไปเป็ นโอกาสในการ ้ สร้างนวัตกรรม
  • 15.    4.2 การจัดการความรู ้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ (Knowledge Management, Information, and Information Technology): องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการสินทรัพย์ทาง ความรูขององค์กร สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ ้ ก. ความรูขององค์กร (Organizational Knowledge) ้ (1) การจัดการความรู ้ (Knowledge Management) องค์กรมี วิธีการอย่างไรในการรวบรวมและถ่ายทอดความรูที่เกี่ยวข้องเพื่อ ้ ใช้ในการสร้างนวัตกรรมและกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์
  • 16.    5.2 ความผูกพันของบุคลากร (Workforce Engagement): องค์กร มีวิธีการอย่างไรในการสร้างความผูกพันกับบุคลากร เพื่อให้ บรรลุความสาเร็จในระดับองค์กร และระดับบุคคล ก. ผลการปฏิบตงานของบุคลากร (WORKFORCE ั ิ PERFORMANCE) (3) การจัดการผลการปฏิบตงาน (PERFORMANCE ั ิ Management) ระบบการจัดการผลการปฏิบตงานของบุคลากร ั ิ สร้างเสริมยอมรับความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสีย อย่างฉลาด (INTELLIGENT RISK taking) ที่นาไปสูการสร้าง ่ นวัตกรรม สร้างเสริมการมุ่งเน้นลูกค้าและธุรกิจ/กิจการ และ สร้างเสริมการบรรลุผลสาเร็จของแผนปฏิบตการอย่างไร ั ิ
  • 17.   ค. การพัฒนาบุคลากรและผูนา (WORKFORCE and Leader ้ Development) (1) ระบบการเรียนรูและการพัฒนา (LEARNING and ้ Development System) ระบบการเรียนรูและการพัฒนาของ ้ องค์กรดาเนินการสนับสนุนการปรับปรุงผลการดาเนินการของ องค์กรและการสร้างนวัตกรรมอย่างไร
  • 18.  6.2 ประสิทธิผลของการปฏิบตการ (Operational Effectiveness): ั ิ องค์กรมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้มั ่นใจว่ามีการบริหารจัดการการ ปฏิบตการอย่างมีประสิทธิผลทั้งในปั จจุบนและในอนาคต ั ิ ั  ง. การจัดการนวัตกรรม (INNOVATION Management)  องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการจัดการนวัตกรรม องค์กรมีวิธีการ อย่างไรในการพิจารณาโอกาสเชิงกลยุทธ์ที่องค์กรกาหนดว่าเป็ น ความเสี่ยงที่ผ่านการประเมินผลได้ผลเสียอย่างฉลาด (INTELLIGENT RISKS) องค์กรมีวิธีการอย่างไรในการทาให้ทรัพยากรด้านการเงิน และด้านอื่นๆ พร้อมใช้ในการดาเนินการสนับสนุนโอกาสเหล่านี้ องค์กรมีวิธีการพิจารณายุติโอกาสเชิงกลยุทธ์ในเวลาที่เหมาะสมเพือ ่ ไปสนับสนุนโอกาสที่มีลาดับความสาคัญเหนือกว่าอย่างไร
  • 19.  7.1 ผลลัพธ์ดานผลิตภัณฑ์และกระบวนการ (Product and Process ้ Results): ผลการดาเนินการด้านผลิตภัณฑ์และประสิทธิผลของ กระบวนการเป็ นอย่างไร  ข. ผลลัพธ์ดานประสิทธิผลของกระบวนการทางาน (WORK PROCESS ้ EFFECTIVENESS RESULTS)  (1) ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ (PROCESS EFFECTIVENESS and Efficiency) ระดับปั จจุบนและแนวโน้มของตัววัด ั หรือตัวชี้วัดที่สาคัญของผลการดาเนินการด้านการปฏิบตการของ ั ิ กระบวนการทางานและกระบวนการสนับสนุนที่สาคัญ รวมทั้งผลิต ภาพ รอบเวลา และตัววัดอื่นๆ ที่เหมาะสมด้านประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และนวัตกรรมของกระบวนการเป็ นอย่างไร
  • 20. 1. SLT Commitment 7. New Product and Process Results 2. CIIO Information Generation 6. COO Operational Effectiveness 3. SPT Strategy Development 5. HRM Learning & Development 4. IT & KM – Measurement & Analysis fictional
  • 21. CIIO - Information Generation SPT - Strategy Development (Strategic Opportunities & Intelligent Risks) PLAN SLT – Commitment Monitoring, Rewards & Recognition Strategy ACT Vision & Values HRM - Learning & Development COO - Operational Effectiveness DO (Results of New Product s and Processes or Business Models) CHECK IT & KM – Measurement & Analysis of Performance fictional
  • 22. CIIO Information Generation -Ideas - R&D -VOC, VOS SPT Strategy Development -VMV -Strategic Opportunities - Intelligent Risks SLT Commitment -Review & Monitoring -Rewards & Recognition HRM Learning & Development -IDP -Empower -Diversity Team COO Operational Effectiveness -PDCA -LSS -ISO -QIT Results -New Products and Processes -New Business Models IT & KM – Measurement & Analysis of performance fictional
  • 23. ทาเป็ นระบบ (Systematic)  Approach = ROME (Repeatable, Orderly, Measurable, Effectiveness)  Deploy (Breadth & Depth)  Learning (PDCA, Innovation, Sharing)  Integration (Across Items, Organizational Goals)  ข้อคิด เว้าอย่างที่เฮ็ด (ใน Application) และ เฮ็ดอย่างที่เว้า (ตอน Site Visit)