SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
Télécharger pour lire hors ligne
การแยกสารเนือเดียว
            ้




              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                        ั
สารเนือเดียว
                  ้
หมายถึง สารที่มองเห็นผสมกลมกลืนเป็ น
เนื้อเดียวกันตลอดทั้งสาร อาจเกิดจากสาร
หนึ่งชนิดหรื อมากกว่าหนึ่งชนิดก็ได้

ตัวอย่ าง เช่น น้ า น้ าเชื่อม เหรี ยญบาท
โซดาไฟ แก๊สหุงต้ม แอลกอฮอล์ เป็ นต้น
                                By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ
                                          ั ้
วิธีการแยกสารเนือเดียว
                      ้

การระเหย
 การตกผลึก
การกลัน่
 โครมาโตกราฟี
 สกัดด้วยตัวทาละลาย

                        By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                  ั
การระเหย
   ใช้สาหรับแยกสารละลายที่เกิดจากการ
ผสมกันระหว่างของแข็งและของเหลว




                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การระเหย (ต่อ)
หลักการ
   สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยกลายเป็ นไอ
ได้ดีกว่าสารที่มีจุดเดือดสูง
   ดังนั้น สารที่ระเหย คือ ของเหลว ส่ วน
              ่
สารที่เหลืออยูในภาชนะคือ ของแข็ง
                             By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                       ั
การระเหย (ต่อ)
วิธีการ
     ให้ความร้อนแก่สารละลาย (โดยการต้ม
หรื อตากแดด) สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหย
กลายเป็ นแก๊ส (ไอ) ส่ วนของแข็งซึ่งมีจุด
                       ่
เดือดสูงกว่าจะเหลืออยูในภาชนะ

                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การระเหย (ต่อ)
ตัวอย่ างการแยกสาร
แยกเกลือออกจากน้ าทะเล
 แยกจุนสี ออกจาก CuSO4  5H2O



                      By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                ั
การตกผลึก
ใช้แยกสารที่มีความสามารถในการละลาย
ต่างกันที่อุณหภูมิต่างกัน




                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                 ั
การตกผลึก (ต่อ)
หลักการ
1. ความสามารถในการละลายของสาร
=> ที่อุณหภูมิสูง สารมีความสามารถในการ
ละลายสูงกว่าที่อุณหภูมิต่า : ได้ สารละลาย
อิมตัว
  ่
2. กรอง (สารละลายขณะที่ร้อน)
3. ลดอุณหภูมิ : ผลึกของสาร
                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การตกผลึก (ต่อ)
วิธีการ
      1. ทาสารที่ตองการแยกให้เป็ น สารละลาย
                  ้
อิมตัว โดยการนาสาร (ตัวละลาย ) ใส่ ในตัวทา
  ่
ละลาย และให้ความร้อนแก่สาร จากนั้นเติมสาร
(ตัวละลาย ) ลงไปในตัวทาละลาย จนกระทังตัว่
ละลายไม่ละลาย
                             By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                       ั
วิธีการตกผลึก (ต่อ)
2. กรอง ( สารละลายขณะที่ร้อน )
3. ลดอุณหภูมิลง ( ตังสารละลายอิ่มตัว
                     ้
  ยิ่งยวด ที่อณหภูมิห้อง ,หรื อแช่ในน ้าเย็น)
              ุ
  จะได้ ผลึกของสาร


                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
สารละลายอิ่มตัว

                              ่
คือ สารละลายที่มีตวละลายอยูปริ มาณ
                   ั
    สูงสุ ด ณ อุณหภูมิขณะนั้น




                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การตกผลึก (ต่อ )
สมบัตของตัวถูกละลายทีแยกออกจากกัน
      ิ                 ่
1. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้นอย จะอิ่มตัวก่อน
                             ้
  จะตกผลึกและแยกตัวออกไปก่อน
2. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้มาก จะอิ่มตัวช้า จะ
  ตกผลึกและแยกตัวทีหลัง


                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การตกผลึก (ต่อ )
ตัวอย่ าง
ทาสารส้มให้บริ สุทธิ์
ทา NiSO4 (aq) ให้บริ สุทธิ์
ทาเกลือให้บริ สุทธิ์


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลัน
                    ่
  เป็ นการแยกสารที่เกิดจากของเหลวหลาย
ชนิดผสมกัน โดยของเหลวแต่ละชนิดมี
จุดเดือดต่างกัน



                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การกลัน (ต่อ)
                 ่
ประเภทของการกลัน ่
   1. การกลันแบบธรรมดา
            ่
   2. การกลันลาดับส่ วน
              ่
   3. การกลันด้วยไอน้ า


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลัน (ต่อ)
                  ่
หลักการ
    1. การระเหย
    2. การควบแน่น




                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                 ั
การกลัน (ต่อ)
                    ่
วิธีการ
    ให้ความร้อนแก่สาร สารที่มีจุดเดือดต่า
จะกลายเป็ นไอออกมาก่อน และเมื่อผ่าน
เครื่ องควบแน่น ไอจะกลันตัวกลับมาเป็ น
                       ่
ของเหลว

                             By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                       ั
การกลันแบบธรรมดา
            ่
   เป็ นการแยกตัวทาละลายออกจากตัว
ละลาย โดยอาศัยหลักการ ระเหย และการ
ควบแน่นเพียงครั้งเดียว




                      By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                ั
การกลันแบบธรรมดา
                   ่
ลักษณะของสารที่จะแยกโดยการกลันแบบธรรมดามี
                                    ่
  ดังนี้
1. ตัวทาละลายต้องเป็ นของเหลวระเหยง่าย มีจุดเดือด
  ต่า (สถานะมักเป็ นของเหลว)
2. ตัวถูกละลายเป็ นสารที่มีจุดเดือดสูงระเหยยาก
  (สถานะของแข็ง)
3. ตัวทาละลายและตัวถูกละลายควรมีจุดเดือดต่างกัน
  มากกว่า 30 oC                    By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                             ั
การกลันแบบธรรมดา (ต่อ)
              ่
ตัวอย่ าง
แยกสารละลาย NaCl
สารละลาย MgSO4
สารละลาย KI
สารละลายNH4Cl
สารละลาย NaOH
                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                 ั
การกลันลาดับส่ วน
               ่
เป็ นกระบวนการแยกสารที่มีจุดเดือดต่างกัน
ออกเป็ นส่ วนๆ โดย การกลันซ้ า ๆ กันหลาย ๆ
                            ่
ครั้งอย่างต่อเนื่องในหอกลันหรื อคอลัมน์
                          ่
   มักใช้แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัว
                        ั
ละลายมีสถานะของเหลว จุดเดือดต่างกัน
(น้อยกว่า 30 oC)


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลันลาดับส่ วน (ต่อ)
             ่
สารที่มีจุดเดือดต่าจะควบแน่น และกลัน
                                     ่
  ตัวก่อน (อยูดานบนของหอกลัน )
                 ่ ้            ่
สารที่มีจุดเดือดสู งจะควบแน่นและกลัน
                                     ่
  ตัวทีหลังตามลาดับ



                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การกลันลาดับส่ วน (ต่อ)
              ่
ตัวอย่ าง
1. แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัวละลาย
                  ั
  สถานะของเหลว เช่น
  สารผสมระหว่างเอทานอล เมทานอล
  สารละลายกรดแอซี ติก
  สารละลายเบนซิ นในโทลูอีน


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การกลันลาดับส่ วน (ต่อ)
      ่
ตัวอย่ าง
2. การกลันแยกก๊าซธรรมชาติ
          ่
3. การกลันแยกอากาศ
            ่
4. การกลันแยกน้ ามันปิ โตรเลียม
              ่



                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การกลันด้วยไอน้ า
                  ่
เป็ นการแยกสารที่ระเหยง่ายออกจากสารที่ระเหยยาก




                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
               ่
หลักการ
  1. การระเหย
  2.การควบแน่น
  3. การใช้กรวยแยกหรื อดูดออก




                                By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                          ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
              ่
สมบัติของสารที่แยกโดยการกลันด้ วยไอนา
                                ่   ้
  1. ต้องไม่ละลายน้ า
  2. ระเหยง่าย มีจุดเดือดหรื อต่า




                           By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                     ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
                ่
วิธีการ
1. นาสารไปต้มกับน้ าหรื อผ่านไอน้ าเข้าไปยังสารที่
   ต้องการสกัด
2. เมื่อร้อน สารที่ตองการสกัดแยก และน้ าจะระเหย
                    ้
   ออกมา พร้อมกันจนกระทังความดันไอของสารรวม
                             ่
   กับความดันไอน้ าเท่ากับความดันบรรยากาศ
   ของเหลวทั้งสอง จะกลันตัวออกมาพร้อมกันที่
                           ่
   อุณหภูมิต่ากว่า จุดเดือดของสาร
                                By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                          ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
                ่
วิธีการ
                                              ่ ั
3. ของเหลวจะควบแน่น แยกเป็ น 2 ชั้น โดยน้ าอยูช้ น
                           ่
   ล่าง สารที่ตองการสกัดอยูข้ ึนบน
               ้
4. แยกของผสมที่กลันได้โดยการใช้รวยแยกหรื อดูด
                    ่
   ออก



                                By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                          ั
การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ)
              ่
ตัวอย่ าง
1. สกัดแยกน้ ามันหอมระเหยออกจากส่ วนต่างๆ
  ของพืช เช่น น้ ามันหอมระเหยจากดอก
  กุหลาบ , น้ ามันหอมระเหยจากผิวมะกรู ด
2. สกัดแยกน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช


                           By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                     ั
ข้อแตกต่างของการกลันและการระเหย
                   ่
 ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกมีความแตกต่างกัน
 คือ
    การระเหย ต้องการผลิตภัณฑ์ของแข็ง ,
    การกลัน ต้องการผลิตภัณฑ์เป็ นของเหลว
          ่


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
โครมาโตกราฟี
เป็ นวิธีการแยกตัวถูกละลายที่ผสมกันหลายๆ
 ชนิดออกจากกันในสารละลายหนึ่งๆ โดยอาศัย
 ความแตกต่างของ
 1. ความสามารถในการละลาย
 2. ความสามารถในการดูดซับ
โครมาโตกราฟี ( ต่อ )
ประเภทของโครมาโตรกราฟี
1. โครโทกราฟี แบบกระดาษ
2. โครโทกราฟี แบบคอลัมน์(แบบลากระบอก)
3. ทินเลเยอร์โครโทกราฟี (แบบผิวบาง)



                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
โครมาโตกราฟี ( ต่อ )
องค์ประกอบของวิธีโครมาโตกราฟี
มี 2 องค์ประกอบ คือ
    1. ตัวทาละลาย
    2. ตัวดูดซับ



                        By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                  ั
โครมาโตราฟี (ต่อ)
ตัวดูดซับ ทาหน้าที่ดูดซับสารและเป็ นตัวกลางให้สารเคลื่อนที่ผาน      ่
   และแยกตัวออกจากกัน สารที่ดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ดีจะ
   เคลื่อนที่ชา สารที่ดูดซับได้นอยจะเคลื่อนที่เร็ ว
              ้                 ้
   ตัวดูดซับได้แก่ กระดาษโครมาโทกราฟี ผงอลูมินา ซิลิกา
ตัวทาละลาย ทาหน้าที่ละลายและพาสารเคลื่อนไป สารที่ละลายใน
   ตัวทาละลายได้ดีจะเคลื่อน ที่แยกตัวไปก่อน สารที่ละลายในตัว
   ทาละลายได้นอยจะเคลื่อนที่ทีหลัง
                  ้
    ตัวทาละลายได้แก่ ของเหลวใส ไม่มีสี เช่น น้ า เอทานอล
   แอลกอฮอล์ เฮกเซน อีเทอร์ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ สารละลาย
   NaCl                                    By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                                     ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
อัตราการเคลื่อนที่ของสาร (Rf : Rate of flow)

Rf =       ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้
       ระยะทางที่ตวทาละลายเคลื่อนที่
                  ั




                                       By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                                 ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
สมบัติของค่า Rf
1. ค่า Rf ไม่มีหน่วย
2. ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น
3. ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1
                 ่ ั
4. ค่า Rf ขึ้นอยูกบชนิดของสารและชนิดของตัว
  ทาละลาย
5. ค่า Rf เป็ นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่พลัชะสารวรรณ
                                By : ครู รี ลิ้มสุ
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
สารที่มีค่า Rf มาก แสดงว่าสารมีคุณสมบัติดงนี้
                                         ั
  1.สารเคลื่อนที่ได้เร็ วหรื อมาก
  2. สารถูกดูดซับได้นอย  ้
  3. สารละลายได้ดี



                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
สารที่มีค่า Rf น้อย แสดงว่าสารมีสมบัติ ดังนี้
  1. สารเคลื่อนได้ชาหรื อน้อย
                     ้
  2. สารถูกดูดซับได้มาก
  3. สารละลายได้นอย    ้


                            By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                      ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
ประโยชน์
1. ใช้แยกสารที่มีปริ มาณน้อยๆ ได้ ซึ่งวิธีอื่นแยกไม่ได้
2. ใช้แยกได้ท้ งสารมีสีและมีไม่มีสี สารไม่มีสีทาให้
                  ั
   ภายหลังการแยกโดย อบด้วยของไอของไอโอดีน ,
   ฉายด้วยรังสี UV , พ่นสารบางชนิดไปทาปฏิกิริยาและ
   เกิดสี ข้ ึน เช่น นินไฮดริ น
3. ใช้วิเคราะห์ชนิดของสารและหาปริ มาณของสารผสม
4. ใช้ทดลองความบริ สุทธิ์ของสาร
                                      By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                                ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
ข้ อจากัดของวิธีโครมาโตกราฟี
   ถ้าสารที่ตองการจะแยกออกจากกันมี
             ้
   ความสามารถในการละลายในตัวทาละลายใน
   ตัวทา ละลายได้เท่ากันและถูกดูดซับด้วยตัวดูด
   ซับเท่ากัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
   เพราะจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกันด้วยระยะทาง
   เท่ากัน
                              By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                        ั
โครมาโตกราฟี (ต่อ)
วิธีแก้ ไข
1. เปลี่ยนชนิดของตัวทาละลาย
2.เพิ่มระยะทางของตัวดูดซับให้ยาวขึ้น
3. ใช้แบบคอลัมน์โครมาโตกราฟี (แบบกระบอก)
  เพื่อใช้แยกสารที่มีปริ มาณมากๆได้


                         By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                   ั
การสกัดด้วยตัวทาละลาย
เป็ นการแยกสารโดยมีหลักการคือ เลือกใช้
ตัวทาละลายที่เหมาะสม ไปละลายสารที่
ต้องการออกมาโดยใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า
ซอกซ์เลต(soxhlet)


                          By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                    ั
การสกัดด้ วยตัวทาละลาย (ต่อ)
คุณสมบัตของตัวทาละลาย
            ิ
1. สามารถละลายสารที่ตองการได้มาก และ
                          ้
  ละลายสิ่ งเจือปนได้นอย้
2. มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย จึงจะแยกออกจากสาร
  ที่สกัดได้ง่าย
3. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ตองแยก
                             ้
4. หาง่าย ราคาถูกเช่น น้ า
                                By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ
                                          ั    ้
การสกัดด้ วยตัวทาละลาย
ตัวอย่างการสกัดด้วยตัวทาละลาย
1. ใช้สกัดน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช เช่น น้ ามันงา
  รา ถัว ปาล์ม นุ่น บัว นิยมใช้เฮกเซน เป็ นตัวทา
       ่
  ละลาย
2. สกัดสารมีสีออกจากพืช
3. ใช้สกัดน้ ามันหอมระเหยออกจากพืช
4. ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร
                               By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ
                                         ั

Contenu connexe

Tendances

เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4krusarawut
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันwiriya kosit
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่ายThepsatri Rajabhat University
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงThepsatri Rajabhat University
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่piyawanrat2534
 

Tendances (20)

เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
เฉลย การแปลงคำอุปสรรค ม.3 , ม.4
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่ายบทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน  และเครื่องกลอย่างง่าย
บทที่ 4 งาน กำลัง พลังงาน และเครื่องกลอย่างง่าย
 
ความตึงผิว
ความตึงผิวความตึงผิว
ความตึงผิว
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรงบทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
แรงและปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่
 

En vedette

การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 

En vedette (8)

การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

Similaire à การแยกสารเนื้อเดียว

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่npapak74
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสารdnavaroj
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 

Similaire à การแยกสารเนื้อเดียว (8)

บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
4แบบฝึกขนาดอนุภาคเผยแพร่
 
การแพร่ของสาร
การแพร่ของสารการแพร่ของสาร
การแพร่ของสาร
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 

การแยกสารเนื้อเดียว

  • 1. การแยกสารเนือเดียว ้ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 2. สารเนือเดียว ้ หมายถึง สารที่มองเห็นผสมกลมกลืนเป็ น เนื้อเดียวกันตลอดทั้งสาร อาจเกิดจากสาร หนึ่งชนิดหรื อมากกว่าหนึ่งชนิดก็ได้ ตัวอย่ าง เช่น น้ า น้ าเชื่อม เหรี ยญบาท โซดาไฟ แก๊สหุงต้ม แอลกอฮอล์ เป็ นต้น By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ ั ้
  • 3. วิธีการแยกสารเนือเดียว ้ การระเหย  การตกผลึก การกลัน่  โครมาโตกราฟี  สกัดด้วยตัวทาละลาย By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 4. การระเหย ใช้สาหรับแยกสารละลายที่เกิดจากการ ผสมกันระหว่างของแข็งและของเหลว By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 5. การระเหย (ต่อ) หลักการ สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหยกลายเป็ นไอ ได้ดีกว่าสารที่มีจุดเดือดสูง ดังนั้น สารที่ระเหย คือ ของเหลว ส่ วน ่ สารที่เหลืออยูในภาชนะคือ ของแข็ง By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 6. การระเหย (ต่อ) วิธีการ ให้ความร้อนแก่สารละลาย (โดยการต้ม หรื อตากแดด) สารที่มีจุดเดือดต่าจะระเหย กลายเป็ นแก๊ส (ไอ) ส่ วนของแข็งซึ่งมีจุด ่ เดือดสูงกว่าจะเหลืออยูในภาชนะ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 7. การระเหย (ต่อ) ตัวอย่ างการแยกสาร แยกเกลือออกจากน้ าทะเล  แยกจุนสี ออกจาก CuSO4  5H2O By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 9. การตกผลึก (ต่อ) หลักการ 1. ความสามารถในการละลายของสาร => ที่อุณหภูมิสูง สารมีความสามารถในการ ละลายสูงกว่าที่อุณหภูมิต่า : ได้ สารละลาย อิมตัว ่ 2. กรอง (สารละลายขณะที่ร้อน) 3. ลดอุณหภูมิ : ผลึกของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 10. การตกผลึก (ต่อ) วิธีการ 1. ทาสารที่ตองการแยกให้เป็ น สารละลาย ้ อิมตัว โดยการนาสาร (ตัวละลาย ) ใส่ ในตัวทา ่ ละลาย และให้ความร้อนแก่สาร จากนั้นเติมสาร (ตัวละลาย ) ลงไปในตัวทาละลาย จนกระทังตัว่ ละลายไม่ละลาย By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 11. วิธีการตกผลึก (ต่อ) 2. กรอง ( สารละลายขณะที่ร้อน ) 3. ลดอุณหภูมิลง ( ตังสารละลายอิ่มตัว ้ ยิ่งยวด ที่อณหภูมิห้อง ,หรื อแช่ในน ้าเย็น) ุ จะได้ ผลึกของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 12. สารละลายอิ่มตัว ่ คือ สารละลายที่มีตวละลายอยูปริ มาณ ั สูงสุ ด ณ อุณหภูมิขณะนั้น By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 13. การตกผลึก (ต่อ ) สมบัตของตัวถูกละลายทีแยกออกจากกัน ิ ่ 1. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้นอย จะอิ่มตัวก่อน ้ จะตกผลึกและแยกตัวออกไปก่อน 2. สารที่มีคุณสมบัติละลายได้มาก จะอิ่มตัวช้า จะ ตกผลึกและแยกตัวทีหลัง By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 14. การตกผลึก (ต่อ ) ตัวอย่ าง ทาสารส้มให้บริ สุทธิ์ ทา NiSO4 (aq) ให้บริ สุทธิ์ ทาเกลือให้บริ สุทธิ์ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 15. การกลัน ่ เป็ นการแยกสารที่เกิดจากของเหลวหลาย ชนิดผสมกัน โดยของเหลวแต่ละชนิดมี จุดเดือดต่างกัน By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 16. การกลัน (ต่อ) ่ ประเภทของการกลัน ่ 1. การกลันแบบธรรมดา ่ 2. การกลันลาดับส่ วน ่ 3. การกลันด้วยไอน้ า By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 17. การกลัน (ต่อ) ่ หลักการ 1. การระเหย 2. การควบแน่น By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 18. การกลัน (ต่อ) ่ วิธีการ ให้ความร้อนแก่สาร สารที่มีจุดเดือดต่า จะกลายเป็ นไอออกมาก่อน และเมื่อผ่าน เครื่ องควบแน่น ไอจะกลันตัวกลับมาเป็ น ่ ของเหลว By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 19. การกลันแบบธรรมดา ่ เป็ นการแยกตัวทาละลายออกจากตัว ละลาย โดยอาศัยหลักการ ระเหย และการ ควบแน่นเพียงครั้งเดียว By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 20. การกลันแบบธรรมดา ่ ลักษณะของสารที่จะแยกโดยการกลันแบบธรรมดามี ่ ดังนี้ 1. ตัวทาละลายต้องเป็ นของเหลวระเหยง่าย มีจุดเดือด ต่า (สถานะมักเป็ นของเหลว) 2. ตัวถูกละลายเป็ นสารที่มีจุดเดือดสูงระเหยยาก (สถานะของแข็ง) 3. ตัวทาละลายและตัวถูกละลายควรมีจุดเดือดต่างกัน มากกว่า 30 oC By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 21. การกลันแบบธรรมดา (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง แยกสารละลาย NaCl สารละลาย MgSO4 สารละลาย KI สารละลายNH4Cl สารละลาย NaOH By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 22. การกลันลาดับส่ วน ่ เป็ นกระบวนการแยกสารที่มีจุดเดือดต่างกัน ออกเป็ นส่ วนๆ โดย การกลันซ้ า ๆ กันหลาย ๆ ่ ครั้งอย่างต่อเนื่องในหอกลันหรื อคอลัมน์ ่ มักใช้แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัว ั ละลายมีสถานะของเหลว จุดเดือดต่างกัน (น้อยกว่า 30 oC) By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 23. การกลันลาดับส่ วน (ต่อ) ่ สารที่มีจุดเดือดต่าจะควบแน่น และกลัน ่ ตัวก่อน (อยูดานบนของหอกลัน ) ่ ้ ่ สารที่มีจุดเดือดสู งจะควบแน่นและกลัน ่ ตัวทีหลังตามลาดับ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 24. การกลันลาดับส่ วน (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง 1. แยกสารละลายที่ตวทาละลายและตัวละลาย ั สถานะของเหลว เช่น สารผสมระหว่างเอทานอล เมทานอล สารละลายกรดแอซี ติก สารละลายเบนซิ นในโทลูอีน By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 25. การกลันลาดับส่ วน (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง 2. การกลันแยกก๊าซธรรมชาติ ่ 3. การกลันแยกอากาศ ่ 4. การกลันแยกน้ ามันปิ โตรเลียม ่ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 26. การกลันด้วยไอน้ า ่ เป็ นการแยกสารที่ระเหยง่ายออกจากสารที่ระเหยยาก By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 27. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ หลักการ 1. การระเหย 2.การควบแน่น 3. การใช้กรวยแยกหรื อดูดออก By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 28. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ สมบัติของสารที่แยกโดยการกลันด้ วยไอนา ่ ้ 1. ต้องไม่ละลายน้ า 2. ระเหยง่าย มีจุดเดือดหรื อต่า By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 29. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ วิธีการ 1. นาสารไปต้มกับน้ าหรื อผ่านไอน้ าเข้าไปยังสารที่ ต้องการสกัด 2. เมื่อร้อน สารที่ตองการสกัดแยก และน้ าจะระเหย ้ ออกมา พร้อมกันจนกระทังความดันไอของสารรวม ่ กับความดันไอน้ าเท่ากับความดันบรรยากาศ ของเหลวทั้งสอง จะกลันตัวออกมาพร้อมกันที่ ่ อุณหภูมิต่ากว่า จุดเดือดของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 30. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ วิธีการ ่ ั 3. ของเหลวจะควบแน่น แยกเป็ น 2 ชั้น โดยน้ าอยูช้ น ่ ล่าง สารที่ตองการสกัดอยูข้ ึนบน ้ 4. แยกของผสมที่กลันได้โดยการใช้รวยแยกหรื อดูด ่ ออก By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 31. การกลันด้วยไอน้ า (ต่อ) ่ ตัวอย่ าง 1. สกัดแยกน้ ามันหอมระเหยออกจากส่ วนต่างๆ ของพืช เช่น น้ ามันหอมระเหยจากดอก กุหลาบ , น้ ามันหอมระเหยจากผิวมะกรู ด 2. สกัดแยกน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 32. ข้อแตกต่างของการกลันและการระเหย ่ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกมีความแตกต่างกัน คือ การระเหย ต้องการผลิตภัณฑ์ของแข็ง , การกลัน ต้องการผลิตภัณฑ์เป็ นของเหลว ่ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 33. โครมาโตกราฟี เป็ นวิธีการแยกตัวถูกละลายที่ผสมกันหลายๆ ชนิดออกจากกันในสารละลายหนึ่งๆ โดยอาศัย ความแตกต่างของ 1. ความสามารถในการละลาย 2. ความสามารถในการดูดซับ
  • 34. โครมาโตกราฟี ( ต่อ ) ประเภทของโครมาโตรกราฟี 1. โครโทกราฟี แบบกระดาษ 2. โครโทกราฟี แบบคอลัมน์(แบบลากระบอก) 3. ทินเลเยอร์โครโทกราฟี (แบบผิวบาง) By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 35. โครมาโตกราฟี ( ต่อ ) องค์ประกอบของวิธีโครมาโตกราฟี มี 2 องค์ประกอบ คือ 1. ตัวทาละลาย 2. ตัวดูดซับ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 36. โครมาโตราฟี (ต่อ) ตัวดูดซับ ทาหน้าที่ดูดซับสารและเป็ นตัวกลางให้สารเคลื่อนที่ผาน ่ และแยกตัวออกจากกัน สารที่ดูดซับด้วยตัวดูดซับได้ดีจะ เคลื่อนที่ชา สารที่ดูดซับได้นอยจะเคลื่อนที่เร็ ว ้ ้ ตัวดูดซับได้แก่ กระดาษโครมาโทกราฟี ผงอลูมินา ซิลิกา ตัวทาละลาย ทาหน้าที่ละลายและพาสารเคลื่อนไป สารที่ละลายใน ตัวทาละลายได้ดีจะเคลื่อน ที่แยกตัวไปก่อน สารที่ละลายในตัว ทาละลายได้นอยจะเคลื่อนที่ทีหลัง ้ ตัวทาละลายได้แก่ ของเหลวใส ไม่มีสี เช่น น้ า เอทานอล แอลกอฮอล์ เฮกเซน อีเทอร์ คาร์บอนเตตระคลอไรด์ สารละลาย NaCl By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 37. โครมาโตกราฟี (ต่อ) อัตราการเคลื่อนที่ของสาร (Rf : Rate of flow) Rf = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้ ระยะทางที่ตวทาละลายเคลื่อนที่ ั By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 38. โครมาโตกราฟี (ต่อ) สมบัติของค่า Rf 1. ค่า Rf ไม่มีหน่วย 2. ค่า Rf หาได้จากการทดลองเท่านั้น 3. ค่า Rf มีค่าไม่เกิน 1 ่ ั 4. ค่า Rf ขึ้นอยูกบชนิดของสารและชนิดของตัว ทาละลาย 5. ค่า Rf เป็ นค่าเฉพาะค่าคงที่ของแต่พลัชะสารวรรณ By : ครู รี ลิ้มสุ
  • 39. โครมาโตกราฟี (ต่อ) สารที่มีค่า Rf มาก แสดงว่าสารมีคุณสมบัติดงนี้ ั 1.สารเคลื่อนที่ได้เร็ วหรื อมาก 2. สารถูกดูดซับได้นอย ้ 3. สารละลายได้ดี By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 40. โครมาโตกราฟี (ต่อ) สารที่มีค่า Rf น้อย แสดงว่าสารมีสมบัติ ดังนี้ 1. สารเคลื่อนได้ชาหรื อน้อย ้ 2. สารถูกดูดซับได้มาก 3. สารละลายได้นอย ้ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 41. โครมาโตกราฟี (ต่อ) ประโยชน์ 1. ใช้แยกสารที่มีปริ มาณน้อยๆ ได้ ซึ่งวิธีอื่นแยกไม่ได้ 2. ใช้แยกได้ท้ งสารมีสีและมีไม่มีสี สารไม่มีสีทาให้ ั ภายหลังการแยกโดย อบด้วยของไอของไอโอดีน , ฉายด้วยรังสี UV , พ่นสารบางชนิดไปทาปฏิกิริยาและ เกิดสี ข้ ึน เช่น นินไฮดริ น 3. ใช้วิเคราะห์ชนิดของสารและหาปริ มาณของสารผสม 4. ใช้ทดลองความบริ สุทธิ์ของสาร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 42. โครมาโตกราฟี (ต่อ) ข้ อจากัดของวิธีโครมาโตกราฟี ถ้าสารที่ตองการจะแยกออกจากกันมี ้ ความสามารถในการละลายในตัวทาละลายใน ตัวทา ละลายได้เท่ากันและถูกดูดซับด้วยตัวดูด ซับเท่ากัน ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ เพราะจะเคลื่อนที่ไปพร้อมกันด้วยระยะทาง เท่ากัน By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 43. โครมาโตกราฟี (ต่อ) วิธีแก้ ไข 1. เปลี่ยนชนิดของตัวทาละลาย 2.เพิ่มระยะทางของตัวดูดซับให้ยาวขึ้น 3. ใช้แบบคอลัมน์โครมาโตกราฟี (แบบกระบอก) เพื่อใช้แยกสารที่มีปริ มาณมากๆได้ By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 44. การสกัดด้วยตัวทาละลาย เป็ นการแยกสารโดยมีหลักการคือ เลือกใช้ ตัวทาละลายที่เหมาะสม ไปละลายสารที่ ต้องการออกมาโดยใช้เครื่ องมือที่เรี ยกว่า ซอกซ์เลต(soxhlet) By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั
  • 45. การสกัดด้ วยตัวทาละลาย (ต่อ) คุณสมบัตของตัวทาละลาย ิ 1. สามารถละลายสารที่ตองการได้มาก และ ้ ละลายสิ่ งเจือปนได้นอย้ 2. มีจุดเดือดต่า ระเหยง่าย จึงจะแยกออกจากสาร ที่สกัดได้ง่าย 3. ไม่ทาปฏิกิริยากับสารที่ตองแยก ้ 4. หาง่าย ราคาถูกเช่น น้ า By : ครู พชรี ลิมสุ วรรณ ั ้
  • 46. การสกัดด้ วยตัวทาละลาย ตัวอย่างการสกัดด้วยตัวทาละลาย 1. ใช้สกัดน้ ามันพืชจากเมล็ดพืช เช่น น้ ามันงา รา ถัว ปาล์ม นุ่น บัว นิยมใช้เฮกเซน เป็ นตัวทา ่ ละลาย 2. สกัดสารมีสีออกจากพืช 3. ใช้สกัดน้ ามันหอมระเหยออกจากพืช 4. ใช้สกัดยาออกจากสมุนไพร By : ครู พชรี ลิ้มสุ วรรณ ั